SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  19
ความหมายและความสาคัญของ
เทคโนโลยี
เทคโนโลยี หมายถึง การนาแนวคิด วิธีการ ทาง
วิทยาศาสตร์ มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ
เทคโนโลยีช่วยให้สะดวกสบายมากขึ้นนอกเหนือจากปัจจัยสี่
ระดับเทคโนโลยี
แบ่งตามความรู้ที่ใช้มี 3 ระดับ
1.เทคโนโลยีระดับพื้นฐาน (Basic Technology)
2. เทคโนโลยีระดับกลาง (Intermediate Technology)
3. เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
สาขาเทคโนโลยี
จุดมุ่งหมายผู้ผลิตเทคโนโลยี : การแก้ปัญหา และตอบสนองความ
ต้องการของมนุษย์
1. เทคโนโลยีผลิตภัณฑ์และการผลิต (Production and Process
Technology)ใช้ในระบบการผลิต
2. เทคโนโลยีการควบคุม (Control Technology) ควบคุมระบบจัดการ
ต่างๆ
3. เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) ใช้ทางการแพทย์ เกษตร
และอตรสาหกรรม
4. เทคโนโลยีอาหาร (Food Technology) ใช้ถนอมอาหาร แปรรูปบรรจุ
ภัณฑ์
5. เทคโนโลยีวัสดุ (Materials Technology) เช่นการพัฒนาเซรามิกใช้
ในด้านอุตสาหกรรม
6. เทคโนโลยีทางการขนส่ง (Transportation Technology) ใช้ขนส่งสินค้าทาง
บกทางเรือ ทางอากาศ
7. เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics Technology) เช่น หุ่นยนต์
8. เทคโนโลยีสิ่งทอและเสื้อผ้า (Textile Garment Technology) ใช้ออกแบบ
และควบคุมผลิตภัณฑ์
9. เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)ใช้รวบรวม ประมวลผล
และนาเสนอข้อมูล
10.เทคโนโลยีการเกษตร (Agricultural Technology)เช่น การใส่ปุ๋ย การกาจัด
ศัตรูพืช
แบ่งตามลักษณะเทคโนโลยี ได้ 2 กลุ่มดังนี้
1.เทคโนโลยีที่เป็นการสร้าง เป็นการสร้างสิ่งของ เครื่องใช้เพื่อ
พัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิต
2.เทคโนโลยีที่เป็นวิธีการ เป็นการเลือกวิธีการใดวิธีการหนึ่ง
ทางานเพื่อความสะดวกสบาย ชีวิตง่ายขึ้น
ลักษณะเทคโนโลยีที่ดี
1.ต้องเป็นส่วนหนึ่งของบุคคลหรือสังคมนั้นๆ
2.ต้องไม่ทาลายหรือก่อให้เกิดภาวะ
3.ต้องทาให้คุณภาพชีวิตดีขึ้น
4.สนับสนุนการต่อยอดเทคโนโลยีใหม่ๆ
การด้อยพัฒนาทางเทคโนโลยี
1. โครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศ แบ่งออกเป็นภาคชนบทและภาคเมือง ทั้งสอง
ภาคมีความเหลื่อมล้ากันอย่างมาก ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
2. โครงสร้างของระบบวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความล้าหลัง
3. บุคลากรที่มีความสามารถด้านเทคโนโลยีในประเทศมีน้อย
4. การพัฒนาด้านอุตสาหกรรมไม่เชื่อมโยงกับการพัฒนาด้านเทคโนโลยี
5. นโยบายของรัฐในการส่งเสริมด้านเทคโนโลยีไม่ชัดเจน
6. สถาบันการศึกษาให้ความสาคัญต่อการพัฒนาเทคโนโลยีน้อยเกินไป
7. ประชากรในประเทศบริโภคเทคโนโลยีมากกว่าการผลิตเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์ระหว่างเทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับสังคมศาสตร์
ผู้เรียนต้องเข้าใจประวัติความเป็นมาทั้งอดีตจนถึงปัจจุบัน
และเทคโนโลยีในอนาคตช่วยสร้างสรรค์มนุษยชาติ จึงต้องให้
ผู้เรียนตระหนักถึงหน้าที่ และความรับผิดชอบในฐานะสมาชิกที่ดี
ของสังคม โดยกิจกรรมดังนี้
- สารวจบทบาทเทคโนโลยีต่อสังคม
- การจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้สนองความต้องการได้อย่างฉลาด
- เข้าใจข้อจากัดของปัจจัยต่าง ๆ ทางสังคม ค่านิยม โครงสร้างสังคม โดยนาสิ่ง
เหล่านี้มาประกอบการตัดสินใจในกิจกรรมทางเทคโนโลยี
- วิจัย ศึกษา วิเคราะห์การใช้เทคโนโลยีในสังคม ส่งผลกระทบต่อสังคมอย่างไร
บ้าง
- การตระหนักถึงการใช้ทรัพยากร สิ่งแวดล้อมในธรรมชาติ และวัฒนธรรมที่
แตกต่างกัน
