SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  55
Télécharger pour lire hors ligne
ประชากร
ประชากร (Population)
หมายถึงรายการทั้งหมดหรื อสมาชิกทั้งหมดของหน่วย
หรื อสิ่ งที่ถูกเลือกเพื่อใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
่
และต้องปรากฏอยูใน ขณะที่ทาการวิจย
ํ
ั
ประเภทของประชากร
ประชากรที่มีจานวนจํากัดหรื อนับถ้วน (Finite
ํ

population) สามารถนับจํานวนได้แน่นอน เช่น
จํานวนนักศึกษา จํานวนบริ ษท จํานวนหนังสื อใน
ั
หมวดคอมพิวเตอร์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยแห่ง
หนึ่ง เป็ น
ประชากรที่มีจานวนไม่จากัด (Infinite
ํ
ํ

population) ซึ่งไม่สามารถนับจํานวน
ประชากรได้แน่นอน เช่น จํานวนเม็ดทราย
เม็ดข้าว ปริ มาณนํ้าในมหาสมุทร เป็ นต้น
ประชากรที่ใช้ในการวิจยอาจจะหมายถึง คน สัตว์ สิ่ งของ สถานที่ ดังเช่น
ั
 หนังสื อ หนังสื ออ้างอิง บทความในสารานุกรม รายการบรรณานุกรม
ท้ายเล่มของบทความ
 จังหวัด อําเภอ ตําบล
 สัตว์ป่า เสื อ เสื อดาว
 ข้าราชการ ข้าราชการสังกัดมหาวิทยาลัย บุคลากรห้องสมุด บรรณารักษ์
บรรณารักษ์บริ การตอบคําถาม บรรณารักษ์ให้บริ การตอบคําถามผ่าน
เว็บไซต์ บรรณารักษ์ให้บริ การตอบคําถามผ่านกระดานสนทนา
กลุ่มตัวอย่าง (Sample)
หมายถึงหน่วยหรื อองค์ประกอบบางส่ วนที่ถูกเลือกมา
จากประชากรทั้งหมด เนื่องจากไม่สามารถศึกษา
ประชากรทั้งหมด ทําให้ผวจยต้องเลือกศึกษา
ู้ ิ ั
บางส่ วนเพื่อใช้เป็ นตัวแทนในการศึกษา
การสํารวจห้องสมุดมหาวิทยาลัย 20 แห่ ง จาก

ห้องสมุดมหาวิทยาลัยทั้งหมด
การศึกษาบรรณารักษ์หองสมุดเฉพาะ 50 คน จาก
้
บรรณารักษ์หองสมุดเฉพาะทั้งหมด
้
การวิเคราะห์หนังสื อการ์ ตูนแปลจากภาษาญี่ปุ่น
200 เล่มจากหนังสื อการ์ตูนญี่ปุ่นทั้งหมด
ทําไมต้องสุ่ มตัวอย่าง

ประชากรมีขนาดใหญ่เกินไป
ข้อจํากัดด้านเวลา
ประหยัดงบประมาณ
ประหยัดแรงงาน
ความถูกต้องและแม่นยํา
ข้อมูลบางอย่างไม่สามารถศึกษาได้ท้ งหมด
ั
ไม่รู้จานวนที่แน่นอนของประชากร
ํ
หลักการเลือกกลุ่มตัวอย่างที่ดี

การเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร

(Representativeness) กลุ่มตัวอย่างต้องมีคุณลักษณะ
และสมบัติที่เหมือนหรื อคล้ายกับประชากรมากที่สุด
เน้นประโยชน์ที่จะได้รับ ( Efficiency and

Practicality) กลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดใหญ่เกินไปอาจจะ
ทําให้สูญเงิน เวลา และความพยายามในการทํางาน
มากแทนที่จะทําให้เกิดผลดีอาจจะส่ งผลเสี ยมากกว่า
ขั้นตอนการสุ่ มตัวอย่าง
กําหนดหรื อนิ ยามประชากร
ตรวจสอบหน่วยหรื อรายชื่อหรื อรายการที่จะสุ่ ม
กําหนดขนาดหรื อจํานวนของกลุ่มตัวอย่าง
กําหนดวิธีการสุ่ มตัวอย่าง
การนิยามประชากร

การสุ่ มตัวอย่างจะต้องกําหนดประชากรที่จะสุ่ มให้
ชัดเจน ประชากรคือใครหรื ออะไร มีขอบเขตแค่
ไหน ดังเช่น
บรรณารักษ์งานบริ การตอบคําถาม ของห้องสมุด
มหาวิทยาลัยของรัฐ
หนังสื อการ์ ตูนแปลจากภาษาญี่ปุ่น ที่ตีพิมพ์

ในช่วงปี พ.ศ. 2538-2540
บทความทางบรรณารักษศาสตร์ ของนักเขียน
ไทยที่ตีพิมพ์ในวารสารภาษาต่างประเทศ
ในช่วงปี พ.ศ.2500-2548
ห้องสมุดโรงเรี ยนสาธิ ตมัธยมศึกษา ที่สงกัด
ั
ทบวงมหาวิทยาลัย
การตรวจสอบประชากร
ประชากรทั้งหมดจะต้องได้รับการตรวจสอบให้

ชัดเจนและแน่นอนก่อนทําการสุ่ ม เพื่อที่จะการสุ่ ม
ตัวอย่างมีความน่าเชื่อถือ โดยตรวจสอบว่าประชากร
่
แต่ละหน่วย ยังอยูในกลุ่มประชากร เพราะประชากร
บางประเภทมีการเปลี่ยนแปลงตลอด ดังเช่น
บรรณารักษ์ที่ปฏิบติงานในห้องสมุดโรงเรี ยน
ั

สาธิตมัธยมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
ยังคงมีจานวนเท่าเดิม ไม่ได้เพิมหรื อลด
ํ
่
จํานวนลงในขณะที่จะทําการสํารวจ เพราะ
สัดส่ วนของการเลือกกลุ่มตัวอย่างจะ
เปลี่ยนไป
วิธีการเลือกกลุ่มตัวอย่าง

แบบอาศัยความน่าจะเป็ น (Probability sampling)
แบบไม่อาศัยความน่าจะเป็ น (Non-probability

sampling)
การเลือกแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็ น

การเลือกแบบนี้ใช้ในกรณี ที่จะไม่สามารถอาศัยความ
น่าจะเป็ นในการสุ่ มอาจจะด้วยสาเหตุ
 ไม่ทราบประชากรที่แน่นอน
 เหตุผลด้านความปลอดภัย
 ความสะดวก
 ความรวดเร็ วในการวิจย
ั
การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบนี้มีขอจํากัดหลายประการ
้
โดยเฉพาะการเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร เพราะไม่
สามารถคํานวณความคาดเคลื่อนในการวิเคราะห์
ข้อมูล ดังนั้น การเลือกตัวอย่างแบบนี้ อาจจะไม่เป็ นที่
ยอมรับในผลการวิจย แต่อย่างไรก็ตามผลการศึกษา
ั
สามารถใช้เป็ นพื้นฐานสําหรับการศึกษา
การค้นหาแนวคิดที่ยงไม่ได้มีการพัฒนา
ั
ใช้ในการ pre-test กลุ่มศึกษาขนาดใหญ่ก่อนการเก็บ

ข้อมูลจริ ง
เพื่อใช้ในการค้นหาทฤษฎีหรื อกําหนดสมมุติสาหรับ
ํ
การศึกษาจริ ง
รู ปแบบการเลือกแบบไม่อาศัยความน่าจะเป็ น
การเลือกแบบบังเอิญ

การเลือกแบบกําหนดสัดส่ วน
แบบเจาะจง

แบบสะดวก

การใช้การบอกต่อของกลุ่มตัวอย่าง
การเลือกแบบบังเอิญ (Accidential S.)

ํ
การเลือกแบบไม่ได้กาหนดไว้ล่วงหน้า กลุ่มตัวอย่าง
จะเป็ นใครก็ได้ที่สามารถให้ขอมูล จะพบบ่อยมาก
้
ในการถามข้อมูลตามป้ ายรถประจําทาง หรื อหน้า
ศูนย์การค้า เพื่อเพิมความน่าเชื่อถือของข้อมูลควร
่
เลือกสถานที่เก็บข้อมูลให้ตรงกับกลุ่มที่จะให้ขอมูล
้
การเลือกแบบกําหนดสัดส่ วน (Quota Sampling)
การเลือกตัวอย่างแบบเหมือนกับแบบบังเอิญ แต่

เพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่กระจายและมีความ
ํ
น่าเชื่อถือกว่าจึงได้กาหนดสัดส่ วนของผูที่จะเลือก
้
ให้ออกเป็ นกลุ่มย่อย เช่น แบ่งผูที่จะให้ขอมูลตาม
้
้
ป้ ายรถเมล์ เป็ นเพศชาย 50 และหญิง 50 คน
การเลือกแบบเจาะจง
(Purposive/judgmental Sampling)
การที่ผวจยเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วจารณญาณ
ู้ ิ ั
ิ

ของตัวเองตัดสิ นว่าจะเลือกใครเป็ นกลุ่มตัวอย่าง
สําหรับการศึกษาในแต่ละเรื่ อง มีจุดบกพร่ องคือการ
่ ั
ตัดสิ นใจของแต่ละคนมีความแตกต่างกันขึ้นอยูกบ
ทัศนคติ และประสบการณ์ของแต่ละคน
การเลือกตามความสะดวก
(Convenience Sampling)
การเลือกผูวจยเลือกกลุ่มตัวอย่างตามความสะดวก
้ิั

ของตัวเอง เช่น บรรณารักษ์เลือกกลุ่มตัวอย่างจากผู ้
ที่เข้าถามคําถามในแผนกบริ การตอบคําถาม
การศึกษาที่เกี่ยวข้องกับยาเสพย์ติดจากผูที่อยูในการ
้ ่
ควบคุมของสถานพินิจหรื อเรื อนจํา เป็ น
การเลือกโดยอาศัยกลุ่มตัวอย่างบอกต่อ
(Snowball sampling)
การเลือกกลุ่มตัวอย่างโดยกลุ่มตัวอย่างแนะนําให้

รู ้จกกลุ่มตัวอย่างคนอื่นๆ ในกลุ่มของพวกเขาต่อไป
ั
เรื่ อยๆ ใช้ในกรณี ที่ไม่ทราบประชากรที่แน่นอน เช่น
การศึกษาผูทางานบริ การพิเศษ หรื องานในลักษณะ
้ ํ
คล้ายกัน
การสุ่ มโดยอาศัยความน่าจะเป็ น
กลุ่มตัวอย่างแบบอาศัยความน่าจะเป็ น (probability

sample) คือการกําหนดกลุ่มตัวอย่างโดยอาศัยกฎ
ความน่าจะเป็ น ซึ่งทําให้กลุ่มตัวอย่างที่ได้มี
แนวโน้มจะเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร
ั
การสุ่ มแบบนี้มีความสัมพันธ์หรื อใช้กนมากในการวิจย
ั
เชิงสํารวจ เพราะกลุ่มตัวอย่างที่ได้จะต้องเป็ นตัวแทนที่
ดีของประชากร ซึ่งจะส่ งผลต่อการทดสอบสมมุติฐาน
และคุณภาพของงานวิจยต่อไป
ั
ส่ วนการวิจยบางประเภทเช่นการทดลองอาจจะเลือก
ั
กลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง การสุ่ มตัวอย่างแบบอาศัย
ความน่าจะเป็ น เพราะข้อจํากัดของผูที่จะมาเข้าสู่
้
กระบวนการทดลอง เช่น การศึกษาไข้หวัดนก
การเลือกแบบอาศัยความน่าจะเป็ น มีหลาย
รู ปแบบ ในการสุ่ มตัวอย่างสามารถใช้หลายวิธี
ประกอบกันเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่น่าเชื่อถือ
และเป็ นตัวแทนที่ดีของประชากร ดังนี้
การสุ่ มแบบง่าย (Simple random sampling)
การสุ่ มแบบมีระบบ (Systematic sampling)
การสุ่ มแบบแบ่งชั้น (Stratified random sampling)
การสุ่ มแบบขั้นตอน (cluster sampling)
การสุ่ มแบบง่าย
(Simple random sampling)

การสุ่ มตัวอย่างจากประชากรทั้งหมดครั้งละตัวจนกว่า
จะได้ครบตามจํานวนที่ตองการ โดยแต่ละครั้งที่สุ่ม
้
สมาชิกแต่ละหน่วยของประชากรมีโอกาสถูกเลือก
หรื อสุ่ มเท่าเทียมกัน คือ 1/N ถ้า N คือจํานวน
ประชากรทั้งหมด
กรณี ประชากรมีจานวนทั้งหมด 50 โอกาสที่
ํ

สมาชิกแต่ละตัวของประชากรทั้งหมดจะถูกเลือก
คือ
1/50
หรื อ
2%
การสุ่ มแบบง่ายทําให้โอกาสของกลุ่มตัวอย่างขนาด n

