SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  63
Télécharger pour lire hors ligne
บทนา

          บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์
ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด
บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า เพลง หรือวิดีโอใน
หลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถ
แสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ซึ่งทาให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดย
ทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็นคากริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อกเป็น
อาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์"
          บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยู่กับเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือ
สื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร
การเมือง เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารี
ออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้บล็อกในปัจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชน
หลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักับลูกค้า โดยมีการเขียน
บล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้า
ไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์

ความนิยม
           บล็อกได้เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบันในวงการ[[สื่อมวลชน]]ในหลายประเทศ เนื่องจากระบบ
แก้ไขที่เรียบง่าย และสามารถตีพิมพ์เรื่องราวได้โดยไม่ต้องใช้ความรู้ในการเขียนเว็บไซต์ โดยนอกเหนือจาก
ที่ผู้เขียนข่าวส่งผลงานให้กับทางสื่อแล้ว ยังได้มาเขียนข่าวในอีกช่องทางหนึ่งในการเผยแพร่ข้อมูล หรือ
แนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาชนได้รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า
สื่อในด้านอื่น ข่าวที่นิยมในการเขียนบล็อกต่อสื่อมวลชน ส่วนใหญ่จะเป็นในลักษณะเรื่องซุบซิบวงการ
ดารา ข่าวการเคลื่อนไหวทางการเมือง เป็นต้น

     จากความนิยมที่มากขึ้น ทาให้หลายเว็บไซต์เปิดให้มีส่วนการใช้งานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง
เพื่อเรียกให้มีการเข้าสู่เว็บไซต์มากขึ้นทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน




                                                                                              หน้า 1
การใช้งานบล็อก
        ผู้ใช้งานบล็อกจะแก้ไขและบริหารบล็อกผ่านทาง [เว็บเบราว์เซอร์] เหมือนการใช้งานและอ่าน
เว็บไซต์ทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกต่างกัน เช่นบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผู้เขียน
หลายคนจะส่งเรื่องเข้าทางบล็อก และจะต้องรอให้บรรณาธิการอนุมัติให้บล็อกเผยแพร่ก่อน บล็อกถึงจะ
แสดงผลในเว็บไซต์นั้นได้ ซึ่งจะแตกต่างจากบล็อกส่วนตัวที่จะให้แสดงผลได้ทันที

        ผู้เขียนบล็อกในปัจจุบันจะใช้งานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่า ติดตั้งซอฟต์แวร์ของตัวเอง
หรือใช้งานบล็อกผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อก

        สาหรับผู้อ่านบล็อกจะใช้งานได้ในลักษณะเหมือนอ่านเว็บไซต์ทั่วไป และสามารถแสดงความเห็น
ได้ในส่วนท้ายของแต่ละบล็อกโดยอาจจะต้องผ่านการลงทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ผู้อ่านบล็อก
สามารถอ่านบล็อกได้ผ่านระบบ [ฟีด] ซึ่งมีให้บริการในบล็อกทั่วไป ทาให้ผู้ใช้สามารถอ่านบล็อกได้โดยตรง
ผ่านโปรแกรมตัวอื่นโดยไม่จาเป็นต้องเข้ามาสู่หน้าบล็อกนั้น

บล็อกซอฟต์แวร์
          บล็อกซอฟต์แวร์ หรือ บล็อกแวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต ในลักษณะของระบบจัดการ
เนื้อหาเว็บ ที่ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และผู้เขียนหรือดูแลบล็อกจะแยกจากกันต่างหาก ส่งผลให้ผู้เขียนบล็อก
สามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องมีพื้นฐานความรู้ในด้านเอชทีเอ็มแอล หรือการทาเว็บไซต์แต่อย่างใด ทา
ให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้เวลาส่วนใหญ่ในการ บริหารจัดการ เพิ่มเติม ข้อมูลและสารสนเทศแทนได้
นอกจากนี้บล็อกซอฟต์แวร์จะสนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทาให้ง่ายต่อการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมี
เทมเพลตในหลายแบบให้เลือกใช้
          ซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่สามารถดาวน์โหลดและติดตั้งได้ทันทีโดยผู้ใช้ ซึ่งซอฟต์แวร์บางส่วนเป็น
ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ซึ่งผู้พัฒนาสามารถนามาปรับแก้ เป็นของตนเอง
ติดตังไว้ใช้เป็นบล็อกส่วนตัว หรือเผยแพร่ให้คนอื่นมาใช้งานได้ ส่วนซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์นั้น จะมีทั้งในรูปแบบ
       ้
ที่ให้ใช้งานแบบเสียค่าใช้จ่ายหรือให้ใช้งานฟรี




                                                                                                 หน้า 2
บล็อกซอฟต์แวร์ที่เป็นที่รู้จัก
        รายชื่อบล็อกซอฟต์แวร์ที่เป็นที่นิยมพร้อมทั้งชื่อซอฟต์แวร์ที่ใช้พัฒนาในวงเล็บ
       ดรูปาล (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)
       เวิร์ดเพรสส์ (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)
       สแลช (เพิร์ล)
       ไลฟ์ไทป์ (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)
       จุมล่า (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)
       แมมโบ้ (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)

รายชื่อผู้ให้บริการบล็อกที่มีชื่อเสียง
       บล็อกเกอร์ (กูเกิล)
       ไทป์แพด
       เวิร์ดเพรสส์
       ยาฮู! 360° หรือ ยาฮู!เดย์ (ยาฮู!)
       วินโดวส์ไลฟ์ สเปซเซส (ไมโครซอฟท์)
       มายสเปซ
       มัลติไพล
ผู้ให้บริการบล็อกในประเทศไทยที่เป็นที่รู้จัก
       Blognone บล็อกสาหรับเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับเทคโนโลยีและข่าวไอทีอย่างเดียว
       เอ็กซ์ทีน
       GotoKnow
       Bloggoo
       learners.in.th
       บล็อกแก๊ง
       โอเคเนชั่น

        นอกจากนี้ทางเว็บที่นิยมของไทยอย่าง สนุก.คอม, กระปุก.คอม หรือผู้จัดการออนไลน์ ก็ได้มีการ
เปิดให้บริการบล็อก



                                                                                           หน้า 3
บทที่ 1 การสร้างเว็บบล็อก

           หลายคนอาจสงสัยว่าตอนนี้จะทาเว็บบล็อกไปเพื่ออะไร? แล้วจะเสียเงินไหม หากจะทาขึ้นมา
จริงๆ แล้วประโยชน์ของเว็บบล็อกนั้นมีมากกว่าที่เราคิดไว้ครับ เช่น ใช้ในการทางาน ในการนาเสนอผลงาน
การขายสินค้า ใช้ในการเรียนการสอน หรือ ใช้ในการเขียนชีวประวัติส่วนตัวแล้วเก็บไว้เป็นฐานข้อมูลแบบ
ออนไลน์ก็ยังได้ครับ ส่วนปัญหาที่บางท่านไม่รู้จัก code ของภาษาต่างๆ เช่น HTML หรือ Java script ฯ ก็
ไม่ต้องเป็นกังวลครับ เพราะตัวผมเองก็ไม่เป็นเหมือนกันแต่ก็ค่อยๆ เรียนรู้กันไป เพียงแค่ไม่กี่วันคุณก็จะมี
บล็อกสวยๆ และนาไปใช้ประโยชน์ได้แน่นอนครับ
           เว็บบล็อกไม่จาเป็นต้องมีเงินในการทาครับ เพราะมีผู้ให้บริการฟรี และผมจะขอเสนอผู้ให้บริการ
บล็อกที่ชื่อว่า บล็อกเกอร์ ซึ่งเป็นของ Google ซึ่งผมก็จัดทาอยู่ มีอยู่ 2 เว็บด้วยกัน คือ




                                                                      www.lovelyfools.blogspot.com
                                                                       อันนี้เป็นเว็บบล็อกส่วนตัวครับ




                                                                      www.nongpoto.blogspot.com
                                                                      อันนี้เป็นเว็บบล็อกของลูกชายครับ




                                                                                                 หน้า 4
วิธีสร้างบล็อกกับ Blogger
          ขั้นที่ 1 การสมัครใช้งาน Blogger สามารถใช้ email ของระบบใดก็ได้ แต่ในระยะยาวแล้วการ
เชื่อมโยงกับบริการหลายๆ อย่างของ Google ควรจะใช้ email ของ Gmail ดีที่สุดครับ

1. ให้คุณเข้าไปที่ www.gmial.com เพื่อสร้างบัญชีผู้ใช้กับ Google




2. กรอกข้อมูลที่จาเป็นในการสมัคร Gmail




จากนั้นคลิกปุ่ม ฉันยอมรับ โปรดสร้างบัญชีของฉัน


                                                                                         หน้า 5
3. จะพบหน้าจอการยืนยันบัญชีของเรา ซึ่งต้องใส่เบอร์โทรศัพท์ (Google จะส่ง massage มาให้) จากนั้น




4. คลิกปุ่ม ส่งรหัสยืนยันไปยังโทรศัพท์มือถือของฉัน

5. เมื่อเปิดดูข้อความในโทรศัพท์มือถือแล้ว ก็ให้ป้อนรหัสที่ได้ จากนั้นคลิกปุ่ม ยืนยัน




6. คุณจะพบกับหน้าจอแสดงความยินดีเกี่ยวกับบัญชีของ Gmail




                                                                                         หน้า 6
7. คลิกที่ปุ่ม                            เพื่อดู Gmail ของเราครั้งแรก




       ขั้นที่ 2 หลังจากได้บัญชีผู้ใช้แล้ว ให้ไปที่ www.blogger.com เพื่อสร้างบล็อกกันเลยครับ
โดยในการสร้างบล็อกนั้น ก็ให้ใช้ บัญชีผู้ใช้ (user name + password) ที่ได้สร้างไว้ในขั้นที่ 1

1. ไปที่เว็บไซต์ http://www.blogger.com ดังรูป




2. คลิกที่ปุ่ม                                   เพื่อเริ่มต้นการสร้างบล็อก ดังรูป




                                                                                                หน้า 7
3. ให้กรอก email ที่ได้จากขั้นที่ 1 ชื่อผู้เขียนบล็อก วันเกิด




4. เมื่อกรอกข้อมูลครบแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม                           จะพบหน้าจอ ตั้งชื่อเว็บบล็อกของ
   คุณ ให้ทาการ ตั้งชื่อเว็บบล็อกที่เราต้องการ, ที่อยู่บล็อก และ กรอกรหัสยืนยัน (แต่การกาหนด URL



                                                                                              หน้า 8
จะต้องไม่ให้ซ้ากับคนอื่น ๆ ถ้าซ้าก็ใช้วิธีเปลี่ยนเป็นคาหรือวลีที่ใกล้เคียงไปเรื่อย ๆ การตั้งชื่อและ URL
    ของบล็อกควรมี keyword ที่สัมพันธ์กับเรื่องที่จะเขียนด้วย)




5. คลิกที่ปุ่ม                            จะพบหน้าจอ เลือกแม่แบบเริ่มต้น ดังรูป




                                                                                                     หน้า 9
6. ให้เลือกแม่แบบเริ่มต้นที่เราต้องการให้เป็นรูปแบบของบล็อก จากนั้นคลิกปุ่ม
   จะปรากฏหน้าจอแจ้งว่า บล็อกของคุณถูกสร้างขึ้นแล้ว ดังรูป




7. คลิกที่ปุ่ม                                         เพื่อกรอกข้อมูลครั้งแรกในการสร้างเว็บบล็อก
   ซึ่งจะต้องกรอกข้อมูลในหน้าเว็บ ดังรูป




                                                                                           หน้า 10
8. เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม                         จะปรากฏหน้าจอ ดังรูป




9. ให้คลิกที่ปุ่ม                         เพื่อดูเว็บบล็อกของเรา เป็นครั้งแรก จะพบหน้าจอ ดังรูป




                                                                                         หน้า 11
บทที่ 2 วิธีเปลี่ยน Template ของ Blogger

         หลังจากบทแรกได้เสนอขั้นตอนในการสร้างบล็อกไปแล้ว ถึงตรงนี้คุณต้องคิดแล้วว่าจุดประสงค์
ของการทาบล็อกของคุณคืออะไร เพราะจุดประสงค์นี่แหละครับจะเป็นตัวกาหนดว่าเราจะเลือก แม่แบบ
(หน้าตา และองค์ประกอบ) ของบล็อกอย่างไร
         ต่อไปเราจะมาดูวิธีการเลือก และการเปลี่ยน Template กันครับ




         ขั้นที่ 1 ให้คุณไปเลือก template ได้ที่
                     http://btemplates.com
                     http://www.bloggertemplateplace.com
                     http://themecraft.net
                     http://www.deluxetemplates.net
                     http://www.bloggerthemes.net
                     http://www.bloggerstyles.com
                     http://www.anshuldudeja.com
                     http://www.bloggertemplatesfree.com
                     http://www.bloggertemplatesblog.com
                     http://www.templatesblock.com
                     http://blogger-templates.blogspot.com
                     http://freetemplates.blogspot.com

                                                                                        หน้า 12
    http://mashable.com/2007/09/13/blogger-templates
                    http://www.webtemplatesblog.com
                    http://www.ezwpthemes.com
                    http://www.freebloggertemplate.info
                    http://www.blogcrowds.com/resources/blogger-templates
                    http://www.zoomtemplate.com
                    http://www.templates-blogger.com
                    http://www.bloggerblogtemplates.com
                    http://bloggertemplateplace.com
                    http://www.templatesblogger.net
                    http://www.bietemplates.com

      หรือจะใช้คาค้น “Template+blog” ใน Google ก็ได้ครับ ผมเชื่อว่าขั้นตอนนี้คุณคงจะใช้เวลานาน
พอสมควรเลยล่ะครับ (ผมเองก็ใช้เวลาเป็นวันๆ ในการเลือก templates ทีเดียวครับ )

       ขั้นที่ 2 เมื่อคุณได้ Template ที่ต้องการแล้ว ให้เริ่มเปลี่ยนดังนี้
       ในที่นี้ ผมเลือกเว็บไซต์ http://www.bloggerblogtemplates.com/ เพื่อเป็นต้นแบบในการใช้
Template




                                                                                          หน้า 13
ผมเลือก Template นี้




1. โดยการคลิกที่ Read More or Download this Blogger Template จากนั้นจะพบ
   หน้าต่างใหม่ ให้เลื่อนหาเมนู Download the Green Day Blogger Theme และทาการ
   คลิกเพื่อดาวน์โหลด จะได้                                      ให้ทาการ แตกไฟล์จากนั้นให้
   นา green-day-blogger-theme.xml ไปวางไว้ที่ Desktop
2. Log in ที่ blogger ไปที่แผงควบคุม >> รูปแบบ >> แก้ไข HTML >> คลิกปุ่ม Browse เพื่อที่จะ
   อัปโหลดแม่แบบขึ้นมา




                                                                                     หน้า 14
3. เรียกไฟล์ .XML ที่เตรียมไว้ตามขั้นตอนในรูปครับ




4. อัปโหลดแม่แบบขึ้นไปแทนที่แม่แบบเดิม โดยระหว่างการแทนที่ อาจมีการถามถึงการลบ/เก็บ Widget
   ของแม่แบบเดิม ซึ่งถ้าต้องการเก็บของเก่าเอาไว้ก็เลือก เก็บ Widget ก็จะทาให้ Widget ของแม่แบบ
   เดิม ไม่ถูกลบขณะเปลี่ยน Templates




                                                                                       หน้า 15
5. จากนั้นลองแสดงตัวอย่างดู ซึ่งถ้าพอใจกับแม่แบบแล้วก็ให้ทาการบันทึก ก็จบขั้นตอนการเปลี่ยน
   แม่แบบแล้วครับ และถ้าหากคุณต้องการเปลี่ยนแม่แบบอีกก็สามารถเปลี่ยนได้แบบไม่จากัดครั้ง




                         นี่คือผลงาน หลังจากเปลี่ยนแม่แบบ นี้ครับ
                                   ก่อนเปลี่ยน Template




                                  หลังเปลี่ยน Template




                                                                                        หน้า 16
เครื่องมือสาหรับ “ออกแบบแม่แบบ” ด้วยตนเอง ใหม่! จาก Blogger




          หลังจากทีมงาน Blogger ได้สร้าง Gadget หน้าเว็บ ออกมาได้ไม่นาน ตอนนี้ก็ได้พัฒนาการ
เครื่องมือสาหรับการออกแบบแม่แบบของ blogger ให้ยืดหยุ่นมากขึ้น โดยให้ผู้ใช้สามารถปรับแต่งแม่แบบ
ได้ด้วยตนเอง ไม่ว่าจะเป็นการเลือก Theme การออกแบบโครงร่างของหน้าว่าจะมี 2 หรือ 3 คอลัมน์ หรือ
หลายคอลัมน์ ซึ่งทาได้โดยการคลิกเพียงไม่กี่ครั้ง การปรับความกว้างของ Template และ sidebar เพียง
แค่คลิกเดียวเป็นต้น ความสามารถทั้งหลายนี้ผู้ใช้สามารถทาได้โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง HTML และ CSS
เลยสาหรับการใช้งานเครื่องมือนี้ก็คล้ายคลึงกับการใช้งานเครื่องมือเดิม ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งผมจะอธิ บายทีละส่วน
ดังนี้
          การใช้ เครื่องมือออกแบบแม่แบบ ทาได้โดย Log in เข้าไปที่ draft.blogger และไปที่ แผงควบคุม >>
การออกแบบ >> องค์ประกอบของหน้า >> คลิกที่ “เครื่องมือออกแบบแม่แบบ ใหม่!”




         เมื่อคลิกที่ “เครื่องมือออกแบบแม่แบบ” แล้วเราจะพบเครื่องมือสาหรับออกแบบแม่แบบอยู่ 4
อย่างด้วยกัน ได้แก่ 1. แม่แบบ 2. พื้นหลัง 3. รูปแบบ และ 4. ขั้นสูง




                           ส่วนแสดงตัวอย่าง

                                                                                                หน้า 17
1. การใช้งานเครื่องมือแม่แบบ ทาได้โดย คลิกที่ข้อความ แม่แบบ >> จากนั้นเลือกรูปแบบที่ต้องการ >>
   และเลือก theme ที่ต้องการ เมื่อแสดงตัวอย่างเป็นที่น่าพอใจแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม “ใช้กับบล็อก” เพื่อ
   ยืนยัน




                      ส่วนแสดงตัวอย่าง

2. การใช้งานเมนูพื้นหลัง การใช้งานเครื่องมือ “พื้นหลัง” สามารถใช้เพื่อเปลี่ยนภาพพื้นหลังของบล็อก
   และเลือกสี Theme ของบล็อกได้ตามความต้องการได้ด้วย




            2.1 วิธีเปลี่ยนภาพพื้นหลังทาได้โดย คลิกที่ “ภาพพื้นหลัง” และเลือกถาพตามต้องการ และ
   กดปุ่ม “ใช้กับบล็อก” เพื่อยืนยัน




                                                                                           หน้า 18
2.2 การเลือกสี Theme ของบล็อก คลิกที่สี Theme ที่ต้องการโดย อาจจะคลิกเลือกจาก
Theme สาเร็จรูปหรือเลือกจาก Theme ที่แนะนา




                                                                                  หน้า 19
3. การใช้งานเครื่องมือ “รูปแบบ” : คุณสามารถใช้เครื่องมือนี้เพื่อกาหนดจานวน คอลัมน์ รูปแบบ
   คอลัมน์ ความกว้างของคอลัมน์ รวมถึงการกาหนดคอลัมน์ให้กับส่วนท้ายของหน้าได้ด้วย




             3.1 การใช้งานเครื่องมือ “การออกแบบเนื้อความ” : เครื่องมือนี้ใช้กาหนดรูปแบบคอลัมน์ของ
   template ของคุณ ซึ่งทาได้ง่ายดายโดยการคลิกเลือกรูปแบบที่ต้องการ ดูตัวอย่าง เมื่อเป็นที่พอใจแล้ว
   ก็กดปุ่ม “ใช้กับบล็อก” เพื่อยืนยัน




         3.2 การใช้งานเครื่องมือ “การออกแบบส่วนท้าย” : เครื่องมือนี้เป็นเครื่องมือสาหรับการ
   กาหนดคอลัมน์ให้กับส่วนท้ายของหน้าบล็อก ซึ่งทาได้เช่นเดียวกับ 3.1




                                                                                           หน้า 20
3.3 การใช้งานเครื่องมือ “การปรับความกว้าง” : คุณสามารถปรับความกว้างของแม่แบบ
         และ sidebar จากเครื่องมือนี้เพียงแค่เลื่อน slider ให้ตรงกับค่าตัวเลขที่ต้องการเท่านั้น




     4. สาหรับเมนูขั้นสูงเป็นการกาหนดรายละเอียดต่างๆ ให้กับบล็อก เช่น รูปแบบของลิงค์ gadget ต่างๆ
        หัวเรื่อง ชื่อของบล็อก เป็นต้น ซึ่งคุณสามารถปรับแต่งตามความต้องการแล้ว แสดงตัวอย่าง หาก
        เป็นที่พอใจก็บันทึกเช่นเดียวกับ ข้อ 1-3 ที่ได้กล่าวมาแล้ว




*** ปล. อย่าลืมนะครับว่าเครื่องมือเหล่านี้จะไม่มีใน blogger.com แต่ จะมีใน draft.blogger.com เท่านั้น




                                                                                                   หน้า 21
บทที่ 3 วิธีเขียนและจัดการบทความในบล็อก

                                                  บทนี้ผมจึงจะเล่าถึงวิธีเขียนบทความใน Blogger
                                        เพื่อเป็นแนวทางให้คุณสามารถเขียนบทความลงในบล็อก
                                        ของคุณได้สวยงามและเป็นมืออาชีพมากขึ้น
                                                  สาหรับท่านที่เขียนบทความเป็นอยู่แล้วอาจจะข้าม
                                        ไปอ่านบทความอื่น ๆ ต่อไปได้เลยครับ ส่วนท่านที่เป็นมือใหม่
                                        จริง ๆ ก็ควรจะอ่านบทความนี้ให้จบเพื่อเป็นแนวทางในการ
เขียนบทความของคุณเองต่อไป

    1. การเข้าไปเขียนบทความ
       การเข้าไปเขียนบทความบน Blogger โดยตรงสามารถเข้าไปได้ 2 ช่องทางด้วยกันคือ
       1.1 ถ้าคุณใช้แม่แบบที่ไม่ได้ซ่อนแถบนาทางสามารถเข้าไปเขียนบทความได้โดยคลิกที่เมนู
บทความใหม่




        1.2 เข้าไปเขียนบทความผ่าน draft.blogger.com




                                                                                         หน้า 22
โปรดสังเกตว่าเครื่องมือในการเขียนบทความของ Draft.blogger จะมีมากกว่าเครื่องมือของ
blogger ปกติ ดังนั้นโดยส่วนตัวผมแนะนาให้เขียนบทความผ่าน draft.blogger.com เพราะมีเครื่องมือ
มากกว่าวิธีแรก และควรตั้งค่าให้ draft.blogger เป็นเครื่องมือเริ่มต้น




     2. องค์ประกอบของเครื่องมือเขียนบทความ




              ก่อนอื่นผมขอแนะนาให้รู้จักเครื่องมือที่จาเป็นในการเขียนบทความดังนี้
              ส่วนที่ 1 คือส่วนตั้งชื่อเรื่องหรือชื่อบทความ
              ส่วนที่ 2 เป็นส่วนที่ใช้สาหรับกรณีที่เราต้องการวางข้อความที่คัดลอกมาจาก Ms word
หรือโค้ดวีดีโอจาก Youtube หรือโค้ด HTML/จาวาสคริปต์ที่ต้องการให้ปรากฏและแสดงผลในบทความ



                                                                                         หน้า 23
ส่วนที่ 3 เป็นแถบที่เลือกเมื่อต้องการเขียนข้อความปกติซึ่งจะมีเครื่องมือในการเขียน
บทความตามที่เห็นในภาพข้างบน
                ส่วนที่ 4 สาหรับจัดรูปแบบอักษร
                ส่วนที่ 5 เป็นเครื่องมือในการใส่ลิงค์ให้ข้อความ แทรกภาพลงในบทความ และแทรกวีดีโอ
ลงในบทความตามลาดับ
                ส่วนที่ 6 รูปกระดาษขาดที่เห็นนั้นใช้ในกรณีที่คุณต้องการแสดงบทความให้ผู้อ่านเห็นในหน้า
หลักเพียงบางส่วนเท่านั้น และถ้าใช้เครื่องมือนี้ผู้อ่านจะต้องคลิกอ่านเพิ่มเติมจึงจะเห็นข้อความแบบเต็ม
เครื่องมือนี้มีข้อดีคือทาให้บทความที่มีความยาวมาก ๆ สั้นลงได้ และทาให้เปิดหน้าแรกได้เร็วขึ้นด้วย
                ส่วนที่ 7 เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดเรียงข้อความ และจัดแนวรูปภาพได้ด้วย เช่น จัดชิดซ้าย
ชิดขวา กึ่งกลาง เป็นต้น
                ส่วนที่ 8 ได้แก่การใส่ การเน้นข้อความ การลบรูปแบบ การตรวจสอบการสะกดคา และการ
แปลภาษา
                ส่วนที่ 9 เป็นส่วนที่ใช้ในการวางกาหนดเวลาล่างหน้า ว่าจะให้บทความที่เขียนเผยแพร่ใน
วันใด




             ส่วนที่ 10 เป็นการใส่ป้ายกากับ ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้ระบุว่าบทความที่เขียนนี้อยู่ในหมวดหมู่ใด
ซึ่งสามารถใส่ได้มากกว่า 1 ป้ายกากับโดยคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค และสามารถเลือกป้ ายกากับที่คุณ
เคยใส่ให้บทความอื่นไปแล้วมาใส่อีกได้ เพื่อทาให้บทความนั้น ๆ อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน




             ส่วนที่ 11 เป็นการเลือกว่าจะบันทึกไว้ก่อน หรือจะเผยแพร่ มีประโยชน์ในกรณีที่บทความที่
เขียนใช้เวลาเขียนนานมากก็อาจจะบันทึกเอาไว้ก่อนแล้วมาเขียนต่อในภายหลังได้

                                                                                                หน้า 24
เทคนิคการเขียนบทความที่ควรรู้
         ในกรณีที่เรามีไฟล์เอกสารจาก MS word แล้วคัดลอกมาวางเพื่อทาให้เขียนบทความได้เร็วขึ้น
บางครั้งพบปัญหาข้อผิดพลาดของฟอร์ม (ฟอร์มใน MS word ไม่สามารถแปลงเป็น HTML Code ได้)



          ปัญหานี้แก้ได้โดยก่อนวางข้อความให้คลิกที่แถบ แก้ไข HTML แล้วจึงวางข้อความที่คัดลอกมา
จากนั้นจึงคลิกที่แถบ เขียน เพื่อจัดรูปแบบของบทความต่อไป




เทคนิคนี้ยังสามารถใช้กับการวางโค้ดวีดีโอ หรือข้อความที่คัดลอกมาจากเว็บไซต์ได้ด้วยครับ




                                                                                         หน้า 25
บทที่ 4 การตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ให้กับบล็อก

          บทนี้ผมจะขอแนะนาการตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ของบล็อกเพื่อให้เข้าใจการตั้งค่าในส่วนต่าง ๆ ของ
Blogger และจะทาให้คุณสามารถตั้งค่าต่าง ๆ ตามความต้องการของตนเองได้ อีกทั้งจะเป็นประโยชน์ใน
การพัฒนาการทา Blogger ในระยะยาวด้วย
          การตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ของบล็อกทาได้โดย Log in เข้าไปที่ blogger เมื่อมาที่หน้า แผงควบคุม
ให้ Click ที่ การตั้งค่า




                                  และท่านจะเข้ามาที่เมนูการตั้งค่าของบล็อก




         ผมจะแบ่งการตั้งค่าออกเป็น 9 ส่วนดังนี้
            1. ขั้นต้น




                คุณสามารถดาวน์โหลด Blog เพื่อเก็บเป็น Backup ข้อมูลบทความและ comment ของ
บล็อกได้โดยเลือก ส่งออกบล็อก แต่ถ้าคุณมีข้อมูลบล็อกเดิมอยู่แล้วอยากจะนามาใช้กับบล็อกใหม่ที่สร้าง
ขึ้น ก็ให้เลือก นาเข้าบล็อก แต่ถ้าคิดว่าไม่ต้องการใช้บล็อกนี้แล้วก็สามารถลบทิ้งได้โดยเลือก ลบบล็อก




                                                                                              หน้า 26
Title และคาอธิบายของบล็อก ควรใส่ให้เข้าใจภาพรวมของบล็อกและมี keyword ในการทา
บล็อกแทรกอยู่ใน Description ด้วย




          ในส่วนการตั้งค่าอื่น ๆ ควรตั้งค่าดังนี้

                       องค์ประกอบ                                 ตั้งค่าเป็น
  เพิ่มบล็อกของคุณในรายการของเราหรือไม่                                ใช่
  อนุญาตให้เครื่องมือค้นหาพบบล็อกของคุณหรือไม่                         ใช่
  แสดงการแก้ไขอย่างรวดเร็วบนบล็อกของคุณหรือไม่                         ใช่
  มีเนื้อหาสาหรับผู้ใหญ่หรือไม่                                        ไม่
  เลือกโปรแกรมแก้ไขบทความ                                    โปรแกรมแก้ไขที่อัปเดต

          2. การเผยแพร่
          ในการตั้งค่าส่วนนี้สามารถเปลี่ยน URL ของบล็อกได้




                                                                                     หน้า 27
ถ้าคุณต้องการเปลี่ยนโดเมนของบล็อกจาก .blogspot.com เป็นโดเมนอื่นก็สามารถตั้งค่าได้ตรงส่วนนี้ แต่
จะต้องเสียค่าใช้จ่ายการจดโดเมนผ่าน google ปีละ 10 US (ประมาณ 300 กว่าบาทต่อปี)




             3. การจัดรูปแบบ
             ในส่วนนี้เป็นการตั้งค่าการเผยแพร่บทความ เช่น จานวนบทความในหน้าแรก รูปแบบเวลา
และวันที่เป็นต้น




        คุณควรจะตั้งค่าต่าง ๆ ดังนี้
                       องค์ประกอบ                           ตั้งค่าเป็น
          แสดงสูงสุด                                         เท่าไรก็ได้
          รูปแบบส่วนหัวของวันที่                        ตั้งได้ตามใจชอบ
          รูปแบบวันที่ของดัชนีคลังบทความ                ตั้งได้ตามใจชอบ
          รูปแบบเวลา                                    ตั้งได้ตามใจชอบ
          โซนเวลา                                     (GMT+07:00)กรุงเทพ
          ภาษา                                                  ไทย
          แปลงการขึ้นบรรทัดใหม่                                  ไม่
          แสดงฟิลด์ชื่อเรื่อง                                    ใช่
          แสดงฟิลด์ของลิงก์                                      ไม่
          เปิดใช้การจัดเรียงแบบลอย                               ใช่
          แม่แบบบทความ                                   ยังไม่ต้องตั้งค่า

                                                                                         หน้า 28
4. เมนูข้อคิดเห็น
       เป็นเมนูสาหรับตั้งค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับการแสดงความคิดเห็นของบล็อก




    คุณควรจะตั้งค่าต่าง ๆ ดังนี้
                 องค์ประกอบ                                    ตั้งค่าเป็น
ข้อคิดเห็น                                                         แสดง
ใครสามารถแสดงความคิดเห็น                                ผู้ใช้ที่มีบัญชี Google
การจัดวางฟอร์มความคิดเห็น                                  วางไว้ใต้บทความ
ความคิดเห็นเริ่มต้นสาหรับบทความ                      บทความใหม่มีความคิดเห็น
ลิงก์ย้อนกลับ                                                       ซ่อน
ค่าเริ่มต้นของลิงก์ย้อนกลับสาหรับบทความ              บทความใหม่มีลิงก์ย้อนกลับ
รูปแบบเวลาในส่วนความคิดเห็น                                   ตั้งค่าตามใจ
ข้อความของฟอร์มความคิดเห็น                              ไม่ต้องใส่ค่าใด ๆ ก็ได้
การจัดการความคิดเห็น                                                 ไม่
แสดงการตรวจสอบคาสาหรับความคิดเห็นหรือไม่                             ไม่
แสดงรูปภาพโปรไฟล์บนความคิดเห็นหรือไม่                                ใช่
อีเมลสาหรับแจ้งเตือนเมื่อมีความคิดเห็นใหม่            กรอก email ของคุณลงไป

       5. เก็บเข้าคลังบทความ
       ตั้งให้เป็นรายเดือนจะดีที่สุด




                                                                                  หน้า 29
6. ฟีดของไซต์
          ถ้าบทความในบล็อกไม่มากนัก ตั้งค่าเป็น แบบเต็ม แต่ถ้าบทความมีประมาณ 100 ขึ้นไปควร
จะตั้งเป็น แบบสั้น




         7. อีเมลและมือถือ
          ในส่วนนี้เป็นการตั้งค่า อีเมลเพื่อให้ระบบส่งบล็อกของคุณทุกครั้งที่มีการเผยแพร่ และเป็น
การตั้งค่า การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ในการเขียนบล็อก ตรงนี้ผมยังไม่เคยลองเหมือนกัน

         8. OpenID




       คุณสามารถใช้ OpenID URL เพื่อเข้าสู่ไซต์อื่นๆ ที่ใช้งาน OpenID นอกจากนี้คุณยังสามารถ
กาหนดให้ผู้ใช้ OpenID สามารถแสดงความคิดเห็นในบล็อกของคุณ โดยปรับการตั้งค่า ความคิดเห็น
ของคุณ

         9. สิทธิ




ในส่วนนี้คุณสามารถใช้ในการเปลี่ยนผู้เขียนบล็อก และเพิ่มผู้ดูแลระบบได้ถึง 100 ราย

                                                                                            หน้า 30
นอกจากนี้คุณยังจากัดคนเข้าชมบล็อกได้ด้วย โดยการระบุ Email ของผู้ที่ต้องการลงไป




                                                                                 หน้า 31
บทที่ 5 รู้จักและใช้งาน Gadget ชนิดต่างๆ บน Blogger

         เมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับ การตั้งค่าต่าง ๆ ของบล็อก การเปลี่ยน Templates ให้กับบล็อกไปแล้ว ส่วนที่
เหลือคือ การจัดรูปแบบองค์ประกอบหน้าให้กับบล็อก รวมถึงการใช้งาน Gadget หลักชนิดต่างๆ ของ
Blogger
          Gadget คืออะไร?