- วิจัยศึกษา วิเคราะห์ผลกระทบการใช้เทคโนโลยีต่อสังคม
ความสัมพันธ์ของเทคโนโลยีกับมนุษย์ศาสตร์
การทางานตามกระบวนการทางเทคโนโลยีเริ่มจากวิเคราะห์ความต้องการของตน สื่อสารความ
ต้องการให้ผู้อื่นเข้าใจ และเสนอแนวทางแก้ปัญหา ซึ่งต้องอาศัยทักษะการพูด อ่านและเขียน
ลักษณะพฤติกรรมการเรียนรู้เทคโนโลยีต้องอาศัยทักษะทางภาษาซึ่งเป็นศาสตร์ของมนุษย์
ศาสตร์ ดังนี้
1. ทักษะการฟัง พูดได้อย่างมีประสิทธิภาพ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทาง
เทคโนโลยีกับคนอื่น ๆ ในการทากิจกรรม
2. ทักษะการเขียน นาเสนอข้อมูลเชิงสัญลักษณ์ หรืออธิบายแนวคิดของตน
3. ทักษะการสรุป กิจกรรมเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกับการร่างโครงการและการอธิบาย
กระบวนการ ทางานจนได้ชิ้นงาน การเขียนข้อสรุปจึงเป็นสิ่งสาคัญของเทคโนโลยี
ความสัมพันธ์เทคโนโลยีกับวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติ ทั้งในสภาพนิ่งหรือสภาพที่มี
การเปลี่ยนแปลง
เทคโนโลยี คือ กระบวนการหรือวิธีการและเครื่องมือที่เกิดจากการประยุกต์ และ
ผสมผสานความรู้ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อมนุษย์
เหมาะสมกับเวลาและสถานที่
วิทยาศาสตร์มีจุดมุ่งหมายในการแสวงหาความรู้อย่างเป็นระบบ โดยตั้งข้อ
สมมติฐาน พิสูจน์สมมติฐานด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้ หรือข้อเท็จจริง
จากปรากฎการณ์นั้น ๆ ถ้ามีการพิสูจน อีกก็ยังคงใช้ข้อเท็จจริงเหมือนเดิม
เทคโนโลยีเป็นวิทยาการที่เกิดจากการใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ
ศาสตร์อื่นๆ ในการแก้ปัญหา โดยมุ่งแสวงหากระบวนการหรือวิธีการ (Know
How) โดยอาศัยเครื่องมือและความรู้ต่าง ๆ ผลของกระบวนการเทคโนโลยีมี 2
ลักษณะ คือ
1. เครื่องมือ หรือฮาร์ดแวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของอุปกรณ์
เครื่องมือต่าง ๆ เช่น เครื่องบาบัดน้าเสีย เครื่องปรับอากาศ เครื่องบิน เป็นต้น
2.วิธีการหรือ เรียนกว่า ซอฟต์แวร์ หมายถึง เทคโนโลยีในรูปของ
วิธีการ กระบวนการ ความรู้ต่าง ๆ เช่น วิธีจัดการระบบบริหารองค์กร วิธี
ประเมินผลต่าง ๆ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ เป็นต้น
ประเทศไทยผลิตช่างฝีมือในแต่ละปีจานวนมาก แต่ขาดความรู้พื้นฐานด้าน
วิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
สาหรับการพัฒนาเทคโนโลยี ประเทศที่เจริญทางเทคโนโลยีจะทุ่มเททุน
มหาศาลเพื่อพัฒนาและประยุกต์วิทยาศาสตร์เข้ากับเทคโนโลยี ขณะนี้ประเทศไทย
ต้องพึ่งพาหรือซื้อเทคโนโลยีชั้นกลางหรือชั้นสูงจากต่างประเทศ เพราะเราประดิษฐ์
เทคโนโลยีเหล่านั้นได้น้อยมาก
วิทยาศาสตร์มีความสัมพันธ์กับเทคโนโลยี ในฐานะที่เป็นแหล่งความรู้ที่
สาคัญสาหรับเทคโนโลยีแต่ไม่ใช่เฉพาะวิทยาศาสตร์ วิชาอื่น ๆ ก็มีความสาคัญ
เช่นเดียวกัน
วิทยาศาสตร์แตกต่างจากเทคโนโลยีในเรื่องของเป้ าหมาย (goal) และวิธีการ
(methodlogies)แต่ทั้งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด
เทคโนโลยีสัมพันธ์กับความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ในการออกแบบผลิตภัณฑ์
ต่าง ๆ เพื่อแก้ปัญหา
แต่ขณะเดียวกันวิทยาศาสตร์ต้องอาศัยความรู้ทางเทคโนโลยีแสวงหาความรู้หรือ
ทฤษฎีใหม่ ๆ เทคโนโลยีจึงไม่ใช่วิทยาศาสตร์ประยุกต์ แต่เป็นศาสตร์อีกแขนงหนึ่ง อาจ
สรุปความสัมพันธ์ของศาสตร์ทั้งสอง ได้ดังนี้
1. เทคโนโลยีเกิดจากการใช้ความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์เป็นส่วนใหญ่
2. การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในเทคโนโลยีนั้น มีจุดประสงค์
เพื่อแก้ปัญหาทางเทคโนโลยี
วิชาวิทยาศาสตร์เป็นวิชาที่เราให้ความสาคัญในการแก้ปัญหาต่าง ๆ อย่างมาก และ