ที่ถูกสุ่ มมาจากมาจากประชากรที่มีสมาชิกจํานวน N
NC ดังเช่น
เท่ากัน คือ 1/ n
ประชากรที่มีสมาชิก 4 หน่วย และกลุ่มตัวอย่างมี
สมาชิก 2 หน่วย กลุ่มตัวอย่างมีโอกาสถูกเลือกเท่ากับ
4C หรื อ ซึ่ ง 4C มีค่าเท่ากับ 9 ดังนันโอกาสที่จะถูก
1/ 2
้
2
เลือกเท่ากับ 1/6
เมื่อ A B C D คือสมาชิกของประชากร กลุ่ม
ตัวอย่างที่จะถูกสุ่ มประกอบด้วย
AB
AC
AD
BC
BD
CD
วิธีการสุ่ มแบบง่าย

ั
การจับฉลาก โดยการเขียนชื่อหรื อหมายเลขให้กบ

สมาชิกทั้งหมดของประชากร แล้วใส่ ลงในกล่องและ
เขย่าให้คละกัน จากนั้นให้หยิบทีละแผ่น และเขียนชื่อ
หรื อหมายเลขที่สุ่มไว้บนกระดาษ แล้วใส่ รายการคืน
ลงในกล่อง ก่อนการหยิบรายการต่อไป ทําตาม
ขั้นตอนทั้งหมดจนกว่าจะได้สมาชิกครบ
การใช้ตารางเลขสุ่ ม

ั
กําหนดให้หมายเลขให้กบสมาชิกทั้งหมดของ

ประชากร ถ้าสมาชิกเป็ นหลักร้อยให้เลข 3 หลัก ตั้งแต่
000 จนถึงสมาชิกตัวสุ ดท้าย
เลือกใช้ตารางเลขสุ่ มสําเร็ จรู ปที่ให้ไว้
เปิ ดตารางเลขสุ่ ม และบันทึกเลขที่ถูกเลือก ซึ่ งอยู่
ขอบเขตของหมายเลขประชากร
หลัก
แถว

1-4

5-8

9-12

13-16 17-20 21-24 25-28 29-32 33-36 37-40

1
2
3
4
5

64
10
71
60
37

75
30
01
01
33

58
25
79
25
09

38
22
84
56
46

85
89
95
05
56

84
77
51
88
49

12
43
30
41
16

22
63
85
03
14

59
44
03
48
28

20
30
74
79
02

17
38
66
79
48

69
11
59
65
27

61
24
10
59
45

56
90
28
01
47

55
67
87
69
55

95
07
53
78
44

04
34
76
80
55

59
82
56
00
36

59
33
91
36
50

47
28
49
66
90

6
7
8
9
10

47
39
73
32
97

86
04
50
65
59

96
04
83
34
19

70
27
09
64
95

01
37
08
74
49

31
64
83
84
36

59
16
05
06
63

11
78
48
10
03

22
95
00
43
51

73
78
78
24
06

60
39
36
20
62

62
32
66
62
06

61
34
93
83
99

28
93
02
73
29

22
24
95
19
75

34
88
56
32
95

69
43
46
35
32

16
43
04
64
05

12
87
53
39
77

12
06
36
69
34

11
12
13
14
15

74
56
49
43
16

01
75
80
58
65

23
42
04
48
37

19
64
99
96
96

55
57
08
47
64

59
13
54
24
60

79
35
83
87
32

09
10
12
85
57

69
50
19
66
13

82
14
98
70
01

66
90
08
00
35

22
96
52
22
74

42 40 15 96 74 90 75 89
63 36 74 69 09 63 34 88
82 63 72 92 92 36 50 26
15 01 93 99 59 16 23 77
28 36 36 73 05 88 72 29
การสุ่ มแบบเป็ นระบบ (Systematic sampling)
การนํารายชื่อสมาชิกของประชากรมาเรี ยงลําดับตามอักษรของ

ชื่อหรื อตามหมายเลขประจําตัว รหัสประจําตัวนักศึกษา หรื อ
อื่นๆ
การกําหนดช่วงที่จะใช้ในการสุ่ มตามจํานวนของประชากร และ
กลุ่มตัวอย่าง เช่น ประชากรจํานวน 100 คน ต้องการสุ่ ม 20 คน
ดังนั้นช่วงที่จะใช้ในการสุ่ ม เท่ากับ 100/20 คือ 5 คือจะสุ่ ม
ประชากรทุกๆ 5 รายการ
่
การสุ่ มตัวอย่างแบบง่ายของประชากรที่อยูในช่วง 5
รายการแรก คือ 1-5 เพื่อใช้เป็ นตัวเริ่ มต้น สมมุติสุ่ม
ได้หมายเลข 3 คือรายการเริ่ มต้น
เลือกตัวอย่างตัวที่ 2 คือ หมายเลข 3+5 เท่ากับ 8
เลือกตัวอย่างตัวที่ 3 คือ 8+5 เท่ากับ 12
ทําต่อไปเรื่ อยๆ จนกว่าจะได้ตวอย่างครบ 20
ั
การสุ่ มแบบแบ่งชั้นหรื อชั้นภูมิ
(Stratified random sampling)

แบ่งกลุ่มประชากรออกเป็ นชั้นย่อย ๆ (Strata) เสี ยก่อนบน
พื้นฐานของระดับของตัวแปรที่สาคัญที่ส่งผลกระทบต่อตัว
ํ
แปรตาม โดยมีหลักในการจัดแบ่งชั้นภูมิให้ภายในชั้นภูมิแต่ละ
ชั้นมีความคล้ายคลึงกัน (Homogeneous) หรื อมีลกษณะที่
ั
เหมือนกันให้มากที่สุดเท่าที่จะทําได้ แต่ระหว่างชั้นภูมิให้มี
ความหลากหลาย (Heterogeneous) หรื อมีความแตกต่างกันให้
มากที่สุดเท่าที่จะทําได้ และหลังจากที่จดแบ่งชั้นภูมิเรี ยบร้อย
ั
แล้วจึงสุ่ มตัวอย่างจากแต่ละชั้นภูมิ
การแบ่งผูบริ หารห้องสมุดมหาวิทยาลัยออกเป็ นสอง
้

กลุ่ม คือกลุ่มผูบริ หารห้องสมุดมหาวิทยาลัยของรัฐ
้
และมหาวิทยาลัยเอกชน
กําหนดสัดส่ วนกลุ่มตัวอย่างของทั้งสองกลุ่ม
สุ่ มตัวอย่างแบบง่ายของประชากรทั้งสองกลุ่ม
การสุ่ มแบบแบ่งกลุ่ม
(Area or cluster sampling)

การสุ่ มแบบนี้ใช้สาหรับการสุ่ มตัวอย่างที่ประชากรมี
ํ
การกระจายและประชากรในแต่ละพื้นที่มีลกษณะ
ั
คล้ายกัน (Homogeneity) สามารถที่จะนํามาสุ่ มแบบ
แบ่งกลุ่มมาใช้ในการสุ่ มตัวอย่าง เพื่อให้สะดวกแก่
การรวบรวมข้อมูล
การศึกษาห้องสมุดโรงเรี ยนในจังหวัดลําปาง
จังหวัดลําปางมี 10 อําเภอ

สุ่ มมา 5 อําเภอ

สุ่ มโรงเรี ยนมาอําเภอละ 5 โรง
การสุ่ มแบบหลายขั้นตอน
(Multistage cluster sampling)

ๆ เราอาจจะใช้วธีการสุ่ มที่
ิ
ซับซ้อนมากกว่านี้ โดยหลักแล้วจะต้องพิจารณา
วิธีการสุ่ มที่กล่าวมาทั้งหมดมาใช้ให้ได้ประโยชน์
สูงสุ ดเพื่อให้ได้กลุ่มตัวอย่างที่ผวจยต้องการอย่าง
ู้ ิ ั
แท้จริ ง เรี ยกว่าการสุ่ มแบบหลายขั้นตอน

ในการทําวิจยจริ ง
ั
การกําหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่าง

่ ั
การกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างมากน้อยขึ้นอยูกบ
ลักษณะของประชากร ถ้าประชากรมีความเป็ นเอก
พันธ์หรื อมีความแปรปรวนน้อยการใช้กลุ่มตัวอย่าง
น้อยก็ได้ ในทางตรงกันข้ามถ้าหากประชากรมีความ
แตกต่างกันมากหรื อมีความแปรปรวนมากต้องใช้กลุ่ม
ตัวอย่างมาก
ลักษณะหรื อประเภทของงานวิจย การวิจยเชิงสํารวจ
ั
ั

จะต้องใช้กลุ่มตัวอย่างจํานวนมาก แต่ในกรณี ที่เป็ น
การวิจยเชิงคุณภาพที่จะต้องใช้แบบสัมภาษณ์ในการ
ั
เก็บข้อมูลแบบเจาะลึกอาจจะไม่ตองใช้กลุ่มตัวอย่าง
้
จํานวนมาก
วิธีการกําหนดขนาดกลุ่มตัวอย่าง

การกําหนดขนาดมีหลายวิธี เช่น
การกําหนดโดยใช้เกณฑ์
การกําหนดโดยใช้ตารางสําเร็ จรู ป
การใช้สูตรคํานวณ
ํ
การใช้เกณฑ์กาหนดขนากลุ่มตัวอย่าง

ประชากรหลักร้อย ใช้กลุ่มตัวอย่าง 15-30 %
ประชากรหลักพัน ใช้กลุ่มตัวอย่าง 10-15 %
ประชากรหลักหมื่น ใช้กลุ่มตัวอย่าง 5-10 %
โดยใช้เกณฑ์น้ ีในการคํานวณสัดส่ วนของประชากร
วิธีการกําหนดขนาดตัวอย่ าง
2. ใช้ ตารางสําเร็จรู ป
2.1 เครจซี่ และมอร์ แกน
2.2 ยามาเน่
3. ใช้ สูตรคํานวณ
สูตรยามาเน่
n=
N
1 + Ne2
วิธีการกําหนดขนาดตัวอย่ าง
“การอ่ านหนังสือพิมพ์ ธุรกิจของนักศึกษา”
n=

N
1 + Ne2
N = 795 คน กําหนดระดับความเชื่อมั่นที่ 95%
( e = .05)
n = 795
= 266 คน
1 + 795(.05)2

Contenu connexe

Tendances

สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยธีรวัฒน์
 
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)Maiseun Luangphavy
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยNU
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยTwatchai Tangutairuang
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัยKruBeeKa
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณtanongsak
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นRungnapha Thophorm
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัยNitinop Tongwassanasong
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพAimy Blythe
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานPennapa Boopphacharoensok
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยงานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยpornwalaipuli
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เพ็ญพร พิเภก
 
วิพากษ์วิจารณ์
 วิพากษ์วิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์
วิพากษ์วิจารณ์home
 

Tendances (20)

สถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัยสถิติสำหรับการวิจัย
สถิติสำหรับการวิจัย
 
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
การวิจัยทางสังคมศาสตร์ (1)
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
สถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัยสถิติเพื่อการวิจัย
สถิติเพื่อการวิจัย
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
การสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็นการสำรวจความคิดเห็น
การสำรวจความคิดเห็น
 
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
ติวข้อสอบ Is จากอาจารย์กลุ่ม3
 
7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย7 สถิติเพื่อการวิจัย
7 สถิติเพื่อการวิจัย
 
Role math stat_cs
Role math stat_csRole math stat_cs
Role math stat_cs
 
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพเครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
เครื่องมือการวิชัยเชิงคุณภาพ
 
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงานขอบข่ายและประเภทโครงงาน
ขอบข่ายและประเภทโครงงาน
 
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัยงานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
งานนำเสนอ วิพากษ์งานวิจัย
 
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
เครื่องมือและการหาคุณภาพ55
 
วิพากษ์วิจารณ์
 วิพากษ์วิจารณ์ วิพากษ์วิจารณ์
วิพากษ์วิจารณ์
 

En vedette

ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร PopulationPat Sn
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมฟลุ๊ค ลำพูน
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 

En vedette (6)

ประชากร1
ประชากร1ประชากร1
ประชากร1
 
ประชากร Population
ประชากร Populationประชากร Population
ประชากร Population
 
ประชากร
ประชากรประชากร
ประชากร
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อมบทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
บทที่ 23 มนุษย์กับความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 

Plus de ฟลุ๊ค ลำพูน

บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมฟลุ๊ค ลำพูน
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 

Plus de ฟลุ๊ค ลำพูน (20)

Biology
BiologyBiology
Biology
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
4
44
4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1แบบทดสอบ บทที่ 1
แบบทดสอบ บทที่ 1
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพบทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
บทที่20 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตบทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 19 วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพบทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
บทที่ 18 พันธุศาสตร์และเทคโนโลยีชีวภาพ
 
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซมบทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
บทที่ 17 ยีนและโครโมโซม
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืชบทที่ 15 การตอบสนองของพืช
บทที่ 15 การตอบสนองของพืช
 
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอกบทที่ 14  การสืบพันธ์ของพืชดอก
บทที่ 14 การสืบพันธ์ของพืชดอก
 
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 13 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอกบทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
บทที่ 12 โครงสร้างหน้าที่ของพืชดอก
 
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรมบทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
บทที่ 16 การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 
Doc11
Doc11Doc11
Doc11
 

บทที่ 22 ประชากร