SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  13
Télécharger pour lire hors ligne
การใช้งาน Photoshop CS3
วิชา คอมพิวเตอร์
ผู้สอนครูโกเมศ พลเสน
Photoshopเป็นโปรแกรมที่ใช้สาหรับสร้างและตกแต่งภาพกราฟิกซึ่ง
มีประสิทธิภาพและมีชื่อเสียงมากที่สุดโปรแกรมหนึ่ง ด้วยความสามารถที่หลากหลาย
ทั้งการสร้างภาพใหม่ และตกแต่งภาพด้วยเครื่องมือและเทคนิคพิเศษต่าง ๆ จึงทาให้
Photoshop เป็นโปรแกรมสาคัญที่จาเป็นต้องมีติดตั้งใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ของ
ผู้ใช้งานส่วนใหญ่
การใช้งาน Photoshop CS3
ในปัจจุบัน Photoshop ได้ผ่านการพัฒนามาจนถึงเวอร์ชั่นที่ 10 ซึ่งมีชื่อเรียกอย่างเป็น
ทางการว่า Photoshop CS3 โดยในเวอร์ชั่นนี้ถูกออกแบบให้มีความสามารถเพิ่มมากขึ้นและ
ออกแบบเครื่องมือให้เรียกใช้ได้สะดวกขึ้น ขณะนี้ Photoshop ได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบ
ชิ้นงานด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. สื่อสิ่งพิมพ์ไม่ว่าจะเป็น นิตยสาร วารสาร หนังสือ แผ่นพับและโบชัวร์
2. งานกราฟิกโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์
3. งานนาเสนอ (Presentation) และตกแต่งภาพสาหรับภาพยนตร์และมีเดียทั่วไป
4. ออกแบบกราฟิกสาหรับเว็บไซต์
การใช้งาน Photoshop CS3
ประเภทของงานกราฟิ ก
งานกราฟิกที่พบเห็นกันในสื่อต่าง ๆ ปัจจุบันนี้มีความสวยงามหลากหลาย
มาแต่โดยทั่วไปแล้วงานกราฟิกมีพื้นฐานการสร้าง 2 รูปแบบ คือ
กราฟิ กแบบ Vector เป็นการสร้างภาพที่มีรูปทรงเรขาคณิตโดยใช้เส้น
แบบต่าง ๆ มารวมกัน โดยสามารถประกอบกันเป็นรูปภาพซึ่งมีข้อดีคือ สามารถขยาย
ได้โดยไม่เสียความสมดุลของรูปภาพ ขอบของรูปภาพจะไม่แตกเมื่อมีการขยาย
โปรแกรมที่สามารถสสร้างภาพเวกเตอร์ได้ คือ CorelDRAW, Illustor
กราฟิ กแบบ Bitmap เป็นการสร้างรูปภาพจากภาพถ่ายซึ่งรูปภาพจะ
เกิดจากจุดสีที่มีลักษณะเป็นจุดสี่เหลี่ยม มาเรียงกันอยู่จานวนมากเรียกว่า จุดพิเซล
พอมารวมกันจะก่อให้เกิดภาพ แหล่งที่มาของภาพจะได้มาจากการถ่ายภาพ ซึ่งสามารถ
นาภาพไปตกแต่งและแก้ไขได้ในโปรแกรม Photoshop
ส่วนประกอบของโปรแกรม Photoshop
CS3
1. Title Bar เป็นแถบที่อยู่ด้านบนสุดของหน้าต่างโปรแกรมมีหน้าที่แสดงชื่อของโปรแกรม
2. Menu Bar เป็นแถบที่รวบรวมคาสั่งทั้งหมดของโปรแกรมเอาไว้ โดยแยกประเภทคาสั่ง
ออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทางานอย่างเช่น เมนู File มีหน้าที่จัดการไฟล์ เมนู
Window จะรวบรวมคาสั่งทั้งหมดในการจัดการหน้าต่างโปรแกรมเอาไว้ เป็นต้น Ctrl+O
คือ การเปิดเมนูด้วยวิธีลัด Menu - File - Open แต่เปิดด้วยวิธีลัดคือ กดปุ่ม Ctrl
พร้อมกับ O ก็สามารถเปิด ไฟล์ ที่ต้องการได้
3. Toolbox เป็นกล่องเครื่องมือที่รวบรวมชุดเครื่องมือที่โปรแกรม Photoshop
เตรียมไว้ให้ใช้งาน เพื่อแก้ไข ตกแต่ง หรือสร้างชิ้นงานในลักษณะต่าง ๆ เครื่องมือหรือคาสั่งที่เห็น
ใน Toolbox เป็นเครื่องมือที่มักจะถูกเรียกใช้งานบ่อยๆ โปรแกรม Photoshop จึง
นามาไว้ใน Toolbox เพื่อความสะดวกในการทางานซึ่งนอกจากเครื่องมือเหล่านี้แล้ว
โปรแกรม Photoshop ยังมีคาสั่งที่ใช้ในการแก้ไข ตกแต่ง หรือสร้างชิ้นงานอีกมากมาย
ซ่อนอยู่ตามเมนูต่างๆ ใน Menu Bar อย่างเช่น Filter ที่ภายในจะรวบรวมคาสั่งที่ใช้ใน
การสร้างเอฟเฟ็กต์ของรูปไว้มากมาย
4. Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นพื้นที่ส่วนที่โปรแกรม Photoshop จะแสดง
คุณสมบัติของเครื่องมือที่เราเลือกมาใช้งาน เพื่อให้เราปรับแต่งค่าของเครื่องมือนั้นให้
เหมาะสมกับมากยิ่งขึ้น ดังนั้น สิ่งที่แสดงขึ้นมาที่ Option Bar จึงต่างกันไปตาม
คุณสมบัติของเครื่องมือแต่ละชนิด
5. Paletes กลุ่มหน้าต่างเล็กๆ ที่มีหน้าที่การทางานเฉพาะ ส่วนใหญ่แล้วจะช่วยเสริม
การทางาน และควบคุมรายละเอียดในด้านต่างๆของโปรแกรม อย่างเช่น พาเลท
Swatches ใช้สาหรับเลือก หรือกาหนดสี , พาเลท History ใช้จัดการข้อมูลการ
ทางานในขั้นตอนต่างๆ ที่ผ่านมา เป็นต้น
เราสามารถปิดพาเลทเก็บไปบ้าง หรือเปิดพาเลทใหม่ขึ้นมาเพิ่มได้ โดยคลิก เมนู
window รายชื่อของพาเลททั้งหมดจะปรากฏขึ้นมา พาเลทที่เปิดอยู่คือพาเลทที่มี
เครื่องหมายถูกอยู่หน้าชื่อ ดังนั้น การเปิดพาเลทก็คือ การคลิกให้มีเครื่องหมายถูกหน้าชื่อพา
เลทนั้นๆ ส่วนจะปิดก็เปลี่ยนเป็นคลิกให้เครื่องหมายถูกหายไป
6. Canvas พื้นที่ทางาน หรือกระดานวาดภาพ ตรงนี้เป็นส่วนที่เราจะสร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมา
ทางาน ตกแต่งชิ้นงาน หรือเปิดไฟล์รูปขึ้นมาแก้ไข
การตั้งหน้ากระดาษใหม่
เมื่อต้องการทางานกับภาพใน Photoshop ควรจะกาหนดขนาดภาพหรือ
ตั้งค้าหน้ากระดาษเสียก่อน แล้วจึงนาไฟล์ภาพเข้ามาใช้งาน ซึ่งจะทาให้ได้ขนาดของภาพที่
ตรงกับความต้องการใช้งาน สาหรับการตั้งหน้ากระดาษมีขั้นตอนดังนี้
คลิกเมนู File > new
1.ตั้งชื่อไฟล์ (หน้ากระดาษ) ในช่อง Name
2.เลือกรูปแบบของกระดาษ ในช่อง Preset
การเปิดไฟล์ภาพทางาน
ก่อนเริ่มต้นการทางานให้เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการขึ้นมา โดยเลือกแฟ้ มที่ได้
จัดเก็บไฟล์ภาพไว้ (ถ้าต้องการเปิดหลายไฟล์ภาพขึ้นมาพร้อมกันให้กดปุ่ม (Ctrl)
ที่คีย์บอร์ดค้างไว้แล้วเลือกไฟล์ภาพทันที) ดังนี้
1.คลิกเมนู File > Open
2.เลือกที่เก็บไฟล์ภาพหรือโฟลเดอร์ในช่อง Look in
การบันทึกไฟล์ภาพ
การบันทึกไฟล์ภาพถือว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญมาก เพราะสามารถนากลับมาใช้
แก้ไขภายหลังหรือบันทึกเพื่อส่งต่อไปทางานร่วมกับโปรแกรมอื่น ส่วนไฟล์ภาพที่รองรับ
Photoshop คือไฟล์ นามสกุล PSD (Photoshop Document)
ซึ่งสามารถบันทึกภาพแบบแยกเลเยอร์ให้เป็นส่วน ๆ ดังนี้
1.คลิกเมนู File > Save As
2.เลือกตาแหน่งบันทึกไฟล์ภาพ ในช่อง Save in
3.ตั้งชื่อไฟล์ภาพในช่อง File name
ออปชั่นในการบันทึกไฟล์ภาพในช่อง Save Option มีดังนี้
As a Copy เป็นการบันทึกไฟล์จากภาพต้นฉบับให้เป็นไฟล์ใหม่
Alpha Channels จะใช้บันทึก Channels เพื่อเก็บคุณสมบัติสี
Layer บันทึกคุณสมบัติของเลเยอร์
Annotations เป็นหมายเหตุใช้อธิบายภาพและเสียง
Sport Color เลือกรูปแบบสี
Use Proof Setup ใช้กาหนดโหมดสีในการพิมพ์
ICC Profile เลือกโหมดสีภาพ
Thumbnail ขนาดไฟล์ตัวอย่าง
ไฟล์ภาพที่ใช้ใน Photoshop
Photoshop สามารถรองรับการทางานกับไฟล์ภาพได้หลายชนิด ดังนี้
.GIF เป็นการบันทึกรูปภาพที่จะสามารถบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็ก ส่วนมากจะ
นาไปบันทึกเป็นไฟล์ภาพเคลื่อนไหว
.PNG ใช้บันทึกรูปภาพประเภทเวกเตอร์ จะมีคุณสมบัติคล้ายกับไฟล์ GIF ซึ่งสามารถ
บีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็ก บันทึกส่วนที่โปร่งใส และสามารถเลือกระดับสีให้แสดงถึง
16.7 ล้านสี
.Tiff เป็นการบันทึกไฟล์ภาพซึ่งสามารถบีบอัดข้อมูลทาให้คุณภาพของสีภาพเหมือน
ต้นฉบับแต่ไฟล์ภาพนั้นจะมีขนาดใหญ่ ในกรณีที่บันทึกเป็นไฟล์สกุล TIFF สามารถ
นาไปใช้ร่วมกับ PageMaker เพื่อสร้างสื่อสิ่งพิมพ์ต่อไป
.BMP เป็นรูปแบบของไฟล์มาตรฐานที่ใช้ในระบบปฏิบัติการ Windows และ Dos ซึ่ง
สามารถที่จะจัดเรียงสีดาไปหาสีขาว (1 ไบต์ต่อ 1 pixel) และจะสามารถเลือกระดับสีสูง
ถึง 24 บิต หรือ 16.7 ล้านสี
.EPS เป็นรูปของไฟล์ที่สามารถบรรจุภาพแบบเวกเตอร์และบิตแม็บสนับสนุนการ
นารูปภาพไปเป็นภาพประกอบใน Illustrator หรือนาไปใช้ร่วมกับโปรแกรมจัดหน้า
เอกสาร ในกรณีที่นาภาพแบบเวกเตอร์มาเปิดใน Photoshopจะถูกแปลงเป็น Bitmap
ทันที
.PDF เป็นรูปแบบของไฟล์ที่ใช้เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หรือนาเสนอข้อมูลบน
เน็ต ข้อดีของไฟล์ PDF คือ รักษารูปแบบหน้ากระดาษ ตัวอักษร รูปภาพให้เหมือนกับ
ต้นฉบับและนิยมนาไฟล์ PDF บันทึกไฟล์งานก่อนส่งโรงพิมพ์ส่วนโปรแกรมที่ใช้อ่าน
ไฟล์ PDF คือ Adobe Acrobat Reader
.JPEG เป็นไฟล์ที่สามารถบีบอัดข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพประเภท Bitmap หรือ
ภาพถ่ายและสามารถกาหนดการแสดงภาพบนเว็บจากหยาบไปหาความละเอียดที่
เรียกว่า Progressive ซึ่งเราสามารถปรับค่าออปชั่นของรูปแบบไฟล์ JPEG ได้(ส่วนมาก
ไฟล์ภาพเป็น *.jpeg เกือบทั้งหมด
ไฟล์ภาพที่ใช้ใน Photoshop

Contenu connexe

Tendances

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csไกรลาศ จิบจันทร์
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3charuwarin
 
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopองประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopอ้าย ปุ้ย
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cssamnaknit
 
แบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshopแบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshopwattaree
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6Khon Kaen University
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ LayoutKhon Kaen University
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cssurachet179
 
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorรู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorQoo Kratai
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe FlashCS5
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม  Adobe  FlashCS5ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม  Adobe  FlashCS5
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe FlashCS5kroorat
 

Tendances (19)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop csความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe photoshop cs
 
คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3คู่มือ Photoshop cs3
คู่มือ Photoshop cs3
 
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshopองประกอบของโปรแกรม Photoshop
องประกอบของโปรแกรม Photoshop
 
2.3
2.32.3
2.3
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop csคู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Photoshop cs
 
แบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshopแบบสอนโปรแกรมPhotoshop
แบบสอนโปรแกรมPhotoshop
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโปรแกรม Dreamweaver CS6
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
Photoshop cs3
Photoshop cs3Photoshop cs3
Photoshop cs3
 
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layoutการจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
การจัดการเว็บเพจ การออกแบบหน้าด้วยตารางและ Layout
 
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop csคู่มือการใช้งาน Photoshop cs
คู่มือการใช้งาน Photoshop cs
 
2.4
2.42.4
2.4
 
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
รู้จักกับโปรแกรม adobe flash cs3
 
การสร้างเว็บเพจด้วยDream 8
การสร้างเว็บเพจด้วยDream 8การสร้างเว็บเพจด้วยDream 8
การสร้างเว็บเพจด้วยDream 8
 
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustratorรู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
รู้จักกับโปรแกรม Adobe illustrator
 
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครูAdobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
Adobe flash-คู่มือ-สำหรับครู
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe FlashCS5
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม  Adobe  FlashCS5ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม  Adobe  FlashCS5
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับโปรแกรม Adobe FlashCS5
 
การออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิลการออกแบบทำไวนิล
การออกแบบทำไวนิล
 

Similaire à Photoshop cs3

02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องChamp Wachwittayakhang
 
การเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdการเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdsombut
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Wee Jay
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นshe-vit-guu
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมErrorrrrr
 
เทคนิกการใช้Photoshop
เทคนิกการใช้Photoshopเทคนิกการใช้Photoshop
เทคนิกการใช้PhotoshopSiriwat
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกกชพร มณีพงษ์
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007krupairoj
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์Suthida23
 

Similaire à Photoshop cs3 (20)

Lesson 9
Lesson 9Lesson 9
Lesson 9
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
การเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psdการเข้าโปรแกรม Psd
การเข้าโปรแกรม Psd
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
การใช้ Photoshop cs3 m1
การใช้ Photoshop cs3 m1การใช้ Photoshop cs3 m1
การใช้ Photoshop cs3 m1
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007Microsoft office power point 2007
Microsoft office power point 2007
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 
Lesson 2
Lesson 2Lesson 2
Lesson 2
 
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรมLesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
Lesson 4 การใช้คำสั่งในการเขียนโปรแกรม
 
เทคนิกการใช้Photoshop
เทคนิกการใช้Photoshopเทคนิกการใช้Photoshop
เทคนิกการใช้Photoshop
 
Photo3
Photo3Photo3
Photo3
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
Projectpowerpoint
ProjectpowerpointProjectpowerpoint
Projectpowerpoint
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิกการใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
powerpoint2007
powerpoint2007powerpoint2007
powerpoint2007
 
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
ขั้นตอนในการพัฒนาเว็บไซต์
 

Photoshop cs3

  • 1. การใช้งาน Photoshop CS3 วิชา คอมพิวเตอร์ ผู้สอนครูโกเมศ พลเสน
  • 2. Photoshopเป็นโปรแกรมที่ใช้สาหรับสร้างและตกแต่งภาพกราฟิกซึ่ง มีประสิทธิภาพและมีชื่อเสียงมากที่สุดโปรแกรมหนึ่ง ด้วยความสามารถที่หลากหลาย ทั้งการสร้างภาพใหม่ และตกแต่งภาพด้วยเครื่องมือและเทคนิคพิเศษต่าง ๆ จึงทาให้ Photoshop เป็นโปรแกรมสาคัญที่จาเป็นต้องมีติดตั้งใช้งานในเครื่องคอมพิวเตอร์ของ ผู้ใช้งานส่วนใหญ่ การใช้งาน Photoshop CS3
  • 3. ในปัจจุบัน Photoshop ได้ผ่านการพัฒนามาจนถึงเวอร์ชั่นที่ 10 ซึ่งมีชื่อเรียกอย่างเป็น ทางการว่า Photoshop CS3 โดยในเวอร์ชั่นนี้ถูกออกแบบให้มีความสามารถเพิ่มมากขึ้นและ ออกแบบเครื่องมือให้เรียกใช้ได้สะดวกขึ้น ขณะนี้ Photoshop ได้ถูกนามาใช้ในการออกแบบ ชิ้นงานด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. สื่อสิ่งพิมพ์ไม่ว่าจะเป็น นิตยสาร วารสาร หนังสือ แผ่นพับและโบชัวร์ 2. งานกราฟิกโฆษณาสินค้าทางโทรทัศน์ 3. งานนาเสนอ (Presentation) และตกแต่งภาพสาหรับภาพยนตร์และมีเดียทั่วไป 4. ออกแบบกราฟิกสาหรับเว็บไซต์ การใช้งาน Photoshop CS3
  • 4. ประเภทของงานกราฟิ ก งานกราฟิกที่พบเห็นกันในสื่อต่าง ๆ ปัจจุบันนี้มีความสวยงามหลากหลาย มาแต่โดยทั่วไปแล้วงานกราฟิกมีพื้นฐานการสร้าง 2 รูปแบบ คือ กราฟิ กแบบ Vector เป็นการสร้างภาพที่มีรูปทรงเรขาคณิตโดยใช้เส้น แบบต่าง ๆ มารวมกัน โดยสามารถประกอบกันเป็นรูปภาพซึ่งมีข้อดีคือ สามารถขยาย ได้โดยไม่เสียความสมดุลของรูปภาพ ขอบของรูปภาพจะไม่แตกเมื่อมีการขยาย โปรแกรมที่สามารถสสร้างภาพเวกเตอร์ได้ คือ CorelDRAW, Illustor กราฟิ กแบบ Bitmap เป็นการสร้างรูปภาพจากภาพถ่ายซึ่งรูปภาพจะ เกิดจากจุดสีที่มีลักษณะเป็นจุดสี่เหลี่ยม มาเรียงกันอยู่จานวนมากเรียกว่า จุดพิเซล พอมารวมกันจะก่อให้เกิดภาพ แหล่งที่มาของภาพจะได้มาจากการถ่ายภาพ ซึ่งสามารถ นาภาพไปตกแต่งและแก้ไขได้ในโปรแกรม Photoshop
  • 6. 1. Title Bar เป็นแถบที่อยู่ด้านบนสุดของหน้าต่างโปรแกรมมีหน้าที่แสดงชื่อของโปรแกรม 2. Menu Bar เป็นแถบที่รวบรวมคาสั่งทั้งหมดของโปรแกรมเอาไว้ โดยแยกประเภทคาสั่ง ออกเป็นหมวดหมู่ตามลักษณะการทางานอย่างเช่น เมนู File มีหน้าที่จัดการไฟล์ เมนู Window จะรวบรวมคาสั่งทั้งหมดในการจัดการหน้าต่างโปรแกรมเอาไว้ เป็นต้น Ctrl+O คือ การเปิดเมนูด้วยวิธีลัด Menu - File - Open แต่เปิดด้วยวิธีลัดคือ กดปุ่ม Ctrl พร้อมกับ O ก็สามารถเปิด ไฟล์ ที่ต้องการได้ 3. Toolbox เป็นกล่องเครื่องมือที่รวบรวมชุดเครื่องมือที่โปรแกรม Photoshop เตรียมไว้ให้ใช้งาน เพื่อแก้ไข ตกแต่ง หรือสร้างชิ้นงานในลักษณะต่าง ๆ เครื่องมือหรือคาสั่งที่เห็น ใน Toolbox เป็นเครื่องมือที่มักจะถูกเรียกใช้งานบ่อยๆ โปรแกรม Photoshop จึง นามาไว้ใน Toolbox เพื่อความสะดวกในการทางานซึ่งนอกจากเครื่องมือเหล่านี้แล้ว โปรแกรม Photoshop ยังมีคาสั่งที่ใช้ในการแก้ไข ตกแต่ง หรือสร้างชิ้นงานอีกมากมาย ซ่อนอยู่ตามเมนูต่างๆ ใน Menu Bar อย่างเช่น Filter ที่ภายในจะรวบรวมคาสั่งที่ใช้ใน การสร้างเอฟเฟ็กต์ของรูปไว้มากมาย
  • 7. 4. Option Bar (ออปชั่นบาร์) เป็นพื้นที่ส่วนที่โปรแกรม Photoshop จะแสดง คุณสมบัติของเครื่องมือที่เราเลือกมาใช้งาน เพื่อให้เราปรับแต่งค่าของเครื่องมือนั้นให้ เหมาะสมกับมากยิ่งขึ้น ดังนั้น สิ่งที่แสดงขึ้นมาที่ Option Bar จึงต่างกันไปตาม คุณสมบัติของเครื่องมือแต่ละชนิด 5. Paletes กลุ่มหน้าต่างเล็กๆ ที่มีหน้าที่การทางานเฉพาะ ส่วนใหญ่แล้วจะช่วยเสริม การทางาน และควบคุมรายละเอียดในด้านต่างๆของโปรแกรม อย่างเช่น พาเลท Swatches ใช้สาหรับเลือก หรือกาหนดสี , พาเลท History ใช้จัดการข้อมูลการ ทางานในขั้นตอนต่างๆ ที่ผ่านมา เป็นต้น เราสามารถปิดพาเลทเก็บไปบ้าง หรือเปิดพาเลทใหม่ขึ้นมาเพิ่มได้ โดยคลิก เมนู window รายชื่อของพาเลททั้งหมดจะปรากฏขึ้นมา พาเลทที่เปิดอยู่คือพาเลทที่มี เครื่องหมายถูกอยู่หน้าชื่อ ดังนั้น การเปิดพาเลทก็คือ การคลิกให้มีเครื่องหมายถูกหน้าชื่อพา เลทนั้นๆ ส่วนจะปิดก็เปลี่ยนเป็นคลิกให้เครื่องหมายถูกหายไป 6. Canvas พื้นที่ทางาน หรือกระดานวาดภาพ ตรงนี้เป็นส่วนที่เราจะสร้างไฟล์ใหม่ขึ้นมา ทางาน ตกแต่งชิ้นงาน หรือเปิดไฟล์รูปขึ้นมาแก้ไข
  • 8. การตั้งหน้ากระดาษใหม่ เมื่อต้องการทางานกับภาพใน Photoshop ควรจะกาหนดขนาดภาพหรือ ตั้งค้าหน้ากระดาษเสียก่อน แล้วจึงนาไฟล์ภาพเข้ามาใช้งาน ซึ่งจะทาให้ได้ขนาดของภาพที่ ตรงกับความต้องการใช้งาน สาหรับการตั้งหน้ากระดาษมีขั้นตอนดังนี้ คลิกเมนู File > new 1.ตั้งชื่อไฟล์ (หน้ากระดาษ) ในช่อง Name 2.เลือกรูปแบบของกระดาษ ในช่อง Preset
  • 9. การเปิดไฟล์ภาพทางาน ก่อนเริ่มต้นการทางานให้เปิดไฟล์ภาพที่ต้องการขึ้นมา โดยเลือกแฟ้ มที่ได้ จัดเก็บไฟล์ภาพไว้ (ถ้าต้องการเปิดหลายไฟล์ภาพขึ้นมาพร้อมกันให้กดปุ่ม (Ctrl) ที่คีย์บอร์ดค้างไว้แล้วเลือกไฟล์ภาพทันที) ดังนี้ 1.คลิกเมนู File > Open 2.เลือกที่เก็บไฟล์ภาพหรือโฟลเดอร์ในช่อง Look in
  • 10. การบันทึกไฟล์ภาพ การบันทึกไฟล์ภาพถือว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญมาก เพราะสามารถนากลับมาใช้ แก้ไขภายหลังหรือบันทึกเพื่อส่งต่อไปทางานร่วมกับโปรแกรมอื่น ส่วนไฟล์ภาพที่รองรับ Photoshop คือไฟล์ นามสกุล PSD (Photoshop Document) ซึ่งสามารถบันทึกภาพแบบแยกเลเยอร์ให้เป็นส่วน ๆ ดังนี้ 1.คลิกเมนู File > Save As 2.เลือกตาแหน่งบันทึกไฟล์ภาพ ในช่อง Save in 3.ตั้งชื่อไฟล์ภาพในช่อง File name
  • 11. ออปชั่นในการบันทึกไฟล์ภาพในช่อง Save Option มีดังนี้ As a Copy เป็นการบันทึกไฟล์จากภาพต้นฉบับให้เป็นไฟล์ใหม่ Alpha Channels จะใช้บันทึก Channels เพื่อเก็บคุณสมบัติสี Layer บันทึกคุณสมบัติของเลเยอร์ Annotations เป็นหมายเหตุใช้อธิบายภาพและเสียง Sport Color เลือกรูปแบบสี Use Proof Setup ใช้กาหนดโหมดสีในการพิมพ์ ICC Profile เลือกโหมดสีภาพ Thumbnail ขนาดไฟล์ตัวอย่าง
  • 12. ไฟล์ภาพที่ใช้ใน Photoshop Photoshop สามารถรองรับการทางานกับไฟล์ภาพได้หลายชนิด ดังนี้ .GIF เป็นการบันทึกรูปภาพที่จะสามารถบีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็ก ส่วนมากจะ นาไปบันทึกเป็นไฟล์ภาพเคลื่อนไหว .PNG ใช้บันทึกรูปภาพประเภทเวกเตอร์ จะมีคุณสมบัติคล้ายกับไฟล์ GIF ซึ่งสามารถ บีบอัดข้อมูลให้มีขนาดเล็ก บันทึกส่วนที่โปร่งใส และสามารถเลือกระดับสีให้แสดงถึง 16.7 ล้านสี .Tiff เป็นการบันทึกไฟล์ภาพซึ่งสามารถบีบอัดข้อมูลทาให้คุณภาพของสีภาพเหมือน ต้นฉบับแต่ไฟล์ภาพนั้นจะมีขนาดใหญ่ ในกรณีที่บันทึกเป็นไฟล์สกุล TIFF สามารถ นาไปใช้ร่วมกับ PageMaker เพื่อสร้างสื่อสิ่งพิมพ์ต่อไป .BMP เป็นรูปแบบของไฟล์มาตรฐานที่ใช้ในระบบปฏิบัติการ Windows และ Dos ซึ่ง สามารถที่จะจัดเรียงสีดาไปหาสีขาว (1 ไบต์ต่อ 1 pixel) และจะสามารถเลือกระดับสีสูง ถึง 24 บิต หรือ 16.7 ล้านสี
  • 13. .EPS เป็นรูปของไฟล์ที่สามารถบรรจุภาพแบบเวกเตอร์และบิตแม็บสนับสนุนการ นารูปภาพไปเป็นภาพประกอบใน Illustrator หรือนาไปใช้ร่วมกับโปรแกรมจัดหน้า เอกสาร ในกรณีที่นาภาพแบบเวกเตอร์มาเปิดใน Photoshopจะถูกแปลงเป็น Bitmap ทันที .PDF เป็นรูปแบบของไฟล์ที่ใช้เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์หรือนาเสนอข้อมูลบน เน็ต ข้อดีของไฟล์ PDF คือ รักษารูปแบบหน้ากระดาษ ตัวอักษร รูปภาพให้เหมือนกับ ต้นฉบับและนิยมนาไฟล์ PDF บันทึกไฟล์งานก่อนส่งโรงพิมพ์ส่วนโปรแกรมที่ใช้อ่าน ไฟล์ PDF คือ Adobe Acrobat Reader .JPEG เป็นไฟล์ที่สามารถบีบอัดข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพประเภท Bitmap หรือ ภาพถ่ายและสามารถกาหนดการแสดงภาพบนเว็บจากหยาบไปหาความละเอียดที่ เรียกว่า Progressive ซึ่งเราสามารถปรับค่าออปชั่นของรูปแบบไฟล์ JPEG ได้(ส่วนมาก ไฟล์ภาพเป็น *.jpeg เกือบทั้งหมด ไฟล์ภาพที่ใช้ใน Photoshop