ต้องใช้วิชาเทคโนโลยีเพื่อเสริมการแก้ปัญหาและความคิดสร้างสรรค์ทั้ง 2 วิชามี
ความสัมพันธ์กันและเป็นการนาความรู้วิทยาศาสตร์ไปสู่การปฏิบัตินั่นเอง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิด จึงมักถูกเรียกควบคู่กัน แต่
วิธีการใช้ทั้งสองวิชาเพื่อให้ได้คาตอบนั้นไม่เหมือนกันทีเดียว และจุดประสงค์หรือเป้าหมายต่างกัน
วิทยาศาสตร์เริ่มจากคาถามเกี่ยวกับสิ่งที่สังเกตจากปรากฎการณ์ธรรมชาติ จากนั้น จึงใช้
วิธีการสืบเสาะหาความรู้ ได้แก่ การสังเกต รวบรวมข้อมูล ทดลอง วิเคราะห์ และสรุปผล ซึ่งเป็น
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการหาคาตอบเพื่ออธิบายปรากฎการณ์ธรรมชาตินั้น คาตอบจาก
การค้นหานั้น จะเป็นกฎเกณฑ์ทางทฤษฎี
เทคโนโลยีเริ่มจากปัญหาหรือความต้องการของมนุษย์แล้วใช้กระบวนการต่าง ๆ เพื่อหา
วิธีการ แก้ไขปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์โดยใช้ทรัพยากร ทักษะ และความรู้ด้านต่าง
ๆ สาหรับปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑ์นั้นตามกระบวนการเทคโนโลยี
ข้อแตกต่างของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกล่าวโดยสรุป คือ ทั้ง 2 วิชา มีธรรมชาติและ
กิจกรรมแตกต่างกัน กล่าวคือ วิทยาศาสตร์มุ่งเน้นความเข้าใจเกี่ยวกับความจริงในธรรมชาติ (Facts
and Phenomena of Nature ) ส่วนเทคโนโลยีศึกษาสิ่งที่เกี่ยวข้องกับความต้องการ การแก้ปัญหา และ
คุณสมบัติของสิ่งของ(Artifacts) ที่มนุษย์ประดิษฐ์หรือสร้างขึ้น วิทยาศาสตร์เกี่ยวข้องกับการพยายาม
ตอบคาถาม “What” ในขณะที่ เทคโนโลยีมุ่งแก้ปัญหาที่มาจากความต้องการจะตอบคาถาม “How” เรา
จะมีวิธีแก้ปัญหาอย่างไร หรือสร้างสิ่งที่เกิดจากการความต้องการอย่างไร
ระบบเทคโนโลยี (Technological system)
ระบบเทคโนโลยี(Technological System) ประกอบด้วย 4 ด้าน ได้แก่
1. ตัวป้อน(Input) คือ ความต้องการของมนุษย์ (Need,Want)หรือปัญหาที่ต้องการหา
คาตอบเช่นความต้องการที่อยู่อาศัยเครื่องนุ่งห่มอาหารยารักษาโรค
2. กระบวนการ(Process) คือ ขั้นตอนการแก้ปัญหาหรือตอบสนองต่อความต้องการ ซึ่ง
จะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Change) ทรัพยากรให้เป็นผลผลิต หรือผลลัพธ์ ขั้นตอน
ของกระบวนการจะประกอบด้วย กาหนดปัญหาหรือความต้องการ , รวบรวมข้อมูล
เพิ่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ , เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือ
สนองความต้องการ, ออกแบบและปฏิบัติการ, ทดสอบ ,ปรับปรุงแก้ไข , ประเมินผล
3. ผลผลิตหรือผลลัพธ์ (Output or Outcome) คือ สิ่งที่ออกมาจากกระบวนการของระบบ ซึ่ง
สามารถตอบสนองต่อตัวป้อนในระบบเทคโนโลยี เช่น สิ่งของเครื่องใช้ วิธีการ
แก้ปัญหาหรือสนองความต้องการของมนุษย์
4.ทรัพยากรทางเทคโนโลยี
ทรัพยากรทางเทคโนโลยี (Resources)เป็นปัจจัยที่ต้องคานึงถึงในการดาเนินงานของ
ระบบ ได้แก่ คน (People) , ข้อมูลและสารสนเทศ (Data and Information) , วัสดุ (Materials),
เครื่องมือและอุปกรณ์ (Machines and Tools) , พลังงาน (Energy) , ทุน (Capital)หรือทรัพย์สิน
(Asset), เวลา (Time)
5.ปัจจัยที่ขัดขวางต่อเทคโนโลยี (Constraints)
เป็นข้อจากัด ข้อพิจารณาหรือสิ่งที่ต้องคานึงถึงซึ่งจะทาให้ระบบทางานได้มากน้อย
ต่างกัน เช่น สภาพอากาศ ,วัฒนธรรมของสังคม ,ความเชื่อ,ความคิดสร้างสรรค์ของแต่
ละบุคคล เป็นต้น ตัวอย่างของสถานการณ์ที่มีปัจจัยขัดขวางทางเทคโนโลยี
รายชื่อสมาชิก
• 1.นายไกรสีห์ ปักธงไชย ม.6/6 เลขที่ 1
• 2.นายธีรภัทร์ น้าเพรช ม.6.6 เลขที่ 11
• 3.นายสัญญา ศรีทวีพันธ์ ม.6/6 เลขที่ 21
• 4.นางสาวปานทิพย์ มหอมตพงษ์ ม.6/6 เลขที่ 32
• 5.นางสาวอโรชา อ่าเเจ่ม ม.6/6 เลขที่ 42

Contenu connexe

En vedette

How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1Namchai Chewawiwat
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น Namchai Chewawiwat
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) Namchai Chewawiwat
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตTor Jt
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตJA Jaruwan
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเกวลิน แก้ววิจิตร
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยNamchai Chewawiwat
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 

En vedette (20)

How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1How to make science media easy to Thais, part 1
How to make science media easy to Thais, part 1
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น 20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
20140922 ทำไมหมอดูจึงแม่น
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol) วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
วิทยาศาสตร์ กับ แอลกอฮอล์ (Science and Alcohol)
 
Values of science-20141202
Values of science-20141202 Values of science-20141202
Values of science-20141202
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคตการวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
การวิเคราะห์แนวโน้มและการเปลี่ยนแปลงด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไทยในอนาคต
 
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคตแนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคตเทคโนโลยีในโลกอนาคต
เทคโนโลยีในโลกอนาคต
 
ระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยีระบบเทคโนโลยี
ระบบเทคโนโลยี
 
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวันเทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
เทคโนโลยีสารสนเทศกับชีวิตประจำวัน
 
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทยโอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
โอกาสที่เสียไป: 12 ข้อเท็จจริงการศึกษาไทย
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 
S&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME developmentS&T- Innovation and sustainable SME development
S&T- Innovation and sustainable SME development
 

Similaire à บทที่1 กลุ่มที่ 1

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1issaraka
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพณัฐะ หิรัญ
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมSetthawut Ruangbun
 
สาระแกนกลาง
สาระแกนกลางสาระแกนกลาง
สาระแกนกลางhamanfield
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Anakkwee Saeton
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่Anakkwee Saeton
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาGed Gis
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Toeyyysn Sirisir
 

Similaire à บทที่1 กลุ่มที่ 1 (20)

บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Technology
TechnologyTechnology
Technology
 
Technology
TechnologyTechnology
Technology
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Kn technology
Kn technologyKn technology
Kn technology
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพหน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 : เทคโนโลยีเพื่อการทำงานอาชีพ
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรมงานนำเสนอวิชานวัตกรรม
งานนำเสนอวิชานวัตกรรม
 
สาระแกนกลาง
สาระแกนกลางสาระแกนกลาง
สาระแกนกลาง
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่เทคโนโลยีสมัยใหม่
เทคโนโลยีสมัยใหม่
 
เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์เทคโนโลยีกับมนุษย์
เทคโนโลยีกับมนุษย์
 
Ans n7-w1-1
Ans n7-w1-1Ans n7-w1-1
Ans n7-w1-1
 
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาเทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 

บทที่1 กลุ่มที่ 1