           Gadget ใน Blogger นั้นหมายถึงส่วนเสริมที่เราสามารถติดตั้งเพิ่มลงไปในแม่แบบของ Blogger
ซึ่งบางครั้งก็ถูกเรียกว่า widget ซึ่งก็หมายถึงสิ่งเดียวกันกับ Gadget

          วิธีเพิม Gadget
                 ่
ก่อนอื่นให้ Login เข้าไปที่ blogger หรือ draft.blogger >> จากแผงควบคุมให้เลือก การออกแบบ




                                                                                                 หน้า 32
จากนั้นใน Layout ของแม่แบบคุณจะเห็นพื้นที่ ดังรูปด้านล่างเพื่อให้เพิ่ม Gadget




และเมื่อคลิก เพิ่ม Gadget ก็จะปรากฏ Gadget พื้นฐาน 21 อย่างที่จะกล่าวถึงในหัวข้อนี้




นอกจากนี้ยังมี Gadget อีกมากมายซึ่งคุณสามารถเลือกได้จากเมนูแกดเจ็ดเพิ่มเติมทางซ้ายมือ




เมื่อเลือก Gadget ที่ต้องการแล้ว คลิกที่ปุ่ม + เพื่อทาการเพิ่ม Gadget นั้น ใส่ชื่อ Gadget และตั้งค่าที่
ต้องการแล้วบันทึก




รูปที่เห็นข้างบนเป็น Gadget ผู้ติดตาม สาหรับ Gadget อื่น ๆ ก็ทาได้ในทานองเดียวกัน
                                                                                                   หน้า 33
รู้จักกับ Gadget พื้นฐาน 21 อย่างของ Blogger

     1. Gadget หน้าเว็บ




     หลักการของ Gadget ชนิดนี้คือคุณจะต้องสร้างหน้าเว็บขึ้นมาก่อน แล้วใช้ Gadget นี้เป็นเมนูในการ
     เชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บ

     2. Gadget ผู้ติดตาม




      Gadget ชนิดนี้ใช้เพื่อให้ผู้อ่านที่ชื่นชอบบล็อกของคุณได้ติดตาม และเมื่อติดตามแล้วความเคลื่อนไหว
และการ update บทความของจะไปปรากฏแผงควบคุมของผู้ติดตามโดยอัตโนมัติ และมีสิทธิในการแสดงความ
คิดเห็นบนบล็อกของคุณได้ (กรณีที่คุณอนุญาตเฉพาะสมาชิก)

     3. Gadget ช่องค้นหา




เป็น Gadget ที่ติดตั้งเพื่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหาสิ่งที่ต้องการในบล็อกของคุณได้ง่ายขึ้น




                                                                                               หน้า 34
4. Gadget HTML/จาวาสคริปต์




Gadget ชนิดนี้เป็น Gadget ที่ยืดหยุ่นที่สุดในบรรดา Gadget ทั้งหมด สามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย
เหมาะสาหรับใช้ติดตั้งโค้ดต่าง ๆ ลงบน Blogger เช่น โค้ดปฏิทิน นาฬิกา โค้ดจาวาสคริปต์ โค้ดรูปภาพ
โค้ดวีดีโอ โค้ดของลิงค์ เป็นต้น

5. Gadget ข้อความ




เป็น Gadget ที่เหมาะสาหรับเขียนข้อความ เช่น ข้อความต้อนรับ เป็นต้น

6. Gadget Adsense




คุณจะใช้ Gadget ชนิดนี้ได้เมื่อสมัครเข้าร่วมโปรแกรมหรือเป็นตัวแทนในการเผยแพร่โฆษณาบน Google

7. Gadget รูปภาพ




ถ้าคุณต้องการแสดงรูปภาพบนบล็อกอย่างเดียวก็ให้เลือกใช้ Gadget นี้ครับ




                                                                                        หน้า 35
8. Gadget สไลด์โชว์




Gadget นี้เป็นการดึง Albums จาก Picasaweb มาแสดงในรูปแบบสไลด์โชว์บนบล็อกของ

9. Gadget แถบวีดีโอ




Gadget นี้จะทาให้ผู้ใช้ค้นหาวีดีโอบน Youtube จากบล็อกของคุณได้

10. Gadget แบบสารวจ




Gadget นี้ถือเป็น Gadget หนึ่งที่น่าสนใจมาก แต่ยังมีผู้ใช้จานวนน้อย โดยคุณอาจจะใช้สารวจความ
ต้องการ หรือความคิดเห็นของผู้อ่านต่อบล็อกของคุณ หรือสารวจเกี่ยวกับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบน
บล็อกของคุณก็ได้

11. Gadget รายการบล็อก




Gadget ชนิดนี้เป็น Gadget ที่สามารถรวบรวมข่าวสารล่าสุดจากบล็อกที่คุณเลือกหรือบล็อกที่คุณติดตาม
พร้อมทั้งสามารถแสดงเนื้อหาแบบย่อได้ด้วย



                                                                                             หน้า 36
12. Gadget รายชื่อลิงค์




เป็น Gadget ที่ใช้สร้างลิงค์ไปยังที่ต่าง ๆ โดยคุณสามารถป้อน URL บน Gadget ชนิดนี้เพื่อสร้าง Link
โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง HTML มาก่อนเลย

13. Gadget รายการ




เป็น Gadget ที่คล้ายคลึงกับ Gadget รายชื่อลิงค์ แต่มีความยืดหยุ่นกว่า สามารถสร้างข้อความรายการ
และใส่ link ให้ข้อความได้ด้วย

14. Gadget ฟีด




คุณสามารถใช้ Gadget นี้ดึงข่าวสารจากในบล็อกของคุณ หรือบล็อกอื่นที่คุณสนใจเอามาแสดงเพียงแค่ใส่
ชื่อบล็อกที่ต้องการลงไปลงไปใน gadget

15. Gadget Newsreel




เป็น gadget ที่ทาให้พาดหัวข่าวจาก Google มาปรากฏบนบล็อกของคุณเท่านั้น




                                                                                            หน้า 37
16. Gadget ป้ายกากับ




Gadget นี้มีความสาคัญ คุณควรจะติดตั้ง เพื่อให้บทความที่เขียนเป็นหมวดหมู่ ให้ผู้อ่านเห็นชัดเจนเลือก
อ่านได้ตรงความต้องการมากขึ้น

17. Gadget ลิงค์การสมัคร




Gadget นี้มีความสาคัญในเรื่องการส่งข่าวสารข้อมูลจากบล็อกของคุณไปยังผู้อ่าน ผู้อ่านจะสามารถสมัคร
รับบทความทาง email หรือผ่านช่องทางอื่น ๆ ได้จาก Gadget นี้

18. Gadget โลโก้




Gadget นี้ไม่สาคัญนักเป็นเพียงติดตั้ง logo ของ blogger ในหน้าบล็อกเท่านั้น

19. Gadget โปรไฟล์




Gadget นี้จะแสดงข้อมูลอย่างของคุณที่ได้กรอกเอาไว้บนบัญชีของ Blogger ถ้าคุณต้องการแสดงข้อมูล
ของคุณบน Blog ก็ควรจะติดตั้ง Gadget นี้ครับ




                                                                                            หน้า 38
20. Gadget คลังบทความของบล็อก




Gadget นี้จะทาให้ผู้อ่านเห็นบทความทั้งหมดภายในบล็อกของคุณได้

21. Gadget ส่วนหัวของหน้า




Gadget นี้เป็นส่วนที่ใส่ Title และ Description ของ Blog โดยปกติแล้ว Template ทั่วไปก็จะติดตั้งส่วนนี้
อยู่แล้ว

        คุณสามารถทดลองใช้ Gadget เหล่านี้ได้โดยไม่ต้องกลัวความผิดพลาดเพราะ Gadget บน
Blogger นั้นสามารถลบออกได้อย่างง่ายดายโดยวิธีการจัดการกับ Gadget




                                                                                               หน้า 39
บทที่ 6 การจัดการกับ Gadget ในหน้าบล็อก

        ในบทที่ผ่านมาเราได้ รู้จักและใช้งาน Gadget ชนิดต่าง ๆ บน Blogger ผมได้กล่าวถึงวิธีการเพิ่ม
Gadget ให้กับบล็อก แต่ยังไม่ได้กล่าวถึงการลบ Gadget ออกจากองค์ประกอบของหน้า และนอกจากนี้
ตาแหน่งของ Gadget ยังสามารถเคลื่อนย้ายตาแหน่งได้อีกด้วย




การลบ Gadget
       วิธีที่ 1 ถ้าในขณะที่เรา log in และเปิดหน้าบล็อกของเราขึ้นมา ก็จะสังเกตเห็นว่ามีเครื่องมือ
ปรากฏอยู่ตามที่ต่างๆ ในองค์ประกอบของหน้า




และถ้าเราคลิกเข้าไปก็จะสามารถแก้ไข หรือ ลบองค์ประกอบเหล่านั้นออกไปได้เลยครับ




                                                                                               หน้า 40
วิธีที่ 2 เราสามารถเข้าไปลบ Gadget ได้ที่ แผงควบคุม >> การออกแบบ >> องค์ประกอบของ
หน้า >> เลือกแก้ไข Gadget ที่ต้องการลบ

        จากนั้นเลือกลบได้เช่นเดียวกับกรณีแรก




 การย้ายตาแหน่ง Gadget
        สาหรับการย้ายตาแหน่งของ Gadget ทาได้โดยการ เข้าไปที่แผงควบคุม >> การออกแบบ >>
องค์ประกอบหน้าจากนั้นให้ลากเมาส์บน Gadget ที่ต้องการย้ายไปวางในตาแหน่งที่ต้องการได้เลยครับ




                                                                                     หน้า 41
เมื่อเข้าใจการทางานของ Gadget ชนิดต่าง ๆ แล้วสิ่งที่อยากจะฝากเอาไว้ตอนท้ายนี้ก็คือการจัด
องค์ประกอบหน้าของบล็อกดังนี้

แนวทางในการจัดองค์ประกอบหน้าบล็อก
          แนวทางในการจัดองค์ประกอบหน้านั้นไม่มีกฎเกณฑ์ต ายตัว บางคนชอบให้มี 2 column บางคน
ชอบให้มี 3 column ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความชอบและความต้องการใช้งาน แต่ที่อยากให้คานึงไว้เสมอคือ ผู้อื่น
คือ พระเจ้า ทาอะไรให้เข้าใจง่ายๆ หาอะไรก็เจออย่างรวดเร็ว เข้าไว้เป็นพอครับ และอีกประการที่สาคัญคือ
การติดตั้ง Gadget ต่าง ๆ ควรติดตั้งเท่าที่จาเป็นและต้องการใช้งาน ปฏิทิน หรือนาฬิกานั้นก็ไม่ควรติดตั้ง
ลงไปเลย เพราะไม่คุ้มค่ากับการเพิ่มภาระการโหลดให้กับผู้เข้าชม และถ้าบล็อกของคุณโหลดได้ช้า ก็
เป็นไปได้ยากที่ผู้อ่านจะกลับมาอีก

องค์ประกอบในหน้าของบล็อกที่ผมคิดว่าคุณควรจะมีคือ
ส่วนที่บอกตัวตนของบล็อก :
            ซึ่งอาจจะแสดงในส่วนหัวของหน้า หรือเป็นวีดีโอ /สไลด์/ข้อความ/รูปถ่าย อยู่ในตาแหน่งที่เห็นได้
ชัด
ส่วนที่เชื่อมโยงไปยังบทความในบล็อก :
            ส่วนนี้จาเป็นมากเพราะจะช่วยให้ผู้อ่านค้นหาบทความได้เร็วขึ้น คุณอาจจะรวมบทความทั้งหมด
เลยหรือ อาจจะใช้วิธีจัดหมวดหมู่ให้ผู้อ่านเลือกสิ่งที่ต้องการจากบล็อกของเราได้เร็วขึ้น

ส่วนพื้นที่ของสมาชิก :
           ส่วนนี้จะแสดงให้เห็นว่ามีผู้สนใจบล็อกของเรามากแค่ไหน และสามารถสมัครติดตามบล็อกของ
เราได้ทันที เช่นอาจจะใช้ Gadget ผู้ติดตาม หรือใช้ Like box Plugins ของ Facebook หรืออาจจะทา Poll
ก็ได้

ส่วนที่เป็นช่องทางให้ผู้อ่านติดต่อเราได้ :
           คุณอาจจะทา link เชื่อมโยงให้ผู้อ่านติดต่อคุณได้ หรืออาจจะใช้ Gadget profile ของ Blogger
เพื่อแนะนาตัวก็ได้




                                                                                                หน้า 42
บทที่ 7 การแสดงข่าวสารล่าสุดด้วย Gadget ฟีด

         ความหมายของคาว่า ฟีดโดยสรุปก็คือเป็นสิ่งที่แพร่กระจายจากบล็อกของเราบนโลก Internet
เทียบได้กับคลื่นสัญญาณวิทยุหรือโทรทัศน์ ถ้ามีตัวรับทุกคนก็สามารถมองเห็นข่าวสารที่ต้องการเลือกรับ
ได้ นอกจากนี้ถ้ามีตัวช่วยส่งให้ฟีดแพร่ได้แรงขึ้น ข่าวสารก็ย่อมจะแพร่กระจายได้เร็วด้วย




         ดังนั้นถ้าคุณสนใจข่าวสารจากบล็อกใดบล็อกหนึ่งคุณก็สามารถที่จะเปิดรับข่าวสารจากบล็อก
นั้นๆ โดยใช้ Gadget ฟีด ซึ่งเป็น Gadget ที่สามารถเพิ่มได้อย่างไม่จากัด ดังนั้นถ้าคุณต้องการรับข่าวจาก
10 บล็อกก็สามารถทาได้โดยการเพิ่ม gadget ฟีดเข้าไปในบล็อก 10 ครั้ง ในขณะเดียวกันถ้าคุณใส่ชื่อ
บล็อกของตัวเองใน Gadget ฟีด Gadget ชนิดนี้จะกลายเป็น Gadget ที่ใช้แสดง บทความล่าสุดนั่นเอง
ครับ

การแสดงข่าวสารล่าสุดโดยการใช้ Gadget ฟีด

         1. ไปที่องค์ประกอบของหน้า >> เพิ่มฟีด Gadget




                                                                                              หน้า 43
2. ใส่โค้ดต่อไปนี้ลงไปใน Gadget ฟีด
        http://ชื่อบล็อก.blogspot.com/feeds/posts/default
โดยจะต้องเปลี่ยนชื่อบล็อกเป็นชื่อบล็อกของของคุณเองหรือชื่อบล็อกที่คุณต้องการรับข่าวสารที่ update




ตั้งค่าที่ต้องการเพิ่มเติมและบันทึกก็จะได้ feeds ข่าวสารมาปรากฏที่บล็อกของคุณ




          3. ถ้าต้องการเพิ่มบล้อกอื่นอีกก็ทาซ้าข้อ 1 และ 2 แต่ต้องเปลี่ยนชื่อบล็อกใหม่
          4. กรณีที่คุณต้องการเรียก feed จากเว็บที่ต้องการให้ค้นหา feed จากเว็บ www.google.com
แล้วแทนโค้ดในข้อ 2 เช่น feed ข่าวการศึกษาจากเว็บ http://www.rssthai.com/ ให้ใส่โค้ด
http://www.rssthai.com/news.php?t=education แทนในข้อ 2


                                                                                           หน้า 44
บทที่ 8 แนะนา Gadget ใหม่ของ blogger “หน้าเว็บ”

        ตามเว็บไซต์ต่าง ๆ เราคงจะเคยเห็นกันว่าแต่ละเว็บไซต์จะมี เมนูสาหรับเลือกเปิดไปดูหน้าอื่น ๆ
ภายในเว็บนั้นๆ เช่น ตัวอย่างในรูปด้านล่าง




