SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
Télécharger pour lire hors ligne
Museum Forum 2017
Museum Education NOW!
Agenda, Practice, Conflict and Solution
แกะปมแกปญหางานการศึกษาในพิพิธภัณฑไทย
ความเปนมา แนวคิด และประเด็นการประชุม
นับตั้งแตการกอตั้งสภาการพิพิธภัณฑระหวางชาติ หรือ ICOMในป 1946นิยามของพิพิธภัณฑไดถูกปรับเปลี่ยน
เรื่อยมา มีการขยายนิยามใหหลากหลายเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงของสังคมมากขึ้น ในป 1961 คําวา
“การศึกษา” ไดถูกเพิ่มเติมเขาไปในการใหนิยามพิพิธภัณฑของ ICOM เชนเดียวกัน ในป 2012 UNESCO ได
เผยแพรนโยบายเกี่ยวกับบทบาทของพิพิธภัณฑดานการศึกษาและการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวา การศึกษาเปน
องคประกอบสําคัญประการหนึ่งของพิพิธภัณฑ รวมกับการดูแลรักษาวัตถุ การวิจัย การนําเสนอวัตถุตางๆ ใน
พิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑสามารถใหการศึกษาอยางไรขอจํากัดในฐานะตัวกลางระหวางขาวของทางประวัติศาสตร
มรดกทางวัฒนธรรม และผูเขาชม
พันธกิจทางสังคมของพิพิธภัณฑในงานดานการศึกษาสามารถนิยามไดวา คือการเก็บรักษาและการถายทอด
ประสบการณทางวัฒนธรรมแกคนรุนตอไป การพัฒนาระบบคุณคา บรรทัดฐานสังคม คุณธรรม และความ
หลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม จริยธรรม และธรรมชาติตลอดจนพัฒนาศักยภาพในการสรางสรรค (รวมถึง
ทักษะดานการสื่อสาร) ผานรูปแบบที่เฉพาะของงานดานการศึกษา
กลาวไดวา ความเปลี่ยนแปลงในบทบาทของพิพิธภัณฑ โดยเฉพาะบทบาทดานการศึกษานั้นสัมพันธกับความ
เปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยเฉพาะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเปนชวงเวลาที่ทาทายใหพิพิธภัณฑปรับตัวมากขึ้น ไมวา
จะเปนการรองรับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว การรองรับสังคมพหุวัฒนธรรม การรองรับวิถีการเรียนรูใหมๆ
ดวยเทคโนโลยีใหมๆ อาจกลาวไดวา บทบาทดานการใหการศึกษาของพิพิธภัณฑ เปนสวนหนึ่งของตัวตน
พิพิธภัณฑสมัยใหมที่สัมพันธกับสังคมมากขึ้น งานดานการศึกษาเปนหนาที่หลักที่เชื่อมระหวางพิพิธภัณฑกับ
สังคม ดังจะเห็นไดจากการที่พิพิธภัณฑหลายแหง ไดสรางโปรแกรมการเรียนรูในรูปแบบตางๆ เชน การจัดทัวร
การทองเที่ยวชุมชน การสรางสื่อการเรียนรูที่สัมผัสจับตองได โปรแกรมสําหรับครู โปรแกรมการเรียนรูออนไลน
เปนตน ในสวนของปฏิบัติการดานการศึกษาก็เกิดเครือขายเปนชุมชนระดับนานาชาติของนักการศึกษาใน
พิพิธภัณฑ ระหวางกลุมนักการศึกษา หรือนักวิชาการ ผูปฏิบัติงานในพิพิธภัณฑขึ้นมาเพื่อแลกเปลี่ยนองค
ความรู เชน กลุม Museum-Ed, Gulf Museum Educators Network, Museums Australia Education
Network Victoria เปนตน ในมิติวิชาการก็เชนกัน ประเด็นเรื่องการศึกษาถูกหยิบยกมาสํารวจ ทบทวนในการ
ประชุมวิชาการอยางจริงจัง เชน ในป 2015 Committee for Education and Cultural Action (CECA) ซึ่ง
เปนหนึ่งในคณะกรรมการที่กอตั้งมาอยางยาวนานใน ICOM ไดจัดการประชุมวิชาการทางดานการศึกษาซึ่งสําคัญ
มากในชื่อวา Museum Education and Accessibility: Bridging the Gaps
อยางไรก็ตาม ในบริบทของสังคมไทยนั้น แมวาจะมีการลงทุน/ ใหการสนับสนุนแหลงเรียนรูจํานวนมากเพื่อ
รองรับแนวคิดเรื่องการเรียนรูตลอดชีวิต หากแตในแวดวงของพิพิธภัณฑและแหลงเรียนรู กลับไมคอยเนน
บทบาทดานการใหการศึกษาอยางเปนระบบ ขอสังเกตนี้สะทอนจากโครงสรางองคกรและโครงสรางบุคลากรใน
หนวยงานที่นับแหงไดจะมีฝายการศึกษาหรือนักการศึกษาในพิพิธภัณฑ ในระดับปฏิบัติการนั้นยังขาดความ
ชัดเจนในบทบาท ตําแหนงแหงที่ และหนาที่ของนักการศึกษาในพิพิธภัณฑ บทบาทดานการศึกษาของ
พิพิธภัณฑยังสามารถพัฒนาเพื่อรองรับความสนใจและกลุมคนที่หลากหลายไดอีกมาก เปนตนวา การทํางานกับ
คนในชวงวัยตางๆ คนตางวัฒนธรรม คนที่มีขอจํากัดทางรางกาย คนที่เขาไมถึงแหลงเรียนรู เปนตน นอกจากนี้
ในระดับมหภาคนั้น ยังขาดนโยบายที่เชื่อมโยงพิพิธภัณฑกับระบบการศึกษาหลัก ขาดการสนับสนุน เสริม
ศักยภาพ หรือพัฒนาพิพิธภัณฑเล็กๆ ที่ดําเนินการโดยเอกชนหรือชาวบานในฐานะหนวยของการใหความรู
ทองถิ่น ใหสามารถสรางเสริมการเรียนรูนอกระบบในสังคมไดอยางยั่งยืน หรือแมแตในมิติของการศึกษาตาม
อัธยาศัย พิพิธภัณฑก็แทบไมไดอยูในวัฒนธรรมการเรียนรูของคนไทย
ประเด็นเรื่องการศึกษาและพิพิธภัณฑจึงเปนเรื่องที่สําคัญ สําหรับสังคมที่ตองการสรