SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
การใช้เทคโนโลยี Google Apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
The use of Google Apps in the development of innovative teaching
ผศ.ดร.ภาสกร เรืองรอง มหาวิทยาลัยนเรศวร1
นางสาวมลชยา หวานชะเอม มหาวิทยาลัยนเรศวร2
บทนํา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) มีบทบัญญัติที่
เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา เช่น มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มี
การวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และ
ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของ
คนไทย ฯลฯ ทั้งนี้เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์ที่รุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว
ได้แสดงให้เห็นถึงข้อจากัดของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสารภายในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว ทาให้โอกาส
ในการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในสภาพการณ์ที่ต่างกัน ลดน้อยลงและเป็นอุปสรรคต่อการจัดการ
เรียนรู้
การใช้เทคโนโลยีเพื่อลดข้อจากัดดังกล่าวจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง โดยนาเทคโนโลยี Google Apps
for Education มาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือที่นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน สามารถสร้างความ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน รวมถึงระบบการส่งและจัดเก็บผลงานต่างๆด้วย Google Drive ผู้อยู่ใน
แวดวงการศึกษาควรได้ศึกษาเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนและ
ผู้เรียนนาเทคโนโลยีนี้ไปใช้ในองค์กรของตนเอง ลดข้อจากัดและอุปสรรคที่เกิดขึ้น อันจะส่งผลให้การเรียนรู้
ของผู้เรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและเกิดการเปลี่ยนแปลงโฉมองค์กรในด้านนวัตกรรมการศึกษา
และสามารถแลกเปลี่ยนความรู้กันกับสถาบันต่างๆระหว่างประเทศได้ด้วย
คําสําคัญ : Google Apps for Education นวัตกรรมการเรียนการสอน
1
อาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
2
นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
2
ความหมายของการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน
นวัตกรรม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง สิ่งที่ทาขึ้นใหม่หรือแปลก
จากเดิมซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการหรืออุปกรณ์ เป็นต้น
กองวิจัยการศึกษา กรมวิชาการ (2545, หน้า 37) ให้ความหมายของนวัตกรรมการเรียนการสอน
หมายถึงกิจกรรม กระบวนการ เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งที่มีรูปแบบใหม่ ๆ หรือของเก่าที่ได้รับ
การปรับปรุงแก้ไขให้มีคุณภาพดีขึ้น ซึ่งผู้สอนยังไม่เคยนามาใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนของตน
ทิศนา แขมมณี (2555, หน้า 418-419) กล่าวว่า นวัตกรรมการเรียนการสอน มีลักษณะเป็น
แนวคิด หรือวิธีการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยความใหม่มิใช่เป็น
คุณสมบัติประการเดียวของนวัตกรรม นวัตกรรมไม่ว่าจะเป็นด้านใดจาเป็นต้องมีคุณสมบัติที่สาคัญดังนี้
1) เป็นสิ่งใหม่ ซึ่งมีความหมายในหลายลักษณะ ได้แก่
(1) เป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือใหม่เพียงบางส่วน
(2) เป็นสิ่งใหม่ที่ยังไม่เคยมีการนามาใช้ในที่นั้น ได้แก่การนาสิ่งที่ใช้หรือปฏิบัติกันในสังคมหนึ่ง
มาปรับใช้ในอีกสังคมหนึ่ง นับเป็นนวัตกรรมในสังคมนั้น
(3) เป็นสิ่งใหม่ในช่วงเวลาหนึ่งแต่อาจเป็นของเก่าในอีกช่วงเวลาหนึ่ง เช่น อาจเป็นสิ่งที่เคย
ปฏิบัติมาแล้ว แต่ไม่ได้ผลเนื่องจากขาดปัจจัยสนับสนุน ต่อมาปัจจัยและสถานการณ์อานวยจึงนามาเผยแพร่
และทดลองใช้ใหม่ ถือว่าเป็นนวัตกรรมได้
2) เป็นสิ่งใหม่ที่กาลังอยู่ในกระบวนการพิสูจน์ทดสอบว่าจะใช้ได้ผลมากน้อยเพียงใดในบริบทนั้น
3) เป็นสิ่งใหม่ที่ได้รับการยอมรับนาไปใช้แต่ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานปกติ หากการยอมรับ
นาไปใช้นั้นได้กลายเป็นการใช้อย่างเป็นปกติในระบบงานของที่นั้นแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรมอีกต่อไป4)
เป็นสิ่งใหม่ที่ได้รับการยอมรับนาไปใช้บ้างแล้ว แต่ยังไม่แพร่หลายคือยังไม่เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง
การพัฒนาการเรียนการสอน เป็นการช่วยพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นเป้าหมายสาคัญแล้ว
ยังได้นวัตกรรมซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ทางการเรียนการสอนที่เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาผู้เรียน
การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา
อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยในการ
เรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ
การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นที่นิยมประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน อาทิเช่น
1 ระบบสารสนเทศช่วยในการเรียนการสอน
2 การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม
3 การประชุมทางไกลระบบจอภาพ
4 ระบบฐานข้อมูลการศึกษา
5 ระบบสารสนเทศเอกสาร
สรุปว่าการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน หมายถึง สิ่งใหม่ที่อาจเป็นแนวคิดวิธีการหรือ
สิ่งประดิษฐ์ที่นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับบริบทการเรียนการสอนที่ใช้นวัตกรรมนั้น
3
เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามที่คาดหวังไว้ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของสังคมใน
การพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ความหมาย Google Apps for Education (Google Inc, 2014)
Google Apps for Education หรือ Google Apps สําหรับการศึกษา คือ ชุดของฟรีอีเมล์จาก
Google และเครื่องมือต่าง ๆ เป็นระบบเปิดในการทางานร่วมกัน เปิดกว้างสาหรับคุณครู นักเรียน นักศึกษา
ชั้นเรียนและสมาชิกครอบครัวในโลก ตัวอย่างเครื่องมือที่นิยมใช้รู้จักกันดี เช่น อีเมล์ (E-mail),เอกสาร
(Docs), ปฏิทิน (Calendar), และ Group เป็นต้น แต่เครื่องมือเหล่านี้จะใช้สาหรับในการศึกษา เป็นโปรแกรม
ที่ Google พัฒนาให้แก่โรงเรียนใช้งาน เพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีต่อการเรียนการสอนและการนา
อินเทอร์เน็ตไปใช้ในเชิงสร้างสรรค์ โดยโปรแกรมประกอบไปด้วย Communication : โปรแกรมสื่อสาร
ภายในและภายนอกโรงเรียน Collaboration : โปรแกรมออฟฟิศสาหรับการแชร์และทางานร่วมกันออนไลน์
Content : โปรแกรมสร้างเว็บไซต์และเนื้อหาออนไลน์
ภาพที่ 1 Google Apps for Education (ที่มา : http://thinkoutloudclub.com/wp-
content/uploads/2014/02/google_apps_landscape.png)
คุณสมบัติที่น่าสนใจของบริการ Google Apps for Education
ภาพที่ 2-3 Why Google Apps for Education ? (ที่มา :
http://roxannnys.pbworks.com/f/1306166755/original%20google%20tools.jpg)
4
การบริการรับส่งจดหมาย (Gmail) สาหรับการดาเนินการธุรกิจและการศึกษา ให้พื้นที่ในการ
จัดเก็บข้อมูล 25 กิกะไบต์ ไม่มีอีเมลขยะ และ 99.9% ในช่วงเวลาที่ใช้งาน จะมีบริการดูแลเรื่องความ
ปลอดภัยเป็นอย่างดี และมีระบบสนับสนุนผู้ใช้ให้เกิดความพึงพอใจมากที่สุดขึ้นอยู่กับข้อตกลงที่ผู้ใช้ทาไว้กับ
ผู้ให้บริการระบบเครือข่าย
Google Voice Search เป็นแอพพลิเคชั่นใหม่ล่าสุดของ Google ซึ่งนามาเปิดตัวอีกครั้งหนึ่งใน
งาน "World Mobile Congress 2010" ที่กรุงบาร์เซโลนา ประเทศสเปน Google Voice Search
เป็นเครื่องมือที่เกิดมาจาก Google Labs ที่อนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถค้นหาข้อมูลผ่านโทรศัพท์มือถือได้
โดยผู้ใช้ต้องโทรเข้าไปที่เบอร์ (650)623-6706 ซึ่งเป็นเบอร์โทรศัพท์ของระบบการค้นหาด้วยเสียงของ
Google
Google Drive เป็นบริการจาก Google ที่ทาให้เราสามารถนาไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้กับ Google
ซึ่งทาให้เราสามารถใช้ไฟล์เหล่านั้นทีไหนก็ได้ ไม่เพียงแค่ฝากไฟล์ได้เท่านั้น แต่ยังสามารถแบ่งปันไฟล์กับคน
ที่ต้องการ และสามารถแก้ไขร่วมกันได้จากอุปกรณ์หลายประเภท เช่น อุปกรณ์มือถือ อุปกรณ์แทบเลตหรือ
คอมพิวเตอร์
สาหรับพื้นที่ ที่ Google ให้เราใช้บริการฟรีนั้นอยู่ที่ 5 GB และหากต้องการพื้นที่มากขึ้น ก็สามารถ
ซื้อพื้นที่จัดเก็บข้อมูลเพิ่มได้ ส่วนราคาก็ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่
การจะใช้งาน Google Drive หรือบริการต่าง ๆ ของ Google นั้น เราจาเป็นต้องมีบัญชีอีเมล์กับทาง
Gmail ก่อน จึงจะใช้งานได้ หากจะใช้บัญชีอีเมล์ที่ไม่ใช่ของ Gmail ก็จะใช้งานไม่ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เหมือน
Google Maps คือบริการของ Google ที่ให้บริการเทคโนโลยีด้านแผนที่ประสิทธิภาพสูง ใช้ค้นหา
แผนที่ (Web Mapping) ใช้งานง่าย และให้ข้อมูลของธุรกิจในท้องถิ่น ได้แก่ ที่ตั้งของธุรกิจ รายละเอียดการ
ติดต่อ และเส้นทางการขับขี่ โดยบริการแผนที่นี้เริ่มต้นให้บริการตั้งแต่กลางปี ค.ศ. 2005 เป็นบริการฟรี จัด
ให้แก่ผู้ใช้ทั่วโลกส่วนประกอบที่สาคัญที่ดึงดูดผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก คือแผนที่และภาพถ่ายดาวเทียมคุณภาพดี
ซึ่งครองคลุมพื้นผิวโลกในมาตราส่วนต่างๆ ตามความเหมาะสมเพื่อให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหา และการ
เดินทางของผู้ใช้งาน
Google calendar บริการด้านปฏิทิน การจัดทากาหนดการ ตารางการทางาน การจัดตารางการ
ทางาน การนัดหมายประชุมตอบรับการประชุม การแบ่งปันการใช้ปฏิทินร่วมกันทางระบบออนไลน์ และ
การใช้ปฏิทินบนโทรศัพท์มือถือ
Google Docs บริการด้านเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทางานร่วมกันได้ ไม่ว่าจะเป็นระหว่าง
อาจารย์กับอาจารย์ หรืออาจารย์กับนักศึกษาสามารถแบ่งปันใช้เอกสารออนไลน์ร่วมกันได้ทุกที่ทุกเวลา และ
ทุกโอกาส มีโปรแกรมตารางคานวณอิเล็กทรอนิกส์ และโปรแกรมนาเสนอผลงาน การทางานในระบบ
ออนไลน์ที่ไม่ต้องมีการแนบไฟล์
Google Groups บริการที่อนุญาตให้ผู้ใช้ ซึ่งทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม สามารถสร้างรายชื่ออีเมล
ของกลุ่มคนที่ทางานร่วมกัน สามารถแบ่งปันเนื้อหาร่วมกันได้ สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว
Google Site บริการที่มีความปลอดภัยสูง บริการรหัสเขียนโปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์ ผ่าน
ระบบอินทราเน็ต และสามารถบริหารจัดการในกลุ่มคนที่ทางานร่วมกันเป็นอย่างดี มีลักษณะการทางาน
คล้ายกับบล็อกหรือเว็บไซต์สาเร็จรูป อาจารย์สามารถใช้ในการสร้างโครงการสอน แผนการสอน สอดแทรก
รูปภาพ และวิดิโอ ประกอบการสอนทั้งหมดลงไปในเว็บไซต์นี้ได้
Google Video บริการเรื่องวิดีโอได้เป็นการส่วนตัว มีความปลอดภัยสูง และมีเว็บแม่ข่ายสาหรับ
แบ่งปันการใช้วิดิโอร่วมกัน
5
Google Plus หรือ Google+ เป็นเว็บเครือข่ายสังคมออนไลน์ของกูเกิล มีลักษณะการใช้งาน
คล้ายกับ Facebook ปัจจุบันมีผู้ใช้งานทั้งหมดประมาณ 540 ล้านคน สามารถเชื่อมต่อไปยัง Gmail
และ YouTube ได้
ขั้นตอนการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการเรียนการสอน
Google plus เปน Social Network คลายๆ กับ Facebook เปนหนึ่งใน Application ที่ google
พัฒนาขึ้นมา และสามารถตอบสนองระหวางผูสอนกับผูเรียนในเรื่องของการมีปฏิสัมพันธระหวางกัน การ
พูดคุยโตตอบกัน รวมไปถึงการเรียนการสอนทางไกลผานเครือขายอินเทอรเน็ตไดเปนอยางดี จุดเดนของ
google plus ในการจัดการเรียนการสอน คือ
1. มีสวนสนทนา (Chat) สาหรับการโตตอบแบบทันทีทันใด ระหวางผูเรียนกับผูสอน
2. แฮงคเอาท Hang out) ใชสาหรับพูดคุย หรือสนทนา ผานภาพและเสียงระหวางบุคคลที่อยูใน
กลุมหรือแวดวงนั้นๆ
3. ไทมไลน Timeline) เปนสวนที่แสดงการอัพเดต (Update) ตางๆของผูสอนและผูเรียนทาใหทราบ
ความเคลื่อนไหวตางๆ ไดทันทวงที
4. การจัดการเอกสารตางๆ เชน การสรางเอกสาร การสรางไฟลนาเสนอ การสรางตารางคานวณ
เปนตน สามารถทาไดแบบออนไลน เผยแพรไดทันที
ปจจุบัน Google Apps for Education มีการพัฒนากาวหนา และมีแอพพลิเคชั่นมากมายหลายชนิด
ใหผูใชไดติดตั้งบน Web browser เพื่ออานวยความสะดวกในการใชงาน รวมถึงการพัฒนาแอพพลิเคชั่น
สาหรับ Mobile Phone และ Tablet เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดทุกที่ ทุกเวลา มีการสื่อสารระหวางผู
สอนและผูเรียนไดตลอดเวลาเชนกัน
ภาพที่ 4 การใช้ Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการเรียนการสอน
(ที่มา : http://electronicportfolios.org/google/GoogleAppsEd6.jpg)
ข้อดี Google Apps for Education
นอกจาก Google Apps for Education จะมีโปรแกรมจัดการเอกสารพื้นฐานต่าง ๆ
ให้ใช้งานแล้ว ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องติดตั้งชุดโปรแกรมลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง เพราะการใช้งาน
6
จะใช้งานแบบออนไลน์ทั้งหมด กล่าวคือ จะต้องมีการเชื่อมต่อและใช้งานผ่านบราวเซอร์หรือผ่านอุปกรณ์
มือถือนั่นเอง ซึ่งจะช่วยให้เราสร้างไฟล์เอกสาร ไฟล์ Spread Sheet หรือ Presentation รวมถึงผลงานต่าง ๆ
ผ่าน Google Apps ได้เกือบหมด
ปัจจุบัน Google Apps for Education มีการพัฒนาก้าวหน้าและมีแอพพลิเคชันมากมาย
หลายชนิดให้ผู้ใช้ได้ติดตั้งบน Web Browser เพื่ออานวยความสะดวกในการใช้งาน รวมถึงการพัฒนา
แอพพลิเคชันสาหรับ Mobile Phone และ Tablet เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีการสื่อสาร
ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนได้ตลอดเวลาเช่นกัน
กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการเรียนการสอน
ภาพที่ 5 กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการ
เรียนการสอนจากประเทศต่างๆทั่วโลก (ที่มา : http://blog.backupify.com/wp-
content/uploads/2013/05/EDU_Infographic-1-copy-300x256.jpg)
ประเทศสหรัฐอเมริกา โรงเรียน Hillsborough Township Public Schools (HTPS) ในเขตพื้นที่
การศึกษาที่ประกอบด้วยโรงเรียนชุมชนที่เป็นของรัฐ ค้นพบว่าแอปจาก Google Play for Education
สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลายอย่างมากในชั้นเรียน ซึ่งดีมากเพราะเด็กได้มีส่วนร่วมในประสบการณ์การ
เรียนรู้จริงๆ จนไม่รู้ตัวเลยว่ากาลังเรียนอยู่ ทาให้เด็กมีแรงกระตุ้นที่จะเรียนรู้มากขึ้น และนา Google for
Education มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนเนื่องจากเป็นตัวเลือกด้านเทคโนโลยีในชั้นเรียนที่เรียบง่าย
และประหยัดให้กับ Hillsborough Township Schools ด้วยการเริ่มใช้งานที่รวดเร็วและวิธีชาระเงินที่มี
ประสิทธิภาพช่วยให้ครูสามารถบริหารจัดการการแจกจ่ายแอปที่มีประโยชน์ในชั้นเรียนได้ง่ายขึ้น (Google
Inc, 2014)
ประเทศสหรัฐอเมริกา KIPP (Knowledge Is Power Program) เป็นเครือข่ายระดับประเทศซึ่ง
ประกอบด้วยโรงเรียนแบบเปิดที่ดาเนินการจากเงินอุดหนุนของรัฐ มุ่งเน้นเตรียมความพร้อมให้นักเรียนประสบ
ความสาเร็จในระดับอุดมศึกษาและในการดาเนินชีวิต KIPP Bridge Charter School เป็นโรงเรียนสมาชิกที่
7
ตั้งอยู่ในโอ๊คแลนด์ แคลิฟอร์เนีย มีนักเรียน 319 คน ได้นาแท็บเล็ตพร้อม Google for Education มาใช้ใน
การเรียนการสอน ซึ่งช่วยให้ครูของ KIPP สามารถแจกจ่ายแอปสาคัญในชั้นเรียนได้ผ่านระบบคลาวด์
นักเรียนมีช่องทางใหม่ในการใช้เว็บภายในชั้นเรียน และสามารถเข้าถึงกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครบครัน การ
แนะนาเทคโนโลยีสร้างความตื่นตัวอย่างมาก และเป็นกระบวนการที่ราบรื่น อินเทอร์เฟซของอุปกรณ์นั้นใช้
งานง่าย ทาให้นักเรียนเข้าใจวิธีใช้โดยแทบไม่ต้องเรียนรู้กันใหม่ นักเรียนได้เห็นภาพรวม ได้รับมุมมองที่
หลากหลายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างชาญฉลาด ด้วยเหตุนี้ การทางานของนักเรียนจะมีความหลากหลาย
ยิ่งขึ้น (Google Inc, 2014)
ประเทศอังกฤษ ทางเขตพื้นที่การศึกษา Clarkstown Central (CCSD) ให้บริการนักเรียนประมาณ
8,600 คนทางตอนใต้ของนิวยอร์ก Clarkstown มีความภาคภูมิใจกับการสนับสนุนบรรยากาศของโรงเรียน
ขนาดเล็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน และการมุ่งเน้นที่ตัวบุคคล เขตพื้นที่การศึกษานี้มีโรงเรียนระดับ
ประถมศึกษา 10 แห่ง มัธยมต้น 1 แห่ง มัธยมปลาย 2 แห่ง และศูนย์การศึกษาทางเลือกระดับอนุบาลถึง
มัธยมปลายอีก 1 แห่ง เขตพื้นที่การศึกษานี้นาเสนอโปรแกรมที่เป็นนวัตกรรมให้แก่นักเรียนผ่านเทคโนโลยีทาง
เว็บ และเป็นหนึ่งในเขตแรกๆ ที่ใช้ Google Apps for Education ตลอดจนเครื่องมือนวัตกรรมใหม่ๆ อีก
มากมาย แม้ในช่วงเวลาที่มีงบประมาณจากัด ทางเขตก็ยังสามารถหาเครื่องมือที่เหมาะสมให้กับคณาจารย์และ
นักเรียนได้ และหลังจากใช้ Google Classroom เป็นเวลา 2-3 เดือน นักการศึกษาและทีมได้ชี้ให้เห็น
ประโยชน์สาคัญ 2 ประการ คือนักเรียนมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น และชั้นเรียนมีการจัดระเบียบดียิ่งขึ้น Google
Classroom ช่วยให้งานของนักเรียนได้รับการจัดระเบียบดีขึ้น มีเครื่องมือและแอปพลิเคชันสาหรับการทางาน
ร่วมกันซึ่งมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ใช้งานง่ายและแจกจ่ายได้ง่าย (Google Inc, 2014)
ประเทศอินเดีย Fountainhead Global School ตั้งอยู่ในกรุงไฮเดอราบัด ประเทศอินเดีย เป็น
โรงเรียนเอกชนท้องถิ่น ได้มีความห่วงใยว่าผู้ปกครองจะไม่ได้ทราบถึงความสาเร็จของเด็กๆ และข่าวสารของ
โรงเรียน ทางโรงเรียนจึงจาเป็นต้องหาวิธีสื่อสารข่าวใหม่ๆ ของโรงเรียนกับผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และนักเรียน
อย่างสะดวกและรวดเร็ว จึงนาเทคโนโลยี Google Apps for Education มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ
สอนเนื่องจากเป็นช่องทางที่ปลอดภัย ราคาประหยัดและสื่อสารกับทุกคนในโรงเรียนได้อย่างราบรื่น โดยไม่
ต้องมีผู้ดูแลเว็บ แค่คลิกเพียงไม่กี่ครั้ง ครูก็สามารถแชร์ผลงานความสาเร็จของนักเรียนกับผู้ใช้ไซต์ได้อย่าง
ปลอดภัย ผู้ปกครองจึงสามารถดูว่าบุตรหลานมีความสาเร็จอย่างไรบ้าง และยังสามารถสื่อสารกับผู้บริหารของ
โรงเรียนได้โดยตรง ส่วนนักเรียนนั้นได้รับประโยชน์จากการทางานร่วมกันในแต่ละวัน (Google Inc, 2014)
ประเทศเม็กซิโก Centro de Formación Escolar Banting หรือเรียกอีกอย่างว่า Colegio Banting
ประกอบด้วยโรงเรียนเอกชน 2 แห่งใน Coyoacán กรุงเม็กซิโกซิตี นักเรียนของ Colegio Banting มีตั้งแต่
นักเรียนอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่มีฐานะปานกลางถึงยากจน Colegio
Banting ก่อตั้งขึ้นโดยมีพันธกิจที่จะส่งเสริมการเรียนรู้อย่างครบวงจร และมีเป้าหมายที่จะเตรียมความพร้อม
ให้นักเรียนสามารถตอบสนองความต้องการและพร้อมรับโอกาสในศตวรรษที่ 21 โดยอาศัยการมุ่งเน้นการ
ผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับการเรียนรู้ โดย Colegio Banting พบความท้าทายในการเตรียมความพร้อม
ให้กับนักเรียนที่มาจากครอบครัวหลากหลายระดับ และมีจานวนมากที่ไม่สามารถจ่ายค่าเล่าเรียนได้เอง ในการ
8
สอบแข่งขันเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลก ทางสถาบันต้องการสร้างความเสมอภาคโดยใช้เทคโนโลยีที่
ดีที่สุด ในราคาต่าที่สุด เพื่อพัฒนาการศึกษาและเพิ่มสัมฤทธิผลทางวิชาการของนักเรียน และทางโรงเรียน
ต้องการแพลตฟอร์มที่เป็นหนึ่งเดียว เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูลที่แชร์กัน
ได้มากขึ้น ทั้งในและนอกสถานศึกษา และนา Google Apps for Education มาใช้ในการจัดการเรียนการ
สอน เนื่องจากเป็นเครื่องมือรวมบทเรียน งาน และประกาศของโรงเรียนไว้ในระบบออนไลน์ระบบเดียวที่
สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ และ Google Apps for Education ยังช่วยยกระดับความโปร่งใสและสนับสนุน
การทางานร่วมกันระหว่างนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และผู้บริหารอีกด้วย (Google Inc, 2014)
ประเทศไทย ทางมหาวิทยาลัยขอนแก่นจับมือ Google ร่วมพัฒนาส่งเสริมศักยภาพด้านไอที ให้
นักศึกษาและบุคลากร เติมเต็มความต้องการผู้ใช้งานอีเมล์ พร้อมกระตุ้นการติดต่อสื่อสารผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค
อย่างมีคุณค่า โดยสืบเนื่องจากปัญหาระบบ e-mail โดเมน kku.ac.th ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ไม่สามารถ
เชื่อมต่อกับระบบอื่นของมหาวิทยาลัย และไม่สามารถรองรับความต้องการของผู้ใช้ได้เต็มที่ ทางคณะผู้บริหาร
และรองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงได้ร่วมหารือกับทีมงาน
จาก Google ในการพัฒนาระบบ Google Apps for Education ซึ่งทาง Google ให้ความช่วยเหลือโดยไม่มี
ค่าใช้จ่ายใดๆ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยี
สารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กล่าวว่า ทางมหาวิทยาลัยไม่สามารถติดต่อกับศิษย์เก่าผ่านช่องทางอีเมล์
kku.ac.th ได้ เพราะไม่ถูกใช้อย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยขอนแก่นจึงต้องการพัฒนาระบบเพื่อตอบสนองความ
ต้องการให้กับนักศึกษาใหม่ ศิษย์ปัจจุบัน และบุคลากร จากเหตุผลที่กล่าวมาจึงเป็นจุดประสงค์ของการพัฒนา
และทาให้ มี Google Apps for Education ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ภาพที่ 6 กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการ
การเรียนการสอนในประเทศไทย (ที่มา :
http://www.nationmultimedia.com/new/2014/11/25/technology/images/30248451-
01_big.jpg)
9
บทสรุป
สังคมในยุคปจจุบัน เปนสังคมที่พัฒนาดวยเครื่องมือที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีและการสื่อสาร การ
จัดการเรียนการสอนในหองเรียน จึงมีความจาเปนอยางมากที่จะตองมีการนาเครื่องมือหรือเทคโนโลยีใหมๆ
เขามาใชในการจัดระบบการเรียนการสอนเพื่อชวยอานวยความสะดวกในหลายๆดานไมวาจะเปนการสร้าง
ปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสาคัญ การเรียนการสอนผานเครือขาย
อินเทอรเน็ตที่สามารถเขาเรียนไดทุกที่ทุกเวลา ซึ่งจะเห็นวาสังคมออนไลน ไดเขามามีบทบาทอยางมากในการ
จัดการเรียนการสอน แตในบางครั้งสังคมออนไลนที่ครูผูสอนใชอยูในปจจุบัน อาจจะยังตอบสนองความ
ตองการหรือปญหาตางๆ ไดไมมากนัก เครื่องมือที่นาสนใจในการจัดการเรียนการสอนปจจุบัน คือ Google
Apps for Education ที่จัดไดวาเปนเครื่องมือที่ชวยตอบสนองปญหาตางๆ ของการเรียนการสอนในหองเรียน
ไดอยางหลากหลาย และมีประสิทธิภาพอีกเครื่องมือหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนของไทย ดังนั้นจะเห็นได้
ว่า Google Apps for Education สามารถตอบโจทย์การศึกษายุคใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ชื่อ
ว่าเป็นการสร้างตานานแห่งโลกการศึกษายุคใหม่ เพราะได้ทาให้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การ
ติดต่อสื่อสาร การมีปฏิสัมพันธ์ แปรเปลี่ยนไปจากอดีตอย่างสิ้นเชิง
เอกสารอางอิง
______ . (2555) . [ออนไลน เขาถึงไดจาก http://i7.in.th/kku-google-apps-for-education
[14 กุมภาพันธ์ 2558]
ขาวมหาวิทยาลยขอนแกน . (2555) . [ออนไลน .เขาถึงไดจาก http://www.news.kku.ac.th/kkunews/
content/view/11800 [14 กุมภาพันธ์ 2558]
วรสรวง ดวงจินดา . (2555) . Google Apps for Education สูโลกแหงการศึกษายุคใหมสูความสาเร็จ
ของอุดมศึกษาไทย และ ASEAN Online Learning อยางมั่นคง (ออนไลน สืบคนจาก
https://docs.google.com/presentation/d/1p_Hh4btuLVZhBNpmeFL7GiBVELDmK9b
ft-fLZWdYJ70/edit#slide=id.g19cbca12_1_96 [14 กุมภาพันธ์ 2558]
สุรศักดิ์ ปาเฮ . (2555) . ศักยภาพสื่อประชาสัมพันธในยุคสังคมออนไลน (ออนไลน สืบคนจาก
http://www.addkutec3.com/wp-content/uploads/2012/07/pr.ed_.online.pdf
[14 กุมภาพันธ์ 2558]
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์
ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อรุณ การพิมพ์.
Anderson L., Krathwohl D. (2001).A taxonomy for learning, teaching and assessment: A
revised Bloom’s Taxonomy ofEducational Objectives. New York : Longman.
Bordogna, C., Albano, E. (2001). Phase transitions in a model for social learning via the
Internet. International Journal of Modern Physics, 12(8), p. 1241-1250.
10
Carr-Chellman, A. (2011): Instructional design for teachers. Improving classroom
proactive.Routledge Taylor&Frncis Group. New York and London.
Chalmer, B. Collaborative Assessment: An Alternative to Psychological Evaluation. 2001.
http://www.somewareinvt.com/vcca/collab_assess_paper.pdf
Cogburn, D. Globalization, knowledge, education and training in the information age.
http://www.unesco.org/webworld/infoethics_2/eng/papers/paper_23.htm.
Cooper, P. (1993) Paradigm shifts in designed instruction: from behaviorism to cognitivism to
constructivism. Educational Technology. 33, 12-19.
Donovan, M., Bransford, J. (2005). How students learn: history, mathematics, and science in
the classroom. Washington:The National Academies press.
Edyburn, D., Higgins, K., Boone, R. (2005). Handbook of special educational technology
research and practice.USA: Knowledge by Design, Inc.
Eun, B., Knotek, S., Heining-Boynton, A. (2008).Reconceptualising the Zone of Proximal
Development: The Importanceof the Third Voice.Educ Psychological Review.20 p.
133-147.
Glahn, C. (2009). Contextual support of social engagement and reflection on the Web. The
Netherlands: Heerlen.
Hakkinen, P.(2002). Challen1ges for design of computer-based learning environments.British
Journal of Ediucational Technology. 33, 4 , 461-469.

More Related Content

What's hot

โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกNat Basri
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3สุภาพร สิทธิการ
 
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)Non Phakanon
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวJirathorn Buenglee
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3Khunnawang Khunnawang
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7Pear Pimnipa
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยwanichaya kingchaikerd
 

What's hot (20)

ดิน
ดินดิน
ดิน
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอกพื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
พื้นที่ผิวของปริซึมและทรงกระบอก
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
เฉลยแนวข้อสอบ GAT Eng 2565 (อังกฤษ)
 
โครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไวโครงงานคิดคล่องว่องไว
โครงงานคิดคล่องว่องไว
 
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
ตัวอย่างแผนภาพต้นไม้
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ป.3
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
เศรษฐกิจพอเพียงแก้ปัญหายาเสพติด7
 
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทยทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิด รูปแบบ ขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรของนักวิชาการไทย
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 

Similar to บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน

ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3wipawanmmiiww
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Mintra Pudprom
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์KaRn Tik Tok
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์Soldic Kalayanee
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4juice1414
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะKoNg KoNgpop
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4kanatakenta
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์kanyaluk dornsanoi
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมsensitive_area
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมChorpaka Sarawat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมChorpaka Sarawat
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมAratchaporn Julla
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมJid Supharada
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3natnardtaya
 

Similar to บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน (20)

ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
ใบงานที่ 8 โครงงานประเภท การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
ใบงาน 3
ใบงาน 3ใบงาน 3
ใบงาน 3
 
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะใบงานที่ 7 นะจ้ะ
ใบงานที่ 7 นะจ้ะ
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
ใบงานท 4
ใบงานท   4ใบงานท   4
ใบงานท 4
 
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่2 3-4 หลักทรัพย์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
Six
SixSix
Six
 
ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8ใบงาน 2-8
ใบงาน 2-8
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
วิจัยฝุ่น
วิจัยฝุ่นวิจัยฝุ่น
วิจัยฝุ่น
 

บทความการใช้เทคโนโลยี Google apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน

  • 1. การใช้เทคโนโลยี Google Apps ในการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน The use of Google Apps in the development of innovative teaching ผศ.ดร.ภาสกร เรืองรอง มหาวิทยาลัยนเรศวร1 นางสาวมลชยา หวานชะเอม มหาวิทยาลัยนเรศวร2 บทนํา พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) มีบทบัญญัติที่ เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรมการศึกษาไว้หลายมาตรา เช่น มาตรา 67 รัฐต้องส่งเสริมให้มี การวิจัยและพัฒนาการผลิตและการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา รวมทั้งการติดตาม ตรวจสอบ และ ประเมินผลการใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา เพื่อให้เกิดการใช้ที่คุ้มค่าและเหมาะสมกับกระบวนการเรียนรู้ของ คนไทย ฯลฯ ทั้งนี้เนื่องมาจากความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวัฒน์ที่รุดหน้าไปอย่างรวดเร็ว ได้แสดงให้เห็นถึงข้อจากัดของการจัดการเรียนรู้ที่เน้นการสื่อสารภายในห้องเรียนเพียงอย่างเดียว ทาให้โอกาส ในการสื่อสารระหว่างผู้สอนและผู้เรียนในสภาพการณ์ที่ต่างกัน ลดน้อยลงและเป็นอุปสรรคต่อการจัดการ เรียนรู้ การใช้เทคโนโลยีเพื่อลดข้อจากัดดังกล่าวจึงมีความสาคัญอย่างยิ่ง โดยนาเทคโนโลยี Google Apps for Education มาประยุกต์ใช้เป็นเครื่องมือที่นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอน สามารถสร้างความ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน รวมถึงระบบการส่งและจัดเก็บผลงานต่างๆด้วย Google Drive ผู้อยู่ใน แวดวงการศึกษาควรได้ศึกษาเพื่อนามาประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอน เพื่อเป็นแนวทางให้ผู้สอนและ ผู้เรียนนาเทคโนโลยีนี้ไปใช้ในองค์กรของตนเอง ลดข้อจากัดและอุปสรรคที่เกิดขึ้น อันจะส่งผลให้การเรียนรู้ ของผู้เรียนเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุดและเกิดการเปลี่ยนแปลงโฉมองค์กรในด้านนวัตกรรมการศึกษา และสามารถแลกเปลี่ยนความรู้กันกับสถาบันต่างๆระหว่างประเทศได้ด้วย คําสําคัญ : Google Apps for Education นวัตกรรมการเรียนการสอน 1 อาจารย์ภาควิชา เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร 2 นิสิตปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร
  • 2. 2 ความหมายของการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน นวัตกรรม ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 หมายถึง สิ่งที่ทาขึ้นใหม่หรือแปลก จากเดิมซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการหรืออุปกรณ์ เป็นต้น กองวิจัยการศึกษา กรมวิชาการ (2545, หน้า 37) ให้ความหมายของนวัตกรรมการเรียนการสอน หมายถึงกิจกรรม กระบวนการ เครื่องมือ สื่อ วัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ทั้งที่มีรูปแบบใหม่ ๆ หรือของเก่าที่ได้รับ การปรับปรุงแก้ไขให้มีคุณภาพดีขึ้น ซึ่งผู้สอนยังไม่เคยนามาใช้ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนของตน ทิศนา แขมมณี (2555, หน้า 418-419) กล่าวว่า นวัตกรรมการเรียนการสอน มีลักษณะเป็น แนวคิด หรือวิธีการหรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ๆ ที่สามารถนามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนโดยความใหม่มิใช่เป็น คุณสมบัติประการเดียวของนวัตกรรม นวัตกรรมไม่ว่าจะเป็นด้านใดจาเป็นต้องมีคุณสมบัติที่สาคัญดังนี้ 1) เป็นสิ่งใหม่ ซึ่งมีความหมายในหลายลักษณะ ได้แก่ (1) เป็นสิ่งใหม่ทั้งหมดหรือใหม่เพียงบางส่วน (2) เป็นสิ่งใหม่ที่ยังไม่เคยมีการนามาใช้ในที่นั้น ได้แก่การนาสิ่งที่ใช้หรือปฏิบัติกันในสังคมหนึ่ง มาปรับใช้ในอีกสังคมหนึ่ง นับเป็นนวัตกรรมในสังคมนั้น (3) เป็นสิ่งใหม่ในช่วงเวลาหนึ่งแต่อาจเป็นของเก่าในอีกช่วงเวลาหนึ่ง เช่น อาจเป็นสิ่งที่เคย ปฏิบัติมาแล้ว แต่ไม่ได้ผลเนื่องจากขาดปัจจัยสนับสนุน ต่อมาปัจจัยและสถานการณ์อานวยจึงนามาเผยแพร่ และทดลองใช้ใหม่ ถือว่าเป็นนวัตกรรมได้ 2) เป็นสิ่งใหม่ที่กาลังอยู่ในกระบวนการพิสูจน์ทดสอบว่าจะใช้ได้ผลมากน้อยเพียงใดในบริบทนั้น 3) เป็นสิ่งใหม่ที่ได้รับการยอมรับนาไปใช้แต่ยังไม่เป็นส่วนหนึ่งของระบบงานปกติ หากการยอมรับ นาไปใช้นั้นได้กลายเป็นการใช้อย่างเป็นปกติในระบบงานของที่นั้นแล้ว ก็ไม่ถือว่าเป็นนวัตกรรมอีกต่อไป4) เป็นสิ่งใหม่ที่ได้รับการยอมรับนาไปใช้บ้างแล้ว แต่ยังไม่แพร่หลายคือยังไม่เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวาง การพัฒนาการเรียนการสอน เป็นการช่วยพัฒนาผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เป็นเป้าหมายสาคัญแล้ว ยังได้นวัตกรรมซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ทางการเรียนการสอนที่เป็นเครื่องมือสาคัญในการพัฒนาผู้เรียน การใช้เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา หมายถึง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศกับงานด้านการศึกษา อันได้แก่ การจัดเก็บข้อมูล และประมวลผลฐานข้อมูล การพัฒนาระบบสารสนเทศช่วยในการ เรียนการสอน การวางแผนและการบริหารการศึกษา การวางแผนหลักสูตร การแนะแนวและบริการ การทดสอบวัดผล การพัฒนาบุคลากร เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งเป็นที่นิยมประยุกต์ใช้ในปัจจุบัน อาทิเช่น 1 ระบบสารสนเทศช่วยในการเรียนการสอน 2 การสอนทางไกลผ่านดาวเทียม 3 การประชุมทางไกลระบบจอภาพ 4 ระบบฐานข้อมูลการศึกษา 5 ระบบสารสนเทศเอกสาร สรุปว่าการพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอน หมายถึง สิ่งใหม่ที่อาจเป็นแนวคิดวิธีการหรือ สิ่งประดิษฐ์ที่นามาใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับบริบทการเรียนการสอนที่ใช้นวัตกรรมนั้น
  • 3. 3 เพื่อให้เกิดการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนตามที่คาดหวังไว้ และสามารถตอบโจทย์ความต้องการของสังคมใน การพัฒนาทักษะของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ความหมาย Google Apps for Education (Google Inc, 2014) Google Apps for Education หรือ Google Apps สําหรับการศึกษา คือ ชุดของฟรีอีเมล์จาก Google และเครื่องมือต่าง ๆ เป็นระบบเปิดในการทางานร่วมกัน เปิดกว้างสาหรับคุณครู นักเรียน นักศึกษา ชั้นเรียนและสมาชิกครอบครัวในโลก ตัวอย่างเครื่องมือที่นิยมใช้รู้จักกันดี เช่น อีเมล์ (E-mail),เอกสาร (Docs), ปฏิทิน (Calendar), และ Group เป็นต้น แต่เครื่องมือเหล่านี้จะใช้สาหรับในการศึกษา เป็นโปรแกรม ที่ Google พัฒนาให้แก่โรงเรียนใช้งาน เพื่อสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีต่อการเรียนการสอนและการนา อินเทอร์เน็ตไปใช้ในเชิงสร้างสรรค์ โดยโปรแกรมประกอบไปด้วย Communication : โปรแกรมสื่อสาร ภายในและภายนอกโรงเรียน Collaboration : โปรแกรมออฟฟิศสาหรับการแชร์และทางานร่วมกันออนไลน์ Content : โปรแกรมสร้างเว็บไซต์และเนื้อหาออนไลน์ ภาพที่ 1 Google Apps for Education (ที่มา : http://thinkoutloudclub.com/wp- content/uploads/2014/02/google_apps_landscape.png) คุณสมบัติที่น่าสนใจของบริการ Google Apps for Education ภาพที่ 2-3 Why Google Apps for Education ? (ที่มา : http://roxannnys.pbworks.com/f/1306166755/original%20google%20tools.jpg)
  • 4. 4 การบริการรับส่งจดหมาย (Gmail) สาหรับการดาเนินการธุรกิจและการศึกษา ให้พื้นที่ในการ จัดเก็บข้อมูล 25 กิกะไบต์ ไม่มีอีเมลขยะ และ 99.9% ในช่วงเวลาที่ใช้งาน จะมีบริการดูแลเรื่องความ ปลอดภัยเป็นอย่างดี และมีระบบสนับสนุนผู้ใช้ให้เกิดความพึงพอใจมากที่สุดขึ้นอยู่กับข้อตกลงที่ผู้ใช้ทาไว้กับ ผู้ให้บริการระบบเครือข่าย Google Voice Search เป็นแอพพลิเคชั่นใหม่ล่าสุดของ Google ซึ่งนามาเปิดตัวอีกครั้งหนึ่งใน งาน "World Mobile Congress 2010" ที่กรุงบาร์เซโลนา ประเทศสเปน Google Voice Search เป็นเครื่องมือที่เกิดมาจาก Google Labs ที่อนุญาตให้ผู้ใช้งานสามารถค้นหาข้อมูลผ่านโทรศัพท์มือถือได้ โดยผู้ใช้ต้องโทรเข้าไปที่เบอร์ (650)623-6706 ซึ่งเป็นเบอร์โทรศัพท์ของระบบการค้นหาด้วยเสียงของ Google Google Drive เป็นบริการจาก Google ที่ทาให้เราสามารถนาไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้กับ Google ซึ่งทาให้เราสามารถใช้ไฟล์เหล่านั้นทีไหนก็ได้ ไม่เพียงแค่ฝากไฟล์ได้เท่านั้น แต่ยังสามารถแบ่งปันไฟล์กับคน ที่ต้องการ และสามารถแก้ไขร่วมกันได้จากอุปกรณ์หลายประเภท เช่น อุปกรณ์มือถือ อุปกรณ์แทบเลตหรือ คอมพิวเตอร์ สาหรับพื้นที่ ที่ Google ให้เราใช้บริการฟรีนั้นอยู่ที่ 5 GB และหากต้องการพื้นที่มากขึ้น ก็สามารถ ซื้อพื้นที่จัดเก็บข้อมูลเพิ่มได้ ส่วนราคาก็ขึ้นอยู่กับขนาดของพื้นที่ การจะใช้งาน Google Drive หรือบริการต่าง ๆ ของ Google นั้น เราจาเป็นต้องมีบัญชีอีเมล์กับทาง Gmail ก่อน จึงจะใช้งานได้ หากจะใช้บัญชีอีเมล์ที่ไม่ใช่ของ Gmail ก็จะใช้งานไม่ได้ครบถ้วนสมบูรณ์เหมือน Google Maps คือบริการของ Google ที่ให้บริการเทคโนโลยีด้านแผนที่ประสิทธิภาพสูง ใช้ค้นหา แผนที่ (Web Mapping) ใช้งานง่าย และให้ข้อมูลของธุรกิจในท้องถิ่น ได้แก่ ที่ตั้งของธุรกิจ รายละเอียดการ ติดต่อ และเส้นทางการขับขี่ โดยบริการแผนที่นี้เริ่มต้นให้บริการตั้งแต่กลางปี ค.ศ. 2005 เป็นบริการฟรี จัด ให้แก่ผู้ใช้ทั่วโลกส่วนประกอบที่สาคัญที่ดึงดูดผู้ใช้งานเป็นอย่างมาก คือแผนที่และภาพถ่ายดาวเทียมคุณภาพดี ซึ่งครองคลุมพื้นผิวโลกในมาตราส่วนต่างๆ ตามความเหมาะสมเพื่อให้ง่ายและสะดวกต่อการค้นหา และการ เดินทางของผู้ใช้งาน Google calendar บริการด้านปฏิทิน การจัดทากาหนดการ ตารางการทางาน การจัดตารางการ ทางาน การนัดหมายประชุมตอบรับการประชุม การแบ่งปันการใช้ปฏิทินร่วมกันทางระบบออนไลน์ และ การใช้ปฏิทินบนโทรศัพท์มือถือ Google Docs บริการด้านเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ สามารถทางานร่วมกันได้ ไม่ว่าจะเป็นระหว่าง อาจารย์กับอาจารย์ หรืออาจารย์กับนักศึกษาสามารถแบ่งปันใช้เอกสารออนไลน์ร่วมกันได้ทุกที่ทุกเวลา และ ทุกโอกาส มีโปรแกรมตารางคานวณอิเล็กทรอนิกส์ และโปรแกรมนาเสนอผลงาน การทางานในระบบ ออนไลน์ที่ไม่ต้องมีการแนบไฟล์ Google Groups บริการที่อนุญาตให้ผู้ใช้ ซึ่งทางานร่วมกันเป็นกลุ่ม สามารถสร้างรายชื่ออีเมล ของกลุ่มคนที่ทางานร่วมกัน สามารถแบ่งปันเนื้อหาร่วมกันได้ สามารถค้นหาข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว Google Site บริการที่มีความปลอดภัยสูง บริการรหัสเขียนโปรแกรมสาหรับสร้างเว็บไซต์ ผ่าน ระบบอินทราเน็ต และสามารถบริหารจัดการในกลุ่มคนที่ทางานร่วมกันเป็นอย่างดี มีลักษณะการทางาน คล้ายกับบล็อกหรือเว็บไซต์สาเร็จรูป อาจารย์สามารถใช้ในการสร้างโครงการสอน แผนการสอน สอดแทรก รูปภาพ และวิดิโอ ประกอบการสอนทั้งหมดลงไปในเว็บไซต์นี้ได้ Google Video บริการเรื่องวิดีโอได้เป็นการส่วนตัว มีความปลอดภัยสูง และมีเว็บแม่ข่ายสาหรับ แบ่งปันการใช้วิดิโอร่วมกัน
  • 5. 5 Google Plus หรือ Google+ เป็นเว็บเครือข่ายสังคมออนไลน์ของกูเกิล มีลักษณะการใช้งาน คล้ายกับ Facebook ปัจจุบันมีผู้ใช้งานทั้งหมดประมาณ 540 ล้านคน สามารถเชื่อมต่อไปยัง Gmail และ YouTube ได้ ขั้นตอนการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการเรียนการสอน Google plus เปน Social Network คลายๆ กับ Facebook เปนหนึ่งใน Application ที่ google พัฒนาขึ้นมา และสามารถตอบสนองระหวางผูสอนกับผูเรียนในเรื่องของการมีปฏิสัมพันธระหวางกัน การ พูดคุยโตตอบกัน รวมไปถึงการเรียนการสอนทางไกลผานเครือขายอินเทอรเน็ตไดเปนอยางดี จุดเดนของ google plus ในการจัดการเรียนการสอน คือ 1. มีสวนสนทนา (Chat) สาหรับการโตตอบแบบทันทีทันใด ระหวางผูเรียนกับผูสอน 2. แฮงคเอาท Hang out) ใชสาหรับพูดคุย หรือสนทนา ผานภาพและเสียงระหวางบุคคลที่อยูใน กลุมหรือแวดวงนั้นๆ 3. ไทมไลน Timeline) เปนสวนที่แสดงการอัพเดต (Update) ตางๆของผูสอนและผูเรียนทาใหทราบ ความเคลื่อนไหวตางๆ ไดทันทวงที 4. การจัดการเอกสารตางๆ เชน การสรางเอกสาร การสรางไฟลนาเสนอ การสรางตารางคานวณ เปนตน สามารถทาไดแบบออนไลน เผยแพรไดทันที ปจจุบัน Google Apps for Education มีการพัฒนากาวหนา และมีแอพพลิเคชั่นมากมายหลายชนิด ใหผูใชไดติดตั้งบน Web browser เพื่ออานวยความสะดวกในการใชงาน รวมถึงการพัฒนาแอพพลิเคชั่น สาหรับ Mobile Phone และ Tablet เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูไดทุกที่ ทุกเวลา มีการสื่อสารระหวางผู สอนและผูเรียนไดตลอดเวลาเชนกัน ภาพที่ 4 การใช้ Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการเรียนการสอน (ที่มา : http://electronicportfolios.org/google/GoogleAppsEd6.jpg) ข้อดี Google Apps for Education นอกจาก Google Apps for Education จะมีโปรแกรมจัดการเอกสารพื้นฐานต่าง ๆ ให้ใช้งานแล้ว ผู้ใช้ไม่จาเป็นต้องติดตั้งชุดโปรแกรมลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเอง เพราะการใช้งาน
  • 6. 6 จะใช้งานแบบออนไลน์ทั้งหมด กล่าวคือ จะต้องมีการเชื่อมต่อและใช้งานผ่านบราวเซอร์หรือผ่านอุปกรณ์ มือถือนั่นเอง ซึ่งจะช่วยให้เราสร้างไฟล์เอกสาร ไฟล์ Spread Sheet หรือ Presentation รวมถึงผลงานต่าง ๆ ผ่าน Google Apps ได้เกือบหมด ปัจจุบัน Google Apps for Education มีการพัฒนาก้าวหน้าและมีแอพพลิเคชันมากมาย หลายชนิดให้ผู้ใช้ได้ติดตั้งบน Web Browser เพื่ออานวยความสะดวกในการใช้งาน รวมถึงการพัฒนา แอพพลิเคชันสาหรับ Mobile Phone และ Tablet เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา มีการสื่อสาร ระหว่างผู้สอนและผู้เรียนได้ตลอดเวลาเช่นกัน กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการเรียนการสอน ภาพที่ 5 กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการการ เรียนการสอนจากประเทศต่างๆทั่วโลก (ที่มา : http://blog.backupify.com/wp- content/uploads/2013/05/EDU_Infographic-1-copy-300x256.jpg) ประเทศสหรัฐอเมริกา โรงเรียน Hillsborough Township Public Schools (HTPS) ในเขตพื้นที่ การศึกษาที่ประกอบด้วยโรงเรียนชุมชนที่เป็นของรัฐ ค้นพบว่าแอปจาก Google Play for Education สามารถใช้ประโยชน์ได้หลากหลายอย่างมากในชั้นเรียน ซึ่งดีมากเพราะเด็กได้มีส่วนร่วมในประสบการณ์การ เรียนรู้จริงๆ จนไม่รู้ตัวเลยว่ากาลังเรียนอยู่ ทาให้เด็กมีแรงกระตุ้นที่จะเรียนรู้มากขึ้น และนา Google for Education มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการสอนเนื่องจากเป็นตัวเลือกด้านเทคโนโลยีในชั้นเรียนที่เรียบง่าย และประหยัดให้กับ Hillsborough Township Schools ด้วยการเริ่มใช้งานที่รวดเร็วและวิธีชาระเงินที่มี ประสิทธิภาพช่วยให้ครูสามารถบริหารจัดการการแจกจ่ายแอปที่มีประโยชน์ในชั้นเรียนได้ง่ายขึ้น (Google Inc, 2014) ประเทศสหรัฐอเมริกา KIPP (Knowledge Is Power Program) เป็นเครือข่ายระดับประเทศซึ่ง ประกอบด้วยโรงเรียนแบบเปิดที่ดาเนินการจากเงินอุดหนุนของรัฐ มุ่งเน้นเตรียมความพร้อมให้นักเรียนประสบ ความสาเร็จในระดับอุดมศึกษาและในการดาเนินชีวิต KIPP Bridge Charter School เป็นโรงเรียนสมาชิกที่
  • 7. 7 ตั้งอยู่ในโอ๊คแลนด์ แคลิฟอร์เนีย มีนักเรียน 319 คน ได้นาแท็บเล็ตพร้อม Google for Education มาใช้ใน การเรียนการสอน ซึ่งช่วยให้ครูของ KIPP สามารถแจกจ่ายแอปสาคัญในชั้นเรียนได้ผ่านระบบคลาวด์ นักเรียนมีช่องทางใหม่ในการใช้เว็บภายในชั้นเรียน และสามารถเข้าถึงกิจกรรมการเรียนรู้ที่ครบครัน การ แนะนาเทคโนโลยีสร้างความตื่นตัวอย่างมาก และเป็นกระบวนการที่ราบรื่น อินเทอร์เฟซของอุปกรณ์นั้นใช้ งานง่าย ทาให้นักเรียนเข้าใจวิธีใช้โดยแทบไม่ต้องเรียนรู้กันใหม่ นักเรียนได้เห็นภาพรวม ได้รับมุมมองที่ หลากหลายและแสดงความคิดเห็นได้อย่างชาญฉลาด ด้วยเหตุนี้ การทางานของนักเรียนจะมีความหลากหลาย ยิ่งขึ้น (Google Inc, 2014) ประเทศอังกฤษ ทางเขตพื้นที่การศึกษา Clarkstown Central (CCSD) ให้บริการนักเรียนประมาณ 8,600 คนทางตอนใต้ของนิวยอร์ก Clarkstown มีความภาคภูมิใจกับการสนับสนุนบรรยากาศของโรงเรียน ขนาดเล็ก การมีส่วนร่วมของชุมชน และการมุ่งเน้นที่ตัวบุคคล เขตพื้นที่การศึกษานี้มีโรงเรียนระดับ ประถมศึกษา 10 แห่ง มัธยมต้น 1 แห่ง มัธยมปลาย 2 แห่ง และศูนย์การศึกษาทางเลือกระดับอนุบาลถึง มัธยมปลายอีก 1 แห่ง เขตพื้นที่การศึกษานี้นาเสนอโปรแกรมที่เป็นนวัตกรรมให้แก่นักเรียนผ่านเทคโนโลยีทาง เว็บ และเป็นหนึ่งในเขตแรกๆ ที่ใช้ Google Apps for Education ตลอดจนเครื่องมือนวัตกรรมใหม่ๆ อีก มากมาย แม้ในช่วงเวลาที่มีงบประมาณจากัด ทางเขตก็ยังสามารถหาเครื่องมือที่เหมาะสมให้กับคณาจารย์และ นักเรียนได้ และหลังจากใช้ Google Classroom เป็นเวลา 2-3 เดือน นักการศึกษาและทีมได้ชี้ให้เห็น ประโยชน์สาคัญ 2 ประการ คือนักเรียนมีส่วนร่วมเพิ่มขึ้น และชั้นเรียนมีการจัดระเบียบดียิ่งขึ้น Google Classroom ช่วยให้งานของนักเรียนได้รับการจัดระเบียบดีขึ้น มีเครื่องมือและแอปพลิเคชันสาหรับการทางาน ร่วมกันซึ่งมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ใช้งานง่ายและแจกจ่ายได้ง่าย (Google Inc, 2014) ประเทศอินเดีย Fountainhead Global School ตั้งอยู่ในกรุงไฮเดอราบัด ประเทศอินเดีย เป็น โรงเรียนเอกชนท้องถิ่น ได้มีความห่วงใยว่าผู้ปกครองจะไม่ได้ทราบถึงความสาเร็จของเด็กๆ และข่าวสารของ โรงเรียน ทางโรงเรียนจึงจาเป็นต้องหาวิธีสื่อสารข่าวใหม่ๆ ของโรงเรียนกับผู้ปกครอง เจ้าหน้าที่ และนักเรียน อย่างสะดวกและรวดเร็ว จึงนาเทคโนโลยี Google Apps for Education มาใช้ในการพัฒนาการเรียนการ สอนเนื่องจากเป็นช่องทางที่ปลอดภัย ราคาประหยัดและสื่อสารกับทุกคนในโรงเรียนได้อย่างราบรื่น โดยไม่ ต้องมีผู้ดูแลเว็บ แค่คลิกเพียงไม่กี่ครั้ง ครูก็สามารถแชร์ผลงานความสาเร็จของนักเรียนกับผู้ใช้ไซต์ได้อย่าง ปลอดภัย ผู้ปกครองจึงสามารถดูว่าบุตรหลานมีความสาเร็จอย่างไรบ้าง และยังสามารถสื่อสารกับผู้บริหารของ โรงเรียนได้โดยตรง ส่วนนักเรียนนั้นได้รับประโยชน์จากการทางานร่วมกันในแต่ละวัน (Google Inc, 2014) ประเทศเม็กซิโก Centro de Formación Escolar Banting หรือเรียกอีกอย่างว่า Colegio Banting ประกอบด้วยโรงเรียนเอกชน 2 แห่งใน Coyoacán กรุงเม็กซิโกซิตี นักเรียนของ Colegio Banting มีตั้งแต่ นักเรียนอนุบาลไปจนถึงมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งส่วนใหญ่มาจากครอบครัวที่มีฐานะปานกลางถึงยากจน Colegio Banting ก่อตั้งขึ้นโดยมีพันธกิจที่จะส่งเสริมการเรียนรู้อย่างครบวงจร และมีเป้าหมายที่จะเตรียมความพร้อม ให้นักเรียนสามารถตอบสนองความต้องการและพร้อมรับโอกาสในศตวรรษที่ 21 โดยอาศัยการมุ่งเน้นการ ผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับการเรียนรู้ โดย Colegio Banting พบความท้าทายในการเตรียมความพร้อม ให้กับนักเรียนที่มาจากครอบครัวหลากหลายระดับ และมีจานวนมากที่ไม่สามารถจ่ายค่าเล่าเรียนได้เอง ในการ
  • 8. 8 สอบแข่งขันเข้าเรียนในมหาวิทยาลัยชั้นนาของโลก ทางสถาบันต้องการสร้างความเสมอภาคโดยใช้เทคโนโลยีที่ ดีที่สุด ในราคาต่าที่สุด เพื่อพัฒนาการศึกษาและเพิ่มสัมฤทธิผลทางวิชาการของนักเรียน และทางโรงเรียน ต้องการแพลตฟอร์มที่เป็นหนึ่งเดียว เพื่อให้นักเรียน ครู ผู้ปกครอง และผู้บริหารสามารถเข้าถึงข้อมูลที่แชร์กัน ได้มากขึ้น ทั้งในและนอกสถานศึกษา และนา Google Apps for Education มาใช้ในการจัดการเรียนการ สอน เนื่องจากเป็นเครื่องมือรวมบทเรียน งาน และประกาศของโรงเรียนไว้ในระบบออนไลน์ระบบเดียวที่ สามารถเข้าถึงได้จากทุกที่ และ Google Apps for Education ยังช่วยยกระดับความโปร่งใสและสนับสนุน การทางานร่วมกันระหว่างนักเรียน ผู้ปกครอง ครู และผู้บริหารอีกด้วย (Google Inc, 2014) ประเทศไทย ทางมหาวิทยาลัยขอนแก่นจับมือ Google ร่วมพัฒนาส่งเสริมศักยภาพด้านไอที ให้ นักศึกษาและบุคลากร เติมเต็มความต้องการผู้ใช้งานอีเมล์ พร้อมกระตุ้นการติดต่อสื่อสารผ่านโซเชียลเน็ตเวิร์ค อย่างมีคุณค่า โดยสืบเนื่องจากปัญหาระบบ e-mail โดเมน kku.ac.th ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ไม่สามารถ เชื่อมต่อกับระบบอื่นของมหาวิทยาลัย และไม่สามารถรองรับความต้องการของผู้ใช้ได้เต็มที่ ทางคณะผู้บริหาร และรองศาสตราจารย์ ดร.กิตติชัย ไตรรัตนศิริชัย อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงได้ร่วมหารือกับทีมงาน จาก Google ในการพัฒนาระบบ Google Apps for Education ซึ่งทาง Google ให้ความช่วยเหลือโดยไม่มี ค่าใช้จ่ายใดๆ โดยผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เด่นพงษ์ สุดภักดี รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและเทคโนโลยี สารสนเทศ มหาวิทยาลัยขอนแก่น กล่าวว่า ทางมหาวิทยาลัยไม่สามารถติดต่อกับศิษย์เก่าผ่านช่องทางอีเมล์ kku.ac.th ได้ เพราะไม่ถูกใช้อย่างต่อเนื่อง มหาวิทยาลัยขอนแก่นจึงต้องการพัฒนาระบบเพื่อตอบสนองความ ต้องการให้กับนักศึกษาใหม่ ศิษย์ปัจจุบัน และบุคลากร จากเหตุผลที่กล่าวมาจึงเป็นจุดประสงค์ของการพัฒนา และทาให้ มี Google Apps for Education ในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ภาพที่ 6 กรณีศึกษาการใช้เทคโนโลยี Google Apps for Education ในการพัฒนานวัตกรรมการ การเรียนการสอนในประเทศไทย (ที่มา : http://www.nationmultimedia.com/new/2014/11/25/technology/images/30248451- 01_big.jpg)
  • 9. 9 บทสรุป สังคมในยุคปจจุบัน เปนสังคมที่พัฒนาดวยเครื่องมือที่เกี่ยวของกับเทคโนโลยีและการสื่อสาร การ จัดการเรียนการสอนในหองเรียน จึงมีความจาเปนอยางมากที่จะตองมีการนาเครื่องมือหรือเทคโนโลยีใหมๆ เขามาใชในการจัดระบบการเรียนการสอนเพื่อชวยอานวยความสะดวกในหลายๆดานไมวาจะเปนการสร้าง ปฏิสัมพันธระหวางผูสอนกับผูเรียน การจัดการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสาคัญ การเรียนการสอนผานเครือขาย อินเทอรเน็ตที่สามารถเขาเรียนไดทุกที่ทุกเวลา ซึ่งจะเห็นวาสังคมออนไลน ไดเขามามีบทบาทอยางมากในการ จัดการเรียนการสอน แตในบางครั้งสังคมออนไลนที่ครูผูสอนใชอยูในปจจุบัน อาจจะยังตอบสนองความ ตองการหรือปญหาตางๆ ไดไมมากนัก เครื่องมือที่นาสนใจในการจัดการเรียนการสอนปจจุบัน คือ Google Apps for Education ที่จัดไดวาเปนเครื่องมือที่ชวยตอบสนองปญหาตางๆ ของการเรียนการสอนในหองเรียน ไดอยางหลากหลาย และมีประสิทธิภาพอีกเครื่องมือหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนของไทย ดังนั้นจะเห็นได้ ว่า Google Apps for Education สามารถตอบโจทย์การศึกษายุคใหม่ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ชื่อ ว่าเป็นการสร้างตานานแห่งโลกการศึกษายุคใหม่ เพราะได้ทาให้รูปแบบการจัดการเรียนการสอน การ ติดต่อสื่อสาร การมีปฏิสัมพันธ์ แปรเปลี่ยนไปจากอดีตอย่างสิ้นเชิง เอกสารอางอิง ______ . (2555) . [ออนไลน เขาถึงไดจาก http://i7.in.th/kku-google-apps-for-education [14 กุมภาพันธ์ 2558] ขาวมหาวิทยาลยขอนแกน . (2555) . [ออนไลน .เขาถึงไดจาก http://www.news.kku.ac.th/kkunews/ content/view/11800 [14 กุมภาพันธ์ 2558] วรสรวง ดวงจินดา . (2555) . Google Apps for Education สูโลกแหงการศึกษายุคใหมสูความสาเร็จ ของอุดมศึกษาไทย และ ASEAN Online Learning อยางมั่นคง (ออนไลน สืบคนจาก https://docs.google.com/presentation/d/1p_Hh4btuLVZhBNpmeFL7GiBVELDmK9b ft-fLZWdYJ70/edit#slide=id.g19cbca12_1_96 [14 กุมภาพันธ์ 2558] สุรศักดิ์ ปาเฮ . (2555) . ศักยภาพสื่อประชาสัมพันธในยุคสังคมออนไลน (ออนไลน สืบคนจาก http://www.addkutec3.com/wp-content/uploads/2012/07/pr.ed_.online.pdf [14 กุมภาพันธ์ 2558] ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน: องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ (พิมพ์ ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ราชบัณฑิตยสถาน. (2555). พจนานุกรมศัพท์ศึกษาศาสตร์ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. กรุงเทพฯ: อรุณ การพิมพ์. Anderson L., Krathwohl D. (2001).A taxonomy for learning, teaching and assessment: A revised Bloom’s Taxonomy ofEducational Objectives. New York : Longman. Bordogna, C., Albano, E. (2001). Phase transitions in a model for social learning via the Internet. International Journal of Modern Physics, 12(8), p. 1241-1250.
  • 10. 10 Carr-Chellman, A. (2011): Instructional design for teachers. Improving classroom proactive.Routledge Taylor&Frncis Group. New York and London. Chalmer, B. Collaborative Assessment: An Alternative to Psychological Evaluation. 2001. http://www.somewareinvt.com/vcca/collab_assess_paper.pdf Cogburn, D. Globalization, knowledge, education and training in the information age. http://www.unesco.org/webworld/infoethics_2/eng/papers/paper_23.htm. Cooper, P. (1993) Paradigm shifts in designed instruction: from behaviorism to cognitivism to constructivism. Educational Technology. 33, 12-19. Donovan, M., Bransford, J. (2005). How students learn: history, mathematics, and science in the classroom. Washington:The National Academies press. Edyburn, D., Higgins, K., Boone, R. (2005). Handbook of special educational technology research and practice.USA: Knowledge by Design, Inc. Eun, B., Knotek, S., Heining-Boynton, A. (2008).Reconceptualising the Zone of Proximal Development: The Importanceof the Third Voice.Educ Psychological Review.20 p. 133-147. Glahn, C. (2009). Contextual support of social engagement and reflection on the Web. The Netherlands: Heerlen. Hakkinen, P.(2002). Challen1ges for design of computer-based learning environments.British Journal of Ediucational Technology. 33, 4 , 461-469.