Blogger ได้พัฒนา Gadget ตัวใหม่ขึ้นมา มีชื่อว่า หน้าเว็บ เพื่อให้ผู้ใช้ได้สร้างหน้าของบล็อกที่ต้องการได้
โดยไม่ต้องมีความรู้ในการดัดแปลงหรือแก้ไขแม่แบบด้วยตนเอง




          การเรียกใช้ Gadget ชนิดนี้สามารถเลือกใช้ได้เช่นเดียวกับการ Add Gadget ชนิดอื่น ๆ นั่นคือ
ไปที่ องค์ประกอบของหน้า >> แล้วเลือก เพิ่ม Gadget
          ต่อไปเรามาดูว่า Gadget นี้ ใช้อย่างไร และใช้เพื่อจุดประสงค์ใด
หลักการของ Gadget นี้เหมือนการสร้างบทความขึ้นมา 1 บทความ และ สร้าง Link เชื่อมโยงไป
ยังบทความนั้น ๆ แต่มีความพิเศษตรงที่ผู้ใช้ทั่วไปสร้างเมนูขึ้นเองได้อย่างง่ายดาย โดยไม่ต้องมีความรู้
พื้นฐานเกี่ยวกับ HTML เลย




                                                                                                 หน้า 45
ตัวอย่างวิธีการใช้งาน(จริง)
          ในตัวอย่างนี้ผมจะสร้าง 2 หน้าให้เห็นเป็นตัวอย่าง ได้แก่ HOME และ CONTACT ME
ขั้นเตรียมการ
          เนื่องจากผมจะยกตัวอย่างการสร้างหน้า Contact me ดังนั้นให้ทุกคนไปสร้าง Form สาหรับ
ติดต่อเจ้าของบล็อกซึ่งก็คือเราเอง ได้ที่ http://www.foxyform.com/

ซึ่งขั้นตอนในการสร้าง ฟอร์มนั้นง่ายมาก มีเพียง 4 ขั้นเท่านั้น (ดูรูป)




                                                                                        หน้า 46
เมื่อได้โค้ด แล้วคัดลอกเก็บเอาไว้ก่อนครับ

ขั้นสร้างหน้าเว็บจริง
         ขั้นที่ 1 สร้างหน้าแรก หรือ HOME
Log in เข้าไปที่ draft.blogger ไปที่แผงควบคุม >> องค์ประกอบของหน้า >> แล้วเลือก เพิ่ม Gadget
เลือกอันแรกเลยครับ คือ gadget หน้าเว็บ




จากนั้นก็สร้าง หน้าแรกขึ้นมาโดยตั้งชื่อตามที่ต้องการได้เลย แล้วทาการบันทึกครับ




                                                                                         หน้า 47
ขั้นที่ 2 เมื่อผ่านขั้นที่ 1 มาแล้วก็เท่ากับว่าเราได้สร้าง หน้าบล็อกขึ้นมาแล้ว 1 หน้า

ถ้าจะทาการเพิ่มหน้าอีก ให้ไปที่แผงควบคุม >> การส่งบทความ >> แก้ไขหน้าเว็บ >> หน้าเว็บใหม่




เมื่อคลิกสร้างหน้าเว็บใหม่ เราก็จะพบเครื่องมือต่าง ๆ เหมือนการเขียนบทความนั่นเองครับ




                                                                                                หน้า 48
ให้นาโค้ดของ Form ที่เตรียมไว้ จากขั้นเตรียมการมาวางในหน้าหน้านี้ จัดรูปแบบตามต้องการแล้วบันทึก
หน้าได้เลยครับ




เพียงขั้นตอนสั้น ๆ นี้เราก็จะมีเมนูเชื่อมโยงไปยัง หน้าของบล็อกถึง 2 หน้าด้วยกัน ได้แก่ HOME และ
CONTACT ME

                                                                                             หน้า 49
ขั้นที่ 3
         - ถ้าหากต้องการเพิ่มหน้าบล็อกเพิ่มขึ้นอีกก็ทาซ้าขั้นตอนที่ได้กล่าวมาข้างต้นครับ
         - แต่ถ้าต้องการลบหน้าบล็อกทิ้ง ก็มาที่เดิม แล้วจะเห็นคาว่าลบ ถ้าต้องการลบทิ้งก็กดคาว่าลบ
ได้เลย




         ขั้นที่ 4 วิธีจัดการกับเมนูหน้าเว็บ
         - ถ้าต้องการเรียงลาดับหน้าเว็บใหม่ ก็ไปที่ องค์ประกอบของหน้า แล้ว คลิก Gadget หน้าเว็บ
         ขึ้นมาแก้ไข >> ดูรูป




                                                                                            หน้า 50
นอกจากนี้ Gadget หน้าเว็บจะมีลักษณะพิเศษ คือ ถ้าอยู่ที่ Sidebar เมนูจะจัดเรียงเป็นแนวตั้ง




                                                                                            หน้า 51
แต่ถ้าลากไปในตาแหน่งใต้ส่วนหัว จะจัดเรียงเรียงเป็นแนวนอนโดยอัตโนมัติ




                                                                       หน้า 52
บทที่ 9 นับจานวนคนเยี่ยมชมด้วย Flagcounter

        อีกบริการนับสถิติคนเยี่ยมชมที่ช่วยให้เราทราบว่าบล็อกของเรามีผู้เยี่ยมชมทั้งในและต่างประเทศ
มากหรือน้อย จาก Flagcounter




วิธีติดตั้ง

              1. ไปที่ http://www.flagcounter.com/index.html

              2. ตั้งค่าต่างๆ ตามความต้องการแล้วกด GET YOUR FLAG COUNTER ดังรูป




              3. คัดลอก HTML โค้ด ที่ FLAG COUNTER ได้สร้างให้ในขั้นที่ 2



                                                                                           หน้า 53
4. กลับมาที่บล็อกของเรา ไปที่แผงควบคุม >> รูปแบบ >> องค์ประกอบหน้า >> เพิ่ม Gadget
ชนิด HTML/จาวาสคริปต์




        5. วางโค้ดที่คัดลอกมาจากขั้นที่ 3 แล้วบันทึกครับก็เป็นอันจบขั้นตอนครับ ลักษณะที่ได้ก็ดังรูป




                                                                                              หน้า 54
บทที่ 10 รูปภาพในบทความบน Blogger

                                                       คุณเคยสงสัยไหมครับว่า รูปภาพที่คุณ upload ขึ้น
                                             ไปขณะที่เขียนบทความ หรืออาจจะเขียนบทความไปแล้ว รูป
                                             เหล่านั้นไปอยู่ที่ไหน เพราะว่า Blogger เองไม่มี sever ยัง
                                             ต้องอาศัยฐานข้อมูลของตัวแม่คือ blogspot.com อยู่ แล้ว
                                             จะเอาพื้นที่ ๆ ไหนมาเก็บรูปตั้งมากมาย?
                                                       คาตอบคือ Blogger จะใช้วิธีเชื่อมโยงกับ
                                             Application อื่น ๆ ของ Google เพื่อแก้ปัญหาการเก็บข้อมูล
                                             เช่นรูปภาพใน Blogger ที่เราพูดถึงกันอยู่ตอนนี้ก็จะถูกเก็บ
อยู่ที่ Picasa Web Albums ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นภาพที่คุณ Upload ขณะเขียนบทความ ก็จะถูกเก็บอยู่ใน
Picasa Web Albums ทั้งหมด

คุณใช้บริการ Picasa Web Albums ได้อย่างไร?
         การใช้บริการ Picasa Web Albums สามารถเข้าใช้ได้ทันทีหากคุณมีบัญชีผู้ใช้กับ google อยู่
แล้ว เช่นมีบัญชีผู้ใช้ Gmail หรือ Blogger อยู่แล้วก็สามารถ Log in เข้าใช้ได้เลย

Picasa Web Albums ให้พื้นที่เท่าไร?
        Picasa จะให้พื้นที่ เพียง 1 GB ต่อ 1 บัญชีผู้ใช้ นี่เป็นเหตุผลที่บางคนอาจจะสงสัยว่าทาไม
คุณภาพรูปหรือขนาดของรูปบน Blogger จึงลดลง กล่าวคือระบบของ Picasa จะทาการลดขนาดของรูปที่
เรา Upload ผ่าน Blogger ให้มีขนาดเล็กลงเพื่อเป็นการประหยัดพื้นที่นั่นเอง




                                                                                              หน้า 55
คุณจะเข้าไปจัดการรูปภาพจาก Blogger ใน Picasa Web ได้อย่างไร?
       การจัดการภาพใน Picasa Web Albums ทาได้ 2 วิธีคือ

1. ใช้ Software ที่พัฒนาขึ้นมาจัดการ Picasa Web Albums โดยเฉพาะ




คุณสามารถเข้าไปดาวน์โหลด Picasa ได้ที่ http://picasa.google.com/

2. เข้าไปจัดการที่เว็บไซต์ Picasa Web Albums โดยตรง โดยไปที่ http://picasaweb.google.com
และ Log in โดยใช้ชื่อบัญชีเดียวกับ Blogger




คุณสามารถเข้าไป Unload ภาพได้โดยตรงกับ Picasa แล้วเรียกมาใช้บน blogger ได้โดยใช้ตัวเลือก
อัปโหลด




                                                                                       หน้า 56
แต่ถ้าต้องการรูปภาพบน Blogger ที่ได้อัปโหลดขึ้นไปแล้วก็คลิกที่อัลบัมที่ต้องการแล้วเข้าไปจัดการภาพได้
เช่นกัน

ลบรูปภาพบน Blogger แล้วรูปบน Picasa จะถูกลบด้วยหรือไม่?
        การลบรูปภาพบน Blogger ไม่ส่งผลใด ๆ ต่อ Picasa Web Albums เลยเว้นแต่คุณจะเข้ามาลบ
ใน Picasa Web Albums โดยตรง ดังนั้นถ้าในขณะเขียนบทความคุณเผลอทาพลาดรูปภาพหายไป ก็
สามารถเข้ามาเอารูปภาพจาก Picasa Web Albums ใช้งานได้อีกโดยไม่ต้อง upload ซ้า หรือไม่ต้องไปหา
ภาพมาใหม่

บทสรุป
         บทนี้แนะนาให้พอรู้จักการเชื่อมโยงระหว่าง Blogger และ Picasa Web Albums ซึ่งเป็นบริการ
ในเครือข่าย Google เหมือนกัน และจะทาให้คุณเข้าใจการจัดการเกี่ยวกับภาพบน Blogger ได้ดีขึ้น




                                                                                            หน้า 57
บทที่ 11 การสร้างวีดีโอใน YouTube และนามาใส่ในบล็อก

           ถ้ามีวีดีโอในหน้าบล็อกของเราด้วย การสื่อสารเรื่องราวต่างๆ ก็จะมีชีวิตชีวาและเข้าใจง่ายขึ้น ซึ่ง
ในที่นี้เราสามารถสร้างได้ไม่ยากด้วยบริการของ www.youtube.com ครับ

 ขั้นตอนการฝากวีดีโอไว้กับ youtube
         1. ไปที่ www.youtube.com แล้วเลือก Create Account ที่มุมขวาบนซึ่งในกรณีที่เรา Login อยู่
ในเว็บบล็อกของเรานั้น ก็สามารถใช้บริการของ youtube ด้วย Account เดิมโดยไม่ต้องสมัครใหม่ครับ
วิธีการทาได้โดย
             1.1 คลิกที่
             1.2 กรอกข้อมูลสาหรับการสร้างบัญชี โดยใช้ username ของ gmail ของเราเอง




             1.3 จากนั้น คลิก




                                                                                                   หน้า 58
1.4 จะพบหน้าต่างให้กรอก Username และ รหัสผ่าน ของ gmail ให้กรอก e-mail ของเรา




จะพบหน้าจอ ดังนี้




จากนั้นเราก็สามารถทาการเพิ่ม Video ได้ตามที่เราต้องการ




                                                                            หน้า 59
2. การฝาก youtube มีเงื่อนไขสาคัญๆ ดังนี้
- ความยาวของวีดีโอไม่เกิน 10 นาที
- ควรเป็นวีดีโอที่ไม่กระทบต่อสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ ศีลธรรมอันดีงามของสังคม
         3. การ upload วีดีโอขึ้นไปที่เมนู upload (ที่มุมขวาบน) แล้วทาการเลือกไฟล์วีดีโอจากเครื่องของ
เรา และรอจนการ upload เสร็จสิ้น
               3.1 คลิกที่ปุ่ม Uploads




              3.2 คลิกที่ปุ่ม Upload Video




              3.3 เลือกไฟล์ Video ที่ต้องการ



                                               3.4

              3.4 เมื่อ Upload ได้ 100% แล้วให้คลิก Save change




                                                                                              หน้า 60
4. เมื่อ upload เสร็จสิ้นแล้วคลิกที่ข้อความ Embed and Sharing Options เราก็เห็น HTML
code ให้คัดลอก code เหล่านั้นมาแปะในส่วนที่เราต้องการ




เช่นในที่นี้ผมคัดลอก code มาแปะในบทความก็จะได้ผลลัพธ์เป็นวีดีโอตามด้านล่างที่เห็นครับ




                                                                                        หน้า 61
เรื่อง                                                                     หน้า
บทนา……………………………………………………………………………………………………….                                  1
บทที่ 1 การสร้างเว็บบล็อก…………………………………………………………………………………                      4
บทที่ 2 วิธีเปลี่ยน Template ของ Blogger………………………………………………………………..          12
บทที่ 3 วิธีเขียนและจัดการบทความในบล็อก……………………………………………………………..            22
บทที่ 4 การตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ให้กับบล็อก……………………………………………………………….         26
บทที่ 5 รู้จักและใช้งาน Gadget ชนิดต่างๆ บน Blogger…………………………………………………      32
บทที่ 6 การจัดการกับ Gadget ในหน้าบล็อก……………………………………………………………..            40
บทที่ 7 การแสดงข่าวสารล่าสุดด้วย Gadget ฟีด…………………………………………………………           43
บทที่ 9 นับจานวนคนเยี่ยมชมด้วย Flagcounter………………………………………………………….           53
บทที่ 10 รูปภาพในบทความบน Blogger…………………………………………………………………                  55
บทที่ 11 การสร้างวีดีโอใน YouTube และนามาใส่ในบล็อก………………………………………………       58




                                                                         หน้า 62
255    เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ
            การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน
      โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ร่วมกับ Weblog




                                               หน้า 63

Contenu connexe

En vedette

ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4Moo Mild
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Moo Mild
 
Extra survey celebrations
Extra survey celebrationsExtra survey celebrations
Extra survey celebrationsCornStik
 
Stephanie neri final_presentation
Stephanie neri final_presentationStephanie neri final_presentation
Stephanie neri final_presentationStephanie Neri
 
Priyanka baskar-timeline-v2
Priyanka baskar-timeline-v2Priyanka baskar-timeline-v2
Priyanka baskar-timeline-v2sankarje
 
Building Your PLN
Building Your PLNBuilding Your PLN
Building Your PLNGallit Zvi
 
Twitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacher
Twitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacherTwitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacher
Twitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacherGallit Zvi
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Moo Mild
 
Boda Ingrid y Juan Pablo.
Boda Ingrid y Juan Pablo.Boda Ingrid y Juan Pablo.
Boda Ingrid y Juan Pablo.Ti Amat
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 
Rscon4 presentation on Genius Hour
Rscon4 presentation on Genius HourRscon4 presentation on Genius Hour
Rscon4 presentation on Genius HourGallit Zvi
 
Englishidom
EnglishidomEnglishidom
EnglishidomMoo Mild
 
21st century learning
21st century learning21st century learning
21st century learningGallit Zvi
 
Genius Hour and ePortfolios
Genius Hour and ePortfoliosGenius Hour and ePortfolios
Genius Hour and ePortfoliosGallit Zvi
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1Moo Mild
 

En vedette (19)

ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Extra survey celebrations
Extra survey celebrationsExtra survey celebrations
Extra survey celebrations
 
Stephanie neri final_presentation
Stephanie neri final_presentationStephanie neri final_presentation
Stephanie neri final_presentation
 
Priyanka baskar-timeline-v2
Priyanka baskar-timeline-v2Priyanka baskar-timeline-v2
Priyanka baskar-timeline-v2
 
Building Your PLN
Building Your PLNBuilding Your PLN
Building Your PLN
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Tomas tirolesas
Tomas tirolesasTomas tirolesas
Tomas tirolesas
 
Spatula
SpatulaSpatula
Spatula
 
Twitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacher
Twitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacherTwitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacher
Twitter and Blogging by @gallit_z and @hughtheteacher
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
Boda Ingrid y Juan Pablo.
Boda Ingrid y Juan Pablo.Boda Ingrid y Juan Pablo.
Boda Ingrid y Juan Pablo.
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 
Rscon4 presentation on Genius Hour
Rscon4 presentation on Genius HourRscon4 presentation on Genius Hour
Rscon4 presentation on Genius Hour
 
Englishidom
EnglishidomEnglishidom
Englishidom
 
21st century learning
21st century learning21st century learning
21st century learning
 
Genius Hour and ePortfolios
Genius Hour and ePortfoliosGenius Hour and ePortfolios
Genius Hour and ePortfolios
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร1
 

Plus de Moo Mild

ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16Moo Mild
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15Moo Mild
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14Moo Mild
 
ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13Moo Mild
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10Moo Mild
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9Moo Mild
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10Moo Mild
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8Moo Mild
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7Moo Mild
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6Moo Mild
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Moo Mild
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4Moo Mild
 

Plus de Moo Mild (13)

ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16ใบงานที่ 16
ใบงานที่ 16
 
ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15ใบงานที่ 15
ใบงานที่ 15
 
ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14ใบงานที่ 14
ใบงานที่ 14
 
ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13ใบงานที่ 13
ใบงานที่ 13
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9ใบงานที่ 9
ใบงานที่ 9
 
ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10ใบงานที่ 10
ใบงานที่ 10
 
ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8ใบงานที่ 8
ใบงานที่ 8
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6ใบงานที่ 6
ใบงานที่ 6
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Hair care
Hair careHair care
Hair care
 

Blog

  • 1. บทนา บล็อก (อังกฤษ: blog) เป็นคารวมมาจากคาว่า เว็บล็อก (อังกฤษ: weblog) เป็นรูปแบบเว็บไซต์ ประเภทหนึ่ง ซึ่งถูกเขียนขึ้นในลาดับที่เรียงตามเวลาในการเขียน ซึ่งจะแสดงข้อมูลที่เขียนล่าสุดไว้แรกสุด บล็อกโดยปกติจะประกอบด้วย ข้อความ ภาพ ลิงก์ ซึ่งบางครั้งจะรวมสื่อต่างๆ ไม่ว่า เพลง หรือวิดีโอใน หลายรูปแบบได้ จุดที่แตกต่างของบล็อกกับเว็บไซต์โดยปกติคือ บล็อกจะเปิดให้ผู้เข้ามาอ่านข้อมูล สามารถ แสดงความคิดเห็นต่อท้ายข้อความที่เจ้าของบล็อกเป็นคนเขียน ซึ่งทาให้ผู้เขียนสามารถได้ผลตอบกลับโดย ทันที คาว่า "บล็อก" ยังใช้เป็นคากริยาได้ซึ่งหมายถึง การเขียนบล็อก และนอกจากนี้ผู้ที่เขียนบล็อกเป็น อาชีพก็จะถูกเรียกว่า "บล็อกเกอร์" บล็อกเป็นเว็บไซต์ที่มีเนื้อหาหลากหลายขึ้นอยู่กับเจ้าของบล็อก โดยสามารถใช้เป็นเครื่องมือ สื่อสาร การประกาศข่าวสาร การแสดงความคิดเห็น การเผยแพร่ผลงาน ในหลายด้านไม่ว่า อาหาร การเมือง เทคโนโลยี หรือข่าวปัจจุบัน นอกจากนี้บล็อกที่ถูกเขียนเฉพาะเรื่องส่วนตัวหรือจะเรียกว่าไดอารี ออนไลน์ ซึ่งไดอารีออนไลน์นี่เองเป็นจุดเริ่มต้นของการใช้บล็อกในปัจจุบัน นอกจากนี้ตามบริษัทเอกชน หลายแห่งได้มีการจัดทาบล็อกของทางบริษัทขึ้น เพื่อเสนอแนวความเห็นใหม่ใหักับลูกค้า โดยมีการเขียน บล็อกออกมาในลักษณะเดียวกับข่าวสั้น และได้รับการตอบรับจากทางลูกค้าที่แสดงความเห็นตอบกลับเข้า ไป เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ ความนิยม บล็อกได้เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในปัจจุบันในวงการ[[สื่อมวลชน]]ในหลายประเทศ เนื่องจากระบบ แก้ไขที่เรียบง่าย และสามารถตีพิมพ์เรื่องราวได้โดยไม่ต้องใช้ความรู้ในการเขียนเว็บไซต์ โดยนอกเหนือจาก ที่ผู้เขียนข่าวส่งผลงานให้กับทางสื่อแล้ว ยังได้มาเขียนข่าวในอีกช่องทางหนึ่งในการเผยแพร่ข้อมูล หรือ แนวความคิด โดยการเขียนบล็อกสามารถเผยแพร่ข้อมูลสู่ประชาชนได้รวดเร็วและเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่า สื่อในด้านอื่น ข่าวที่นิยมในการเขียนบล็อกต่อสื่อมวลชน ส่วนใหญ่จะเป็นในลักษณะเรื่องซุบซิบวงการ ดารา ข่าวการเคลื่อนไหวทางการเมือง เป็นต้น จากความนิยมที่มากขึ้น ทาให้หลายเว็บไซต์เปิดให้มีส่วนการใช้งานบล็อกเพิ่มขึ้นมาในเว็บของตนเอง เพื่อเรียกให้มีการเข้าสู่เว็บไซต์มากขึ้นทั้งผู้เขียนและผู้อ่าน หน้า 1
  • 2. การใช้งานบล็อก ผู้ใช้งานบล็อกจะแก้ไขและบริหารบล็อกผ่านทาง [เว็บเบราว์เซอร์] เหมือนการใช้งานและอ่าน เว็บไซต์ทั่วไป โดยจะมีรูปแบบบริหารบล็อกที่แตกต่างกัน เช่นบางระบบที่มีบรรณาธิการของบล็อก ผู้เขียน หลายคนจะส่งเรื่องเข้าทางบล็อก และจะต้องรอให้บรรณาธิการอนุมัติให้บล็อกเผยแพร่ก่อน บล็อกถึงจะ แสดงผลในเว็บไซต์นั้นได้ ซึ่งจะแตกต่างจากบล็อกส่วนตัวที่จะให้แสดงผลได้ทันที ผู้เขียนบล็อกในปัจจุบันจะใช้งานบล็อกในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งไม่ว่า ติดตั้งซอฟต์แวร์ของตัวเอง หรือใช้งานบล็อกผ่านทางเว็บไซต์ที่ให้บริการบล็อก สาหรับผู้อ่านบล็อกจะใช้งานได้ในลักษณะเหมือนอ่านเว็บไซต์ทั่วไป และสามารถแสดงความเห็น ได้ในส่วนท้ายของแต่ละบล็อกโดยอาจจะต้องผ่านการลงทะเบียนในบางบล็อก นอกจากนี้ผู้อ่านบล็อก สามารถอ่านบล็อกได้ผ่านระบบ [ฟีด] ซึ่งมีให้บริการในบล็อกทั่วไป ทาให้ผู้ใช้สามารถอ่านบล็อกได้โดยตรง ผ่านโปรแกรมตัวอื่นโดยไม่จาเป็นต้องเข้ามาสู่หน้าบล็อกนั้น บล็อกซอฟต์แวร์ บล็อกซอฟต์แวร์ หรือ บล็อกแวร์ เป็นซอฟต์แวร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ต ในลักษณะของระบบจัดการ เนื้อหาเว็บ ที่ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์และผู้เขียนหรือดูแลบล็อกจะแยกจากกันต่างหาก ส่งผลให้ผู้เขียนบล็อก สามารถใช้งานได้ทันทีโดยไม่ต้องมีพื้นฐานความรู้ในด้านเอชทีเอ็มแอล หรือการทาเว็บไซต์แต่อย่างใด ทา ให้ผู้เขียนบล็อกสามารถใช้เวลาส่วนใหญ่ในการ บริหารจัดการ เพิ่มเติม ข้อมูลและสารสนเทศแทนได้ นอกจากนี้บล็อกซอฟต์แวร์จะสนับสนุน ระบบ WYSIWYG ซึ่งทาให้ง่ายต่อการเขียน และอาจเพิ่มเติมการมี เทมเพลตในหลายแบบให้เลือกใช้ ซอฟต์แวร์ส่วนใหญ่สามารถดาวน์โหลดและติดตั้งได้ทันทีโดยผู้ใช้ ซึ่งซอฟต์แวร์บางส่วนเป็น ซอฟต์แวร์โอเพนซอร์ส ซึ่งเป็นซอฟต์แวร์ที่ไม่สงวนลิขสิทธิ์ ซึ่งผู้พัฒนาสามารถนามาปรับแก้ เป็นของตนเอง ติดตังไว้ใช้เป็นบล็อกส่วนตัว หรือเผยแพร่ให้คนอื่นมาใช้งานได้ ส่วนซอฟต์แวร์ลิขสิทธิ์นั้น จะมีทั้งในรูปแบบ ้ ที่ให้ใช้งานแบบเสียค่าใช้จ่ายหรือให้ใช้งานฟรี หน้า 2
  • 3. บล็อกซอฟต์แวร์ที่เป็นที่รู้จัก รายชื่อบล็อกซอฟต์แวร์ที่เป็นที่นิยมพร้อมทั้งชื่อซอฟต์แวร์ที่ใช้พัฒนาในวงเล็บ  ดรูปาล (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)  เวิร์ดเพรสส์ (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)  สแลช (เพิร์ล)  ไลฟ์ไทป์ (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)  จุมล่า (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล)  แมมโบ้ (พีเอชพี/มายเอสคิวแอล) รายชื่อผู้ให้บริการบล็อกที่มีชื่อเสียง  บล็อกเกอร์ (กูเกิล)  ไทป์แพด  เวิร์ดเพรสส์  ยาฮู! 360° หรือ ยาฮู!เดย์ (ยาฮู!)  วินโดวส์ไลฟ์ สเปซเซส (ไมโครซอฟท์)  มายสเปซ  มัลติไพล ผู้ให้บริการบล็อกในประเทศไทยที่เป็นที่รู้จัก  Blognone บล็อกสาหรับเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับเทคโนโลยีและข่าวไอทีอย่างเดียว  เอ็กซ์ทีน  GotoKnow  Bloggoo  learners.in.th  บล็อกแก๊ง  โอเคเนชั่น นอกจากนี้ทางเว็บที่นิยมของไทยอย่าง สนุก.คอม, กระปุก.คอม หรือผู้จัดการออนไลน์ ก็ได้มีการ เปิดให้บริการบล็อก หน้า 3
  • 4. บทที่ 1 การสร้างเว็บบล็อก หลายคนอาจสงสัยว่าตอนนี้จะทาเว็บบล็อกไปเพื่ออะไร? แล้วจะเสียเงินไหม หากจะทาขึ้นมา จริงๆ แล้วประโยชน์ของเว็บบล็อกนั้นมีมากกว่าที่เราคิดไว้ครับ เช่น ใช้ในการทางาน ในการนาเสนอผลงาน การขายสินค้า ใช้ในการเรียนการสอน หรือ ใช้ในการเขียนชีวประวัติส่วนตัวแล้วเก็บไว้เป็นฐานข้อมูลแบบ ออนไลน์ก็ยังได้ครับ ส่วนปัญหาที่บางท่านไม่รู้จัก code ของภาษาต่างๆ เช่น HTML หรือ Java script ฯ ก็ ไม่ต้องเป็นกังวลครับ เพราะตัวผมเองก็ไม่เป็นเหมือนกันแต่ก็ค่อยๆ เรียนรู้กันไป เพียงแค่ไม่กี่วันคุณก็จะมี บล็อกสวยๆ และนาไปใช้ประโยชน์ได้แน่นอนครับ เว็บบล็อกไม่จาเป็นต้องมีเงินในการทาครับ เพราะมีผู้ให้บริการฟรี และผมจะขอเสนอผู้ให้บริการ บล็อกที่ชื่อว่า บล็อกเกอร์ ซึ่งเป็นของ Google ซึ่งผมก็จัดทาอยู่ มีอยู่ 2 เว็บด้วยกัน คือ www.lovelyfools.blogspot.com อันนี้เป็นเว็บบล็อกส่วนตัวครับ www.nongpoto.blogspot.com อันนี้เป็นเว็บบล็อกของลูกชายครับ หน้า 4
  • 5. วิธีสร้างบล็อกกับ Blogger ขั้นที่ 1 การสมัครใช้งาน Blogger สามารถใช้ email ของระบบใดก็ได้ แต่ในระยะยาวแล้วการ เชื่อมโยงกับบริการหลายๆ อย่างของ Google ควรจะใช้ email ของ Gmail ดีที่สุดครับ 1. ให้คุณเข้าไปที่ www.gmial.com เพื่อสร้างบัญชีผู้ใช้กับ Google 2. กรอกข้อมูลที่จาเป็นในการสมัคร Gmail จากนั้นคลิกปุ่ม ฉันยอมรับ โปรดสร้างบัญชีของฉัน หน้า 5
  • 6. 3. จะพบหน้าจอการยืนยันบัญชีของเรา ซึ่งต้องใส่เบอร์โทรศัพท์ (Google จะส่ง massage มาให้) จากนั้น 4. คลิกปุ่ม ส่งรหัสยืนยันไปยังโทรศัพท์มือถือของฉัน 5. เมื่อเปิดดูข้อความในโทรศัพท์มือถือแล้ว ก็ให้ป้อนรหัสที่ได้ จากนั้นคลิกปุ่ม ยืนยัน 6. คุณจะพบกับหน้าจอแสดงความยินดีเกี่ยวกับบัญชีของ Gmail หน้า 6
  • 7. 7. คลิกที่ปุ่ม เพื่อดู Gmail ของเราครั้งแรก ขั้นที่ 2 หลังจากได้บัญชีผู้ใช้แล้ว ให้ไปที่ www.blogger.com เพื่อสร้างบล็อกกันเลยครับ โดยในการสร้างบล็อกนั้น ก็ให้ใช้ บัญชีผู้ใช้ (user name + password) ที่ได้สร้างไว้ในขั้นที่ 1 1. ไปที่เว็บไซต์ http://www.blogger.com ดังรูป 2. คลิกที่ปุ่ม เพื่อเริ่มต้นการสร้างบล็อก ดังรูป หน้า 7
  • 8. 3. ให้กรอก email ที่ได้จากขั้นที่ 1 ชื่อผู้เขียนบล็อก วันเกิด 4. เมื่อกรอกข้อมูลครบแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม จะพบหน้าจอ ตั้งชื่อเว็บบล็อกของ คุณ ให้ทาการ ตั้งชื่อเว็บบล็อกที่เราต้องการ, ที่อยู่บล็อก และ กรอกรหัสยืนยัน (แต่การกาหนด URL หน้า 8
  • 9. จะต้องไม่ให้ซ้ากับคนอื่น ๆ ถ้าซ้าก็ใช้วิธีเปลี่ยนเป็นคาหรือวลีที่ใกล้เคียงไปเรื่อย ๆ การตั้งชื่อและ URL ของบล็อกควรมี keyword ที่สัมพันธ์กับเรื่องที่จะเขียนด้วย) 5. คลิกที่ปุ่ม จะพบหน้าจอ เลือกแม่แบบเริ่มต้น ดังรูป หน้า 9
  • 10. 6. ให้เลือกแม่แบบเริ่มต้นที่เราต้องการให้เป็นรูปแบบของบล็อก จากนั้นคลิกปุ่ม จะปรากฏหน้าจอแจ้งว่า บล็อกของคุณถูกสร้างขึ้นแล้ว ดังรูป 7. คลิกที่ปุ่ม เพื่อกรอกข้อมูลครั้งแรกในการสร้างเว็บบล็อก ซึ่งจะต้องกรอกข้อมูลในหน้าเว็บ ดังรูป หน้า 10
  • 11. 8. เมื่อกรอกข้อมูลเสร็จแล้ว ให้คลิกปุ่ม จะปรากฏหน้าจอ ดังรูป 9. ให้คลิกที่ปุ่ม เพื่อดูเว็บบล็อกของเรา เป็นครั้งแรก จะพบหน้าจอ ดังรูป หน้า 11
  • 12. บทที่ 2 วิธีเปลี่ยน Template ของ Blogger หลังจากบทแรกได้เสนอขั้นตอนในการสร้างบล็อกไปแล้ว ถึงตรงนี้คุณต้องคิดแล้วว่าจุดประสงค์ ของการทาบล็อกของคุณคืออะไร เพราะจุดประสงค์นี่แหละครับจะเป็นตัวกาหนดว่าเราจะเลือก แม่แบบ (หน้าตา และองค์ประกอบ) ของบล็อกอย่างไร ต่อไปเราจะมาดูวิธีการเลือก และการเปลี่ยน Template กันครับ ขั้นที่ 1 ให้คุณไปเลือก template ได้ที่  http://btemplates.com  http://www.bloggertemplateplace.com  http://themecraft.net  http://www.deluxetemplates.net  http://www.bloggerthemes.net  http://www.bloggerstyles.com  http://www.anshuldudeja.com  http://www.bloggertemplatesfree.com  http://www.bloggertemplatesblog.com  http://www.templatesblock.com  http://blogger-templates.blogspot.com  http://freetemplates.blogspot.com หน้า 12
  • 13. http://mashable.com/2007/09/13/blogger-templates  http://www.webtemplatesblog.com  http://www.ezwpthemes.com  http://www.freebloggertemplate.info  http://www.blogcrowds.com/resources/blogger-templates  http://www.zoomtemplate.com  http://www.templates-blogger.com  http://www.bloggerblogtemplates.com  http://bloggertemplateplace.com  http://www.templatesblogger.net  http://www.bietemplates.com หรือจะใช้คาค้น “Template+blog” ใน Google ก็ได้ครับ ผมเชื่อว่าขั้นตอนนี้คุณคงจะใช้เวลานาน พอสมควรเลยล่ะครับ (ผมเองก็ใช้เวลาเป็นวันๆ ในการเลือก templates ทีเดียวครับ ) ขั้นที่ 2 เมื่อคุณได้ Template ที่ต้องการแล้ว ให้เริ่มเปลี่ยนดังนี้ ในที่นี้ ผมเลือกเว็บไซต์ http://www.bloggerblogtemplates.com/ เพื่อเป็นต้นแบบในการใช้ Template หน้า 13
  • 14. ผมเลือก Template นี้ 1. โดยการคลิกที่ Read More or Download this Blogger Template จากนั้นจะพบ หน้าต่างใหม่ ให้เลื่อนหาเมนู Download the Green Day Blogger Theme และทาการ คลิกเพื่อดาวน์โหลด จะได้ ให้ทาการ แตกไฟล์จากนั้นให้ นา green-day-blogger-theme.xml ไปวางไว้ที่ Desktop 2. Log in ที่ blogger ไปที่แผงควบคุม >> รูปแบบ >> แก้ไข HTML >> คลิกปุ่ม Browse เพื่อที่จะ อัปโหลดแม่แบบขึ้นมา หน้า 14
  • 15. 3. เรียกไฟล์ .XML ที่เตรียมไว้ตามขั้นตอนในรูปครับ 4. อัปโหลดแม่แบบขึ้นไปแทนที่แม่แบบเดิม โดยระหว่างการแทนที่ อาจมีการถามถึงการลบ/เก็บ Widget ของแม่แบบเดิม ซึ่งถ้าต้องการเก็บของเก่าเอาไว้ก็เลือก เก็บ Widget ก็จะทาให้ Widget ของแม่แบบ เดิม ไม่ถูกลบขณะเปลี่ยน Templates หน้า 15
  • 16. 5. จากนั้นลองแสดงตัวอย่างดู ซึ่งถ้าพอใจกับแม่แบบแล้วก็ให้ทาการบันทึก ก็จบขั้นตอนการเปลี่ยน แม่แบบแล้วครับ และถ้าหากคุณต้องการเปลี่ยนแม่แบบอีกก็สามารถเปลี่ยนได้แบบไม่จากัดครั้ง นี่คือผลงาน หลังจากเปลี่ยนแม่แบบ นี้ครับ ก่อนเปลี่ยน Template หลังเปลี่ยน Template หน้า 16
  • 17. เครื่องมือสาหรับ “ออกแบบแม่แบบ” ด้วยตนเอง ใหม่! จาก Blogger หลังจากทีมงาน Blogger ได้สร้าง Gadget หน้าเว็บ ออกมาได้ไม่นาน ตอนนี้ก็ได้พัฒนาการ เครื่องมือสาหรับการออกแบบแม่แบบของ blogger ให้ยืดหยุ่นมากขึ้น โดยให้ผู้ใช้สามารถปรับแต่งแม่แบบ ได้ด้วยตนเอง ไม่ว่าจะเป็นการเลือก Theme การออกแบบโครงร่างของหน้าว่าจะมี 2 หรือ 3 คอลัมน์ หรือ หลายคอลัมน์ ซึ่งทาได้โดยการคลิกเพียงไม่กี่ครั้ง การปรับความกว้างของ Template และ sidebar เพียง แค่คลิกเดียวเป็นต้น ความสามารถทั้งหลายนี้ผู้ใช้สามารถทาได้โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง HTML และ CSS เลยสาหรับการใช้งานเครื่องมือนี้ก็คล้ายคลึงกับการใช้งานเครื่องมือเดิม ๆ ที่มีอยู่ ซึ่งผมจะอธิ บายทีละส่วน ดังนี้ การใช้ เครื่องมือออกแบบแม่แบบ ทาได้โดย Log in เข้าไปที่ draft.blogger และไปที่ แผงควบคุม >> การออกแบบ >> องค์ประกอบของหน้า >> คลิกที่ “เครื่องมือออกแบบแม่แบบ ใหม่!” เมื่อคลิกที่ “เครื่องมือออกแบบแม่แบบ” แล้วเราจะพบเครื่องมือสาหรับออกแบบแม่แบบอยู่ 4 อย่างด้วยกัน ได้แก่ 1. แม่แบบ 2. พื้นหลัง 3. รูปแบบ และ 4. ขั้นสูง ส่วนแสดงตัวอย่าง หน้า 17
  • 18. 1. การใช้งานเครื่องมือแม่แบบ ทาได้โดย คลิกที่ข้อความ แม่แบบ >> จากนั้นเลือกรูปแบบที่ต้องการ >> และเลือก theme ที่ต้องการ เมื่อแสดงตัวอย่างเป็นที่น่าพอใจแล้ว ให้คลิกที่ปุ่ม “ใช้กับบล็อก” เพื่อ ยืนยัน ส่วนแสดงตัวอย่าง 2. การใช้งานเมนูพื้นหลัง การใช้งานเครื่องมือ “พื้นหลัง” สามารถใช้เพื่อเปลี่ยนภาพพื้นหลังของบล็อก และเลือกสี Theme ของบล็อกได้ตามความต้องการได้ด้วย 2.1 วิธีเปลี่ยนภาพพื้นหลังทาได้โดย คลิกที่ “ภาพพื้นหลัง” และเลือกถาพตามต้องการ และ กดปุ่ม “ใช้กับบล็อก” เพื่อยืนยัน หน้า 18
  • 19. 2.2 การเลือกสี Theme ของบล็อก คลิกที่สี Theme ที่ต้องการโดย อาจจะคลิกเลือกจาก Theme สาเร็จรูปหรือเลือกจาก Theme ที่แนะนา หน้า 19
  • 20. 3. การใช้งานเครื่องมือ “รูปแบบ” : คุณสามารถใช้เครื่องมือนี้เพื่อกาหนดจานวน คอลัมน์ รูปแบบ คอลัมน์ ความกว้างของคอลัมน์ รวมถึงการกาหนดคอลัมน์ให้กับส่วนท้ายของหน้าได้ด้วย 3.1 การใช้งานเครื่องมือ “การออกแบบเนื้อความ” : เครื่องมือนี้ใช้กาหนดรูปแบบคอลัมน์ของ template ของคุณ ซึ่งทาได้ง่ายดายโดยการคลิกเลือกรูปแบบที่ต้องการ ดูตัวอย่าง เมื่อเป็นที่พอใจแล้ว ก็กดปุ่ม “ใช้กับบล็อก” เพื่อยืนยัน 3.2 การใช้งานเครื่องมือ “การออกแบบส่วนท้าย” : เครื่องมือนี้เป็นเครื่องมือสาหรับการ กาหนดคอลัมน์ให้กับส่วนท้ายของหน้าบล็อก ซึ่งทาได้เช่นเดียวกับ 3.1 หน้า 20
  • 21. 3.3 การใช้งานเครื่องมือ “การปรับความกว้าง” : คุณสามารถปรับความกว้างของแม่แบบ และ sidebar จากเครื่องมือนี้เพียงแค่เลื่อน slider ให้ตรงกับค่าตัวเลขที่ต้องการเท่านั้น 4. สาหรับเมนูขั้นสูงเป็นการกาหนดรายละเอียดต่างๆ ให้กับบล็อก เช่น รูปแบบของลิงค์ gadget ต่างๆ หัวเรื่อง ชื่อของบล็อก เป็นต้น ซึ่งคุณสามารถปรับแต่งตามความต้องการแล้ว แสดงตัวอย่าง หาก เป็นที่พอใจก็บันทึกเช่นเดียวกับ ข้อ 1-3 ที่ได้กล่าวมาแล้ว *** ปล. อย่าลืมนะครับว่าเครื่องมือเหล่านี้จะไม่มีใน blogger.com แต่ จะมีใน draft.blogger.com เท่านั้น หน้า 21
  • 22. บทที่ 3 วิธีเขียนและจัดการบทความในบล็อก บทนี้ผมจึงจะเล่าถึงวิธีเขียนบทความใน Blogger เพื่อเป็นแนวทางให้คุณสามารถเขียนบทความลงในบล็อก ของคุณได้สวยงามและเป็นมืออาชีพมากขึ้น สาหรับท่านที่เขียนบทความเป็นอยู่แล้วอาจจะข้าม ไปอ่านบทความอื่น ๆ ต่อไปได้เลยครับ ส่วนท่านที่เป็นมือใหม่ จริง ๆ ก็ควรจะอ่านบทความนี้ให้จบเพื่อเป็นแนวทางในการ เขียนบทความของคุณเองต่อไป 1. การเข้าไปเขียนบทความ การเข้าไปเขียนบทความบน Blogger โดยตรงสามารถเข้าไปได้ 2 ช่องทางด้วยกันคือ 1.1 ถ้าคุณใช้แม่แบบที่ไม่ได้ซ่อนแถบนาทางสามารถเข้าไปเขียนบทความได้โดยคลิกที่เมนู บทความใหม่ 1.2 เข้าไปเขียนบทความผ่าน draft.blogger.com หน้า 22
  • 23. โปรดสังเกตว่าเครื่องมือในการเขียนบทความของ Draft.blogger จะมีมากกว่าเครื่องมือของ blogger ปกติ ดังนั้นโดยส่วนตัวผมแนะนาให้เขียนบทความผ่าน draft.blogger.com เพราะมีเครื่องมือ มากกว่าวิธีแรก และควรตั้งค่าให้ draft.blogger เป็นเครื่องมือเริ่มต้น 2. องค์ประกอบของเครื่องมือเขียนบทความ ก่อนอื่นผมขอแนะนาให้รู้จักเครื่องมือที่จาเป็นในการเขียนบทความดังนี้ ส่วนที่ 1 คือส่วนตั้งชื่อเรื่องหรือชื่อบทความ ส่วนที่ 2 เป็นส่วนที่ใช้สาหรับกรณีที่เราต้องการวางข้อความที่คัดลอกมาจาก Ms word หรือโค้ดวีดีโอจาก Youtube หรือโค้ด HTML/จาวาสคริปต์ที่ต้องการให้ปรากฏและแสดงผลในบทความ หน้า 23
  • 24. ส่วนที่ 3 เป็นแถบที่เลือกเมื่อต้องการเขียนข้อความปกติซึ่งจะมีเครื่องมือในการเขียน บทความตามที่เห็นในภาพข้างบน ส่วนที่ 4 สาหรับจัดรูปแบบอักษร ส่วนที่ 5 เป็นเครื่องมือในการใส่ลิงค์ให้ข้อความ แทรกภาพลงในบทความ และแทรกวีดีโอ ลงในบทความตามลาดับ ส่วนที่ 6 รูปกระดาษขาดที่เห็นนั้นใช้ในกรณีที่คุณต้องการแสดงบทความให้ผู้อ่านเห็นในหน้า หลักเพียงบางส่วนเท่านั้น และถ้าใช้เครื่องมือนี้ผู้อ่านจะต้องคลิกอ่านเพิ่มเติมจึงจะเห็นข้อความแบบเต็ม เครื่องมือนี้มีข้อดีคือทาให้บทความที่มีความยาวมาก ๆ สั้นลงได้ และทาให้เปิดหน้าแรกได้เร็วขึ้นด้วย ส่วนที่ 7 เป็นส่วนที่ใช้ในการจัดเรียงข้อความ และจัดแนวรูปภาพได้ด้วย เช่น จัดชิดซ้าย ชิดขวา กึ่งกลาง เป็นต้น ส่วนที่ 8 ได้แก่การใส่ การเน้นข้อความ การลบรูปแบบ การตรวจสอบการสะกดคา และการ แปลภาษา ส่วนที่ 9 เป็นส่วนที่ใช้ในการวางกาหนดเวลาล่างหน้า ว่าจะให้บทความที่เขียนเผยแพร่ใน วันใด ส่วนที่ 10 เป็นการใส่ป้ายกากับ ซึ่งเป็นส่วนที่ใช้ระบุว่าบทความที่เขียนนี้อยู่ในหมวดหมู่ใด ซึ่งสามารถใส่ได้มากกว่า 1 ป้ายกากับโดยคั่นด้วยเครื่องหมายจุลภาค และสามารถเลือกป้ ายกากับที่คุณ เคยใส่ให้บทความอื่นไปแล้วมาใส่อีกได้ เพื่อทาให้บทความนั้น ๆ อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน ส่วนที่ 11 เป็นการเลือกว่าจะบันทึกไว้ก่อน หรือจะเผยแพร่ มีประโยชน์ในกรณีที่บทความที่ เขียนใช้เวลาเขียนนานมากก็อาจจะบันทึกเอาไว้ก่อนแล้วมาเขียนต่อในภายหลังได้ หน้า 24
  • 25. เทคนิคการเขียนบทความที่ควรรู้ ในกรณีที่เรามีไฟล์เอกสารจาก MS word แล้วคัดลอกมาวางเพื่อทาให้เขียนบทความได้เร็วขึ้น บางครั้งพบปัญหาข้อผิดพลาดของฟอร์ม (ฟอร์มใน MS word ไม่สามารถแปลงเป็น HTML Code ได้) ปัญหานี้แก้ได้โดยก่อนวางข้อความให้คลิกที่แถบ แก้ไข HTML แล้วจึงวางข้อความที่คัดลอกมา จากนั้นจึงคลิกที่แถบ เขียน เพื่อจัดรูปแบบของบทความต่อไป เทคนิคนี้ยังสามารถใช้กับการวางโค้ดวีดีโอ หรือข้อความที่คัดลอกมาจากเว็บไซต์ได้ด้วยครับ หน้า 25
  • 26. บทที่ 4 การตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ให้กับบล็อก บทนี้ผมจะขอแนะนาการตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ของบล็อกเพื่อให้เข้าใจการตั้งค่าในส่วนต่าง ๆ ของ Blogger และจะทาให้คุณสามารถตั้งค่าต่าง ๆ ตามความต้องการของตนเองได้ อีกทั้งจะเป็นประโยชน์ใน การพัฒนาการทา Blogger ในระยะยาวด้วย การตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ของบล็อกทาได้โดย Log in เข้าไปที่ blogger เมื่อมาที่หน้า แผงควบคุม ให้ Click ที่ การตั้งค่า และท่านจะเข้ามาที่เมนูการตั้งค่าของบล็อก ผมจะแบ่งการตั้งค่าออกเป็น 9 ส่วนดังนี้ 1. ขั้นต้น คุณสามารถดาวน์โหลด Blog เพื่อเก็บเป็น Backup ข้อมูลบทความและ comment ของ บล็อกได้โดยเลือก ส่งออกบล็อก แต่ถ้าคุณมีข้อมูลบล็อกเดิมอยู่แล้วอยากจะนามาใช้กับบล็อกใหม่ที่สร้าง ขึ้น ก็ให้เลือก นาเข้าบล็อก แต่ถ้าคิดว่าไม่ต้องการใช้บล็อกนี้แล้วก็สามารถลบทิ้งได้โดยเลือก ลบบล็อก หน้า 26
  • 27. Title และคาอธิบายของบล็อก ควรใส่ให้เข้าใจภาพรวมของบล็อกและมี keyword ในการทา บล็อกแทรกอยู่ใน Description ด้วย ในส่วนการตั้งค่าอื่น ๆ ควรตั้งค่าดังนี้ องค์ประกอบ ตั้งค่าเป็น เพิ่มบล็อกของคุณในรายการของเราหรือไม่ ใช่ อนุญาตให้เครื่องมือค้นหาพบบล็อกของคุณหรือไม่ ใช่ แสดงการแก้ไขอย่างรวดเร็วบนบล็อกของคุณหรือไม่ ใช่ มีเนื้อหาสาหรับผู้ใหญ่หรือไม่ ไม่ เลือกโปรแกรมแก้ไขบทความ โปรแกรมแก้ไขที่อัปเดต 2. การเผยแพร่ ในการตั้งค่าส่วนนี้สามารถเปลี่ยน URL ของบล็อกได้ หน้า 27
  • 28. ถ้าคุณต้องการเปลี่ยนโดเมนของบล็อกจาก .blogspot.com เป็นโดเมนอื่นก็สามารถตั้งค่าได้ตรงส่วนนี้ แต่ จะต้องเสียค่าใช้จ่ายการจดโดเมนผ่าน google ปีละ 10 US (ประมาณ 300 กว่าบาทต่อปี) 3. การจัดรูปแบบ ในส่วนนี้เป็นการตั้งค่าการเผยแพร่บทความ เช่น จานวนบทความในหน้าแรก รูปแบบเวลา และวันที่เป็นต้น คุณควรจะตั้งค่าต่าง ๆ ดังนี้ องค์ประกอบ ตั้งค่าเป็น แสดงสูงสุด เท่าไรก็ได้ รูปแบบส่วนหัวของวันที่ ตั้งได้ตามใจชอบ รูปแบบวันที่ของดัชนีคลังบทความ ตั้งได้ตามใจชอบ รูปแบบเวลา ตั้งได้ตามใจชอบ โซนเวลา (GMT+07:00)กรุงเทพ ภาษา ไทย แปลงการขึ้นบรรทัดใหม่ ไม่ แสดงฟิลด์ชื่อเรื่อง ใช่ แสดงฟิลด์ของลิงก์ ไม่ เปิดใช้การจัดเรียงแบบลอย ใช่ แม่แบบบทความ ยังไม่ต้องตั้งค่า หน้า 28
  • 29. 4. เมนูข้อคิดเห็น เป็นเมนูสาหรับตั้งค่าต่าง ๆ เกี่ยวกับการแสดงความคิดเห็นของบล็อก คุณควรจะตั้งค่าต่าง ๆ ดังนี้ องค์ประกอบ ตั้งค่าเป็น ข้อคิดเห็น แสดง ใครสามารถแสดงความคิดเห็น ผู้ใช้ที่มีบัญชี Google การจัดวางฟอร์มความคิดเห็น วางไว้ใต้บทความ ความคิดเห็นเริ่มต้นสาหรับบทความ บทความใหม่มีความคิดเห็น ลิงก์ย้อนกลับ ซ่อน ค่าเริ่มต้นของลิงก์ย้อนกลับสาหรับบทความ บทความใหม่มีลิงก์ย้อนกลับ รูปแบบเวลาในส่วนความคิดเห็น ตั้งค่าตามใจ ข้อความของฟอร์มความคิดเห็น ไม่ต้องใส่ค่าใด ๆ ก็ได้ การจัดการความคิดเห็น ไม่ แสดงการตรวจสอบคาสาหรับความคิดเห็นหรือไม่ ไม่ แสดงรูปภาพโปรไฟล์บนความคิดเห็นหรือไม่ ใช่ อีเมลสาหรับแจ้งเตือนเมื่อมีความคิดเห็นใหม่ กรอก email ของคุณลงไป 5. เก็บเข้าคลังบทความ ตั้งให้เป็นรายเดือนจะดีที่สุด หน้า 29
  • 30. 6. ฟีดของไซต์ ถ้าบทความในบล็อกไม่มากนัก ตั้งค่าเป็น แบบเต็ม แต่ถ้าบทความมีประมาณ 100 ขึ้นไปควร จะตั้งเป็น แบบสั้น 7. อีเมลและมือถือ ในส่วนนี้เป็นการตั้งค่า อีเมลเพื่อให้ระบบส่งบล็อกของคุณทุกครั้งที่มีการเผยแพร่ และเป็น การตั้งค่า การใช้อุปกรณ์เคลื่อนที่ในการเขียนบล็อก ตรงนี้ผมยังไม่เคยลองเหมือนกัน 8. OpenID คุณสามารถใช้ OpenID URL เพื่อเข้าสู่ไซต์อื่นๆ ที่ใช้งาน OpenID นอกจากนี้คุณยังสามารถ กาหนดให้ผู้ใช้ OpenID สามารถแสดงความคิดเห็นในบล็อกของคุณ โดยปรับการตั้งค่า ความคิดเห็น ของคุณ 9. สิทธิ ในส่วนนี้คุณสามารถใช้ในการเปลี่ยนผู้เขียนบล็อก และเพิ่มผู้ดูแลระบบได้ถึง 100 ราย หน้า 30
  • 32. บทที่ 5 รู้จักและใช้งาน Gadget ชนิดต่างๆ บน Blogger เมื่อเรียนรู้เกี่ยวกับ การตั้งค่าต่าง ๆ ของบล็อก การเปลี่ยน Templates ให้กับบล็อกไปแล้ว ส่วนที่ เหลือคือ การจัดรูปแบบองค์ประกอบหน้าให้กับบล็อก รวมถึงการใช้งาน Gadget หลักชนิดต่างๆ ของ Blogger Gadget คืออะไร? Gadget ใน Blogger นั้นหมายถึงส่วนเสริมที่เราสามารถติดตั้งเพิ่มลงไปในแม่แบบของ Blogger ซึ่งบางครั้งก็ถูกเรียกว่า widget ซึ่งก็หมายถึงสิ่งเดียวกันกับ Gadget วิธีเพิม Gadget ่ ก่อนอื่นให้ Login เข้าไปที่ blogger หรือ draft.blogger >> จากแผงควบคุมให้เลือก การออกแบบ หน้า 32
  • 33. จากนั้นใน Layout ของแม่แบบคุณจะเห็นพื้นที่ ดังรูปด้านล่างเพื่อให้เพิ่ม Gadget และเมื่อคลิก เพิ่ม Gadget ก็จะปรากฏ Gadget พื้นฐาน 21 อย่างที่จะกล่าวถึงในหัวข้อนี้ นอกจากนี้ยังมี Gadget อีกมากมายซึ่งคุณสามารถเลือกได้จากเมนูแกดเจ็ดเพิ่มเติมทางซ้ายมือ เมื่อเลือก Gadget ที่ต้องการแล้ว คลิกที่ปุ่ม + เพื่อทาการเพิ่ม Gadget นั้น ใส่ชื่อ Gadget และตั้งค่าที่ ต้องการแล้วบันทึก รูปที่เห็นข้างบนเป็น Gadget ผู้ติดตาม สาหรับ Gadget อื่น ๆ ก็ทาได้ในทานองเดียวกัน หน้า 33
  • 34. รู้จักกับ Gadget พื้นฐาน 21 อย่างของ Blogger 1. Gadget หน้าเว็บ หลักการของ Gadget ชนิดนี้คือคุณจะต้องสร้างหน้าเว็บขึ้นมาก่อน แล้วใช้ Gadget นี้เป็นเมนูในการ เชื่อมโยงไปยังหน้าเว็บ 2. Gadget ผู้ติดตาม Gadget ชนิดนี้ใช้เพื่อให้ผู้อ่านที่ชื่นชอบบล็อกของคุณได้ติดตาม และเมื่อติดตามแล้วความเคลื่อนไหว และการ update บทความของจะไปปรากฏแผงควบคุมของผู้ติดตามโดยอัตโนมัติ และมีสิทธิในการแสดงความ คิดเห็นบนบล็อกของคุณได้ (กรณีที่คุณอนุญาตเฉพาะสมาชิก) 3. Gadget ช่องค้นหา เป็น Gadget ที่ติดตั้งเพื่อให้ผู้อ่านสามารถค้นหาสิ่งที่ต้องการในบล็อกของคุณได้ง่ายขึ้น หน้า 34
  • 35. 4. Gadget HTML/จาวาสคริปต์ Gadget ชนิดนี้เป็น Gadget ที่ยืดหยุ่นที่สุดในบรรดา Gadget ทั้งหมด สามารถประยุกต์ใช้ได้หลากหลาย เหมาะสาหรับใช้ติดตั้งโค้ดต่าง ๆ ลงบน Blogger เช่น โค้ดปฏิทิน นาฬิกา โค้ดจาวาสคริปต์ โค้ดรูปภาพ โค้ดวีดีโอ โค้ดของลิงค์ เป็นต้น 5. Gadget ข้อความ เป็น Gadget ที่เหมาะสาหรับเขียนข้อความ เช่น ข้อความต้อนรับ เป็นต้น 6. Gadget Adsense คุณจะใช้ Gadget ชนิดนี้ได้เมื่อสมัครเข้าร่วมโปรแกรมหรือเป็นตัวแทนในการเผยแพร่โฆษณาบน Google 7. Gadget รูปภาพ ถ้าคุณต้องการแสดงรูปภาพบนบล็อกอย่างเดียวก็ให้เลือกใช้ Gadget นี้ครับ หน้า 35
  • 36. 8. Gadget สไลด์โชว์ Gadget นี้เป็นการดึง Albums จาก Picasaweb มาแสดงในรูปแบบสไลด์โชว์บนบล็อกของ 9. Gadget แถบวีดีโอ Gadget นี้จะทาให้ผู้ใช้ค้นหาวีดีโอบน Youtube จากบล็อกของคุณได้ 10. Gadget แบบสารวจ Gadget นี้ถือเป็น Gadget หนึ่งที่น่าสนใจมาก แต่ยังมีผู้ใช้จานวนน้อย โดยคุณอาจจะใช้สารวจความ ต้องการ หรือความคิดเห็นของผู้อ่านต่อบล็อกของคุณ หรือสารวจเกี่ยวกับเรื่องที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาบน บล็อกของคุณก็ได้ 11. Gadget รายการบล็อก Gadget ชนิดนี้เป็น Gadget ที่สามารถรวบรวมข่าวสารล่าสุดจากบล็อกที่คุณเลือกหรือบล็อกที่คุณติดตาม พร้อมทั้งสามารถแสดงเนื้อหาแบบย่อได้ด้วย หน้า 36
  • 37. 12. Gadget รายชื่อลิงค์ เป็น Gadget ที่ใช้สร้างลิงค์ไปยังที่ต่าง ๆ โดยคุณสามารถป้อน URL บน Gadget ชนิดนี้เพื่อสร้าง Link โดยไม่ต้องมีความรู้เรื่อง HTML มาก่อนเลย 13. Gadget รายการ เป็น Gadget ที่คล้ายคลึงกับ Gadget รายชื่อลิงค์ แต่มีความยืดหยุ่นกว่า สามารถสร้างข้อความรายการ และใส่ link ให้ข้อความได้ด้วย 14. Gadget ฟีด คุณสามารถใช้ Gadget นี้ดึงข่าวสารจากในบล็อกของคุณ หรือบล็อกอื่นที่คุณสนใจเอามาแสดงเพียงแค่ใส่ ชื่อบล็อกที่ต้องการลงไปลงไปใน gadget 15. Gadget Newsreel เป็น gadget ที่ทาให้พาดหัวข่าวจาก Google มาปรากฏบนบล็อกของคุณเท่านั้น หน้า 37
  • 38. 16. Gadget ป้ายกากับ Gadget นี้มีความสาคัญ คุณควรจะติดตั้ง เพื่อให้บทความที่เขียนเป็นหมวดหมู่ ให้ผู้อ่านเห็นชัดเจนเลือก อ่านได้ตรงความต้องการมากขึ้น 17. Gadget ลิงค์การสมัคร Gadget นี้มีความสาคัญในเรื่องการส่งข่าวสารข้อมูลจากบล็อกของคุณไปยังผู้อ่าน ผู้อ่านจะสามารถสมัคร รับบทความทาง email หรือผ่านช่องทางอื่น ๆ ได้จาก Gadget นี้ 18. Gadget โลโก้ Gadget นี้ไม่สาคัญนักเป็นเพียงติดตั้ง logo ของ blogger ในหน้าบล็อกเท่านั้น 19. Gadget โปรไฟล์ Gadget นี้จะแสดงข้อมูลอย่างของคุณที่ได้กรอกเอาไว้บนบัญชีของ Blogger ถ้าคุณต้องการแสดงข้อมูล ของคุณบน Blog ก็ควรจะติดตั้ง Gadget นี้ครับ หน้า 38
  • 39. 20. Gadget คลังบทความของบล็อก Gadget นี้จะทาให้ผู้อ่านเห็นบทความทั้งหมดภายในบล็อกของคุณได้ 21. Gadget ส่วนหัวของหน้า Gadget นี้เป็นส่วนที่ใส่ Title และ Description ของ Blog โดยปกติแล้ว Template ทั่วไปก็จะติดตั้งส่วนนี้ อยู่แล้ว คุณสามารถทดลองใช้ Gadget เหล่านี้ได้โดยไม่ต้องกลัวความผิดพลาดเพราะ Gadget บน Blogger นั้นสามารถลบออกได้อย่างง่ายดายโดยวิธีการจัดการกับ Gadget หน้า 39
  • 40. บทที่ 6 การจัดการกับ Gadget ในหน้าบล็อก ในบทที่ผ่านมาเราได้ รู้จักและใช้งาน Gadget ชนิดต่าง ๆ บน Blogger ผมได้กล่าวถึงวิธีการเพิ่ม Gadget ให้กับบล็อก แต่ยังไม่ได้กล่าวถึงการลบ Gadget ออกจากองค์ประกอบของหน้า และนอกจากนี้ ตาแหน่งของ Gadget ยังสามารถเคลื่อนย้ายตาแหน่งได้อีกด้วย การลบ Gadget วิธีที่ 1 ถ้าในขณะที่เรา log in และเปิดหน้าบล็อกของเราขึ้นมา ก็จะสังเกตเห็นว่ามีเครื่องมือ ปรากฏอยู่ตามที่ต่างๆ ในองค์ประกอบของหน้า และถ้าเราคลิกเข้าไปก็จะสามารถแก้ไข หรือ ลบองค์ประกอบเหล่านั้นออกไปได้เลยครับ หน้า 40
  • 41. วิธีที่ 2 เราสามารถเข้าไปลบ Gadget ได้ที่ แผงควบคุม >> การออกแบบ >> องค์ประกอบของ หน้า >> เลือกแก้ไข Gadget ที่ต้องการลบ จากนั้นเลือกลบได้เช่นเดียวกับกรณีแรก การย้ายตาแหน่ง Gadget สาหรับการย้ายตาแหน่งของ Gadget ทาได้โดยการ เข้าไปที่แผงควบคุม >> การออกแบบ >> องค์ประกอบหน้าจากนั้นให้ลากเมาส์บน Gadget ที่ต้องการย้ายไปวางในตาแหน่งที่ต้องการได้เลยครับ หน้า 41
  • 42. เมื่อเข้าใจการทางานของ Gadget ชนิดต่าง ๆ แล้วสิ่งที่อยากจะฝากเอาไว้ตอนท้ายนี้ก็คือการจัด องค์ประกอบหน้าของบล็อกดังนี้ แนวทางในการจัดองค์ประกอบหน้าบล็อก แนวทางในการจัดองค์ประกอบหน้านั้นไม่มีกฎเกณฑ์ต ายตัว บางคนชอบให้มี 2 column บางคน ชอบให้มี 3 column ซึ่งก็ขึ้นอยู่กับความชอบและความต้องการใช้งาน แต่ที่อยากให้คานึงไว้เสมอคือ ผู้อื่น คือ พระเจ้า ทาอะไรให้เข้าใจง่ายๆ หาอะไรก็เจออย่างรวดเร็ว เข้าไว้เป็นพอครับ และอีกประการที่สาคัญคือ การติดตั้ง Gadget ต่าง ๆ ควรติดตั้งเท่าที่จาเป็นและต้องการใช้งาน ปฏิทิน หรือนาฬิกานั้นก็ไม่ควรติดตั้ง ลงไปเลย เพราะไม่คุ้มค่ากับการเพิ่มภาระการโหลดให้กับผู้เข้าชม และถ้าบล็อกของคุณโหลดได้ช้า ก็ เป็นไปได้ยากที่ผู้อ่านจะกลับมาอีก องค์ประกอบในหน้าของบล็อกที่ผมคิดว่าคุณควรจะมีคือ ส่วนที่บอกตัวตนของบล็อก : ซึ่งอาจจะแสดงในส่วนหัวของหน้า หรือเป็นวีดีโอ /สไลด์/ข้อความ/รูปถ่าย อยู่ในตาแหน่งที่เห็นได้ ชัด ส่วนที่เชื่อมโยงไปยังบทความในบล็อก : ส่วนนี้จาเป็นมากเพราะจะช่วยให้ผู้อ่านค้นหาบทความได้เร็วขึ้น คุณอาจจะรวมบทความทั้งหมด เลยหรือ อาจจะใช้วิธีจัดหมวดหมู่ให้ผู้อ่านเลือกสิ่งที่ต้องการจากบล็อกของเราได้เร็วขึ้น ส่วนพื้นที่ของสมาชิก : ส่วนนี้จะแสดงให้เห็นว่ามีผู้สนใจบล็อกของเรามากแค่ไหน และสามารถสมัครติดตามบล็อกของ เราได้ทันที เช่นอาจจะใช้ Gadget ผู้ติดตาม หรือใช้ Like box Plugins ของ Facebook หรืออาจจะทา Poll ก็ได้ ส่วนที่เป็นช่องทางให้ผู้อ่านติดต่อเราได้ : คุณอาจจะทา link เชื่อมโยงให้ผู้อ่านติดต่อคุณได้ หรืออาจจะใช้ Gadget profile ของ Blogger เพื่อแนะนาตัวก็ได้ หน้า 42
  • 43. บทที่ 7 การแสดงข่าวสารล่าสุดด้วย Gadget ฟีด ความหมายของคาว่า ฟีดโดยสรุปก็คือเป็นสิ่งที่แพร่กระจายจากบล็อกของเราบนโลก Internet เทียบได้กับคลื่นสัญญาณวิทยุหรือโทรทัศน์ ถ้ามีตัวรับทุกคนก็สามารถมองเห็นข่าวสารที่ต้องการเลือกรับ ได้ นอกจากนี้ถ้ามีตัวช่วยส่งให้ฟีดแพร่ได้แรงขึ้น ข่าวสารก็ย่อมจะแพร่กระจายได้เร็วด้วย ดังนั้นถ้าคุณสนใจข่าวสารจากบล็อกใดบล็อกหนึ่งคุณก็สามารถที่จะเปิดรับข่าวสารจากบล็อก นั้นๆ โดยใช้ Gadget ฟีด ซึ่งเป็น Gadget ที่สามารถเพิ่มได้อย่างไม่จากัด ดังนั้นถ้าคุณต้องการรับข่าวจาก 10 บล็อกก็สามารถทาได้โดยการเพิ่ม gadget ฟีดเข้าไปในบล็อก 10 ครั้ง ในขณะเดียวกันถ้าคุณใส่ชื่อ บล็อกของตัวเองใน Gadget ฟีด Gadget ชนิดนี้จะกลายเป็น Gadget ที่ใช้แสดง บทความล่าสุดนั่นเอง ครับ การแสดงข่าวสารล่าสุดโดยการใช้ Gadget ฟีด 1. ไปที่องค์ประกอบของหน้า >> เพิ่มฟีด Gadget หน้า 43
  • 44. 2. ใส่โค้ดต่อไปนี้ลงไปใน Gadget ฟีด http://ชื่อบล็อก.blogspot.com/feeds/posts/default โดยจะต้องเปลี่ยนชื่อบล็อกเป็นชื่อบล็อกของของคุณเองหรือชื่อบล็อกที่คุณต้องการรับข่าวสารที่ update ตั้งค่าที่ต้องการเพิ่มเติมและบันทึกก็จะได้ feeds ข่าวสารมาปรากฏที่บล็อกของคุณ 3. ถ้าต้องการเพิ่มบล้อกอื่นอีกก็ทาซ้าข้อ 1 และ 2 แต่ต้องเปลี่ยนชื่อบล็อกใหม่ 4. กรณีที่คุณต้องการเรียก feed จากเว็บที่ต้องการให้ค้นหา feed จากเว็บ www.google.com แล้วแทนโค้ดในข้อ 2 เช่น feed ข่าวการศึกษาจากเว็บ http://www.rssthai.com/ ให้ใส่โค้ด http://www.rssthai.com/news.php?t=education แทนในข้อ 2 หน้า 44
  • 45. บทที่ 8 แนะนา Gadget ใหม่ของ blogger “หน้าเว็บ” ตามเว็บไซต์ต่าง ๆ เราคงจะเคยเห็นกันว่าแต่ละเว็บไซต์จะมี เมนูสาหรับเลือกเปิดไปดูหน้าอื่น ๆ ภายในเว็บนั้นๆ เช่น ตัวอย่างในรูปด้านล่าง Blogger ได้พัฒนา Gadget ตัวใหม่ขึ้นมา มีชื่อว่า หน้าเว็บ เพื่อให้ผู้ใช้ได้สร้างหน้าของบล็อกที่ต้องการได้ โดยไม่ต้องมีความรู้ในการดัดแปลงหรือแก้ไขแม่แบบด้วยตนเอง การเรียกใช้ Gadget ชนิดนี้สามารถเลือกใช้ได้เช่นเดียวกับการ Add Gadget ชนิดอื่น ๆ นั่นคือ ไปที่ องค์ประกอบของหน้า >> แล้วเลือก เพิ่ม Gadget ต่อไปเรามาดูว่า Gadget นี้ ใช้อย่างไร และใช้เพื่อจุดประสงค์ใด หลักการของ Gadget นี้เหมือนการสร้างบทความขึ้นมา 1 บทความ และ สร้าง Link เชื่อมโยงไป ยังบทความนั้น ๆ แต่มีความพิเศษตรงที่ผู้ใช้ทั่วไปสร้างเมนูขึ้นเองได้อย่างง่ายดาย โดยไม่ต้องมีความรู้ พื้นฐานเกี่ยวกับ HTML เลย หน้า 45
  • 46. ตัวอย่างวิธีการใช้งาน(จริง) ในตัวอย่างนี้ผมจะสร้าง 2 หน้าให้เห็นเป็นตัวอย่าง ได้แก่ HOME และ CONTACT ME ขั้นเตรียมการ เนื่องจากผมจะยกตัวอย่างการสร้างหน้า Contact me ดังนั้นให้ทุกคนไปสร้าง Form สาหรับ ติดต่อเจ้าของบล็อกซึ่งก็คือเราเอง ได้ที่ http://www.foxyform.com/ ซึ่งขั้นตอนในการสร้าง ฟอร์มนั้นง่ายมาก มีเพียง 4 ขั้นเท่านั้น (ดูรูป) หน้า 46
  • 47. เมื่อได้โค้ด แล้วคัดลอกเก็บเอาไว้ก่อนครับ ขั้นสร้างหน้าเว็บจริง ขั้นที่ 1 สร้างหน้าแรก หรือ HOME Log in เข้าไปที่ draft.blogger ไปที่แผงควบคุม >> องค์ประกอบของหน้า >> แล้วเลือก เพิ่ม Gadget เลือกอันแรกเลยครับ คือ gadget หน้าเว็บ จากนั้นก็สร้าง หน้าแรกขึ้นมาโดยตั้งชื่อตามที่ต้องการได้เลย แล้วทาการบันทึกครับ หน้า 47
  • 48. ขั้นที่ 2 เมื่อผ่านขั้นที่ 1 มาแล้วก็เท่ากับว่าเราได้สร้าง หน้าบล็อกขึ้นมาแล้ว 1 หน้า ถ้าจะทาการเพิ่มหน้าอีก ให้ไปที่แผงควบคุม >> การส่งบทความ >> แก้ไขหน้าเว็บ >> หน้าเว็บใหม่ เมื่อคลิกสร้างหน้าเว็บใหม่ เราก็จะพบเครื่องมือต่าง ๆ เหมือนการเขียนบทความนั่นเองครับ หน้า 48
  • 49. ให้นาโค้ดของ Form ที่เตรียมไว้ จากขั้นเตรียมการมาวางในหน้าหน้านี้ จัดรูปแบบตามต้องการแล้วบันทึก หน้าได้เลยครับ เพียงขั้นตอนสั้น ๆ นี้เราก็จะมีเมนูเชื่อมโยงไปยัง หน้าของบล็อกถึง 2 หน้าด้วยกัน ได้แก่ HOME และ CONTACT ME หน้า 49
  • 50. ขั้นที่ 3 - ถ้าหากต้องการเพิ่มหน้าบล็อกเพิ่มขึ้นอีกก็ทาซ้าขั้นตอนที่ได้กล่าวมาข้างต้นครับ - แต่ถ้าต้องการลบหน้าบล็อกทิ้ง ก็มาที่เดิม แล้วจะเห็นคาว่าลบ ถ้าต้องการลบทิ้งก็กดคาว่าลบ ได้เลย ขั้นที่ 4 วิธีจัดการกับเมนูหน้าเว็บ - ถ้าต้องการเรียงลาดับหน้าเว็บใหม่ ก็ไปที่ องค์ประกอบของหน้า แล้ว คลิก Gadget หน้าเว็บ ขึ้นมาแก้ไข >> ดูรูป หน้า 50
  • 51. นอกจากนี้ Gadget หน้าเว็บจะมีลักษณะพิเศษ คือ ถ้าอยู่ที่ Sidebar เมนูจะจัดเรียงเป็นแนวตั้ง หน้า 51
  • 53. บทที่ 9 นับจานวนคนเยี่ยมชมด้วย Flagcounter อีกบริการนับสถิติคนเยี่ยมชมที่ช่วยให้เราทราบว่าบล็อกของเรามีผู้เยี่ยมชมทั้งในและต่างประเทศ มากหรือน้อย จาก Flagcounter วิธีติดตั้ง 1. ไปที่ http://www.flagcounter.com/index.html 2. ตั้งค่าต่างๆ ตามความต้องการแล้วกด GET YOUR FLAG COUNTER ดังรูป 3. คัดลอก HTML โค้ด ที่ FLAG COUNTER ได้สร้างให้ในขั้นที่ 2 หน้า 53
  • 54. 4. กลับมาที่บล็อกของเรา ไปที่แผงควบคุม >> รูปแบบ >> องค์ประกอบหน้า >> เพิ่ม Gadget ชนิด HTML/จาวาสคริปต์ 5. วางโค้ดที่คัดลอกมาจากขั้นที่ 3 แล้วบันทึกครับก็เป็นอันจบขั้นตอนครับ ลักษณะที่ได้ก็ดังรูป หน้า 54
  • 55. บทที่ 10 รูปภาพในบทความบน Blogger คุณเคยสงสัยไหมครับว่า รูปภาพที่คุณ upload ขึ้น ไปขณะที่เขียนบทความ หรืออาจจะเขียนบทความไปแล้ว รูป เหล่านั้นไปอยู่ที่ไหน เพราะว่า Blogger เองไม่มี sever ยัง ต้องอาศัยฐานข้อมูลของตัวแม่คือ blogspot.com อยู่ แล้ว จะเอาพื้นที่ ๆ ไหนมาเก็บรูปตั้งมากมาย? คาตอบคือ Blogger จะใช้วิธีเชื่อมโยงกับ Application อื่น ๆ ของ Google เพื่อแก้ปัญหาการเก็บข้อมูล เช่นรูปภาพใน Blogger ที่เราพูดถึงกันอยู่ตอนนี้ก็จะถูกเก็บ อยู่ที่ Picasa Web Albums ดังนั้นไม่ว่าจะเป็นภาพที่คุณ Upload ขณะเขียนบทความ ก็จะถูกเก็บอยู่ใน Picasa Web Albums ทั้งหมด คุณใช้บริการ Picasa Web Albums ได้อย่างไร? การใช้บริการ Picasa Web Albums สามารถเข้าใช้ได้ทันทีหากคุณมีบัญชีผู้ใช้กับ google อยู่ แล้ว เช่นมีบัญชีผู้ใช้ Gmail หรือ Blogger อยู่แล้วก็สามารถ Log in เข้าใช้ได้เลย Picasa Web Albums ให้พื้นที่เท่าไร? Picasa จะให้พื้นที่ เพียง 1 GB ต่อ 1 บัญชีผู้ใช้ นี่เป็นเหตุผลที่บางคนอาจจะสงสัยว่าทาไม คุณภาพรูปหรือขนาดของรูปบน Blogger จึงลดลง กล่าวคือระบบของ Picasa จะทาการลดขนาดของรูปที่ เรา Upload ผ่าน Blogger ให้มีขนาดเล็กลงเพื่อเป็นการประหยัดพื้นที่นั่นเอง หน้า 55
  • 56. คุณจะเข้าไปจัดการรูปภาพจาก Blogger ใน Picasa Web ได้อย่างไร? การจัดการภาพใน Picasa Web Albums ทาได้ 2 วิธีคือ 1. ใช้ Software ที่พัฒนาขึ้นมาจัดการ Picasa Web Albums โดยเฉพาะ คุณสามารถเข้าไปดาวน์โหลด Picasa ได้ที่ http://picasa.google.com/ 2. เข้าไปจัดการที่เว็บไซต์ Picasa Web Albums โดยตรง โดยไปที่ http://picasaweb.google.com และ Log in โดยใช้ชื่อบัญชีเดียวกับ Blogger คุณสามารถเข้าไป Unload ภาพได้โดยตรงกับ Picasa แล้วเรียกมาใช้บน blogger ได้โดยใช้ตัวเลือก อัปโหลด หน้า 56
  • 57. แต่ถ้าต้องการรูปภาพบน Blogger ที่ได้อัปโหลดขึ้นไปแล้วก็คลิกที่อัลบัมที่ต้องการแล้วเข้าไปจัดการภาพได้ เช่นกัน ลบรูปภาพบน Blogger แล้วรูปบน Picasa จะถูกลบด้วยหรือไม่? การลบรูปภาพบน Blogger ไม่ส่งผลใด ๆ ต่อ Picasa Web Albums เลยเว้นแต่คุณจะเข้ามาลบ ใน Picasa Web Albums โดยตรง ดังนั้นถ้าในขณะเขียนบทความคุณเผลอทาพลาดรูปภาพหายไป ก็ สามารถเข้ามาเอารูปภาพจาก Picasa Web Albums ใช้งานได้อีกโดยไม่ต้อง upload ซ้า หรือไม่ต้องไปหา ภาพมาใหม่ บทสรุป บทนี้แนะนาให้พอรู้จักการเชื่อมโยงระหว่าง Blogger และ Picasa Web Albums ซึ่งเป็นบริการ ในเครือข่าย Google เหมือนกัน และจะทาให้คุณเข้าใจการจัดการเกี่ยวกับภาพบน Blogger ได้ดีขึ้น หน้า 57
  • 58. บทที่ 11 การสร้างวีดีโอใน YouTube และนามาใส่ในบล็อก ถ้ามีวีดีโอในหน้าบล็อกของเราด้วย การสื่อสารเรื่องราวต่างๆ ก็จะมีชีวิตชีวาและเข้าใจง่ายขึ้น ซึ่ง ในที่นี้เราสามารถสร้างได้ไม่ยากด้วยบริการของ www.youtube.com ครับ ขั้นตอนการฝากวีดีโอไว้กับ youtube 1. ไปที่ www.youtube.com แล้วเลือก Create Account ที่มุมขวาบนซึ่งในกรณีที่เรา Login อยู่ ในเว็บบล็อกของเรานั้น ก็สามารถใช้บริการของ youtube ด้วย Account เดิมโดยไม่ต้องสมัครใหม่ครับ วิธีการทาได้โดย 1.1 คลิกที่ 1.2 กรอกข้อมูลสาหรับการสร้างบัญชี โดยใช้ username ของ gmail ของเราเอง 1.3 จากนั้น คลิก หน้า 58
  • 59. 1.4 จะพบหน้าต่างให้กรอก Username และ รหัสผ่าน ของ gmail ให้กรอก e-mail ของเรา จะพบหน้าจอ ดังนี้ จากนั้นเราก็สามารถทาการเพิ่ม Video ได้ตามที่เราต้องการ หน้า 59
  • 60. 2. การฝาก youtube มีเงื่อนไขสาคัญๆ ดังนี้ - ความยาวของวีดีโอไม่เกิน 10 นาที - ควรเป็นวีดีโอที่ไม่กระทบต่อสถาบัน ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และ ศีลธรรมอันดีงามของสังคม 3. การ upload วีดีโอขึ้นไปที่เมนู upload (ที่มุมขวาบน) แล้วทาการเลือกไฟล์วีดีโอจากเครื่องของ เรา และรอจนการ upload เสร็จสิ้น 3.1 คลิกที่ปุ่ม Uploads 3.2 คลิกที่ปุ่ม Upload Video 3.3 เลือกไฟล์ Video ที่ต้องการ 3.4 3.4 เมื่อ Upload ได้ 100% แล้วให้คลิก Save change หน้า 60
  • 61. 4. เมื่อ upload เสร็จสิ้นแล้วคลิกที่ข้อความ Embed and Sharing Options เราก็เห็น HTML code ให้คัดลอก code เหล่านั้นมาแปะในส่วนที่เราต้องการ เช่นในที่นี้ผมคัดลอก code มาแปะในบทความก็จะได้ผลลัพธ์เป็นวีดีโอตามด้านล่างที่เห็นครับ หน้า 61
  • 62. เรื่อง หน้า บทนา………………………………………………………………………………………………………. 1 บทที่ 1 การสร้างเว็บบล็อก………………………………………………………………………………… 4 บทที่ 2 วิธีเปลี่ยน Template ของ Blogger……………………………………………………………….. 12 บทที่ 3 วิธีเขียนและจัดการบทความในบล็อก…………………………………………………………….. 22 บทที่ 4 การตั้งค่าพื้นฐานต่างๆ ให้กับบล็อก………………………………………………………………. 26 บทที่ 5 รู้จักและใช้งาน Gadget ชนิดต่างๆ บน Blogger………………………………………………… 32 บทที่ 6 การจัดการกับ Gadget ในหน้าบล็อก…………………………………………………………….. 40 บทที่ 7 การแสดงข่าวสารล่าสุดด้วย Gadget ฟีด………………………………………………………… 43 บทที่ 9 นับจานวนคนเยี่ยมชมด้วย Flagcounter…………………………………………………………. 53 บทที่ 10 รูปภาพในบทความบน Blogger………………………………………………………………… 55 บทที่ 11 การสร้างวีดีโอใน YouTube และนามาใส่ในบล็อก……………………………………………… 58 หน้า 62
  • 63. 255 เอกสารประกอบการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาสื่อการเรียนการสอน โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ร่วมกับ Weblog หน้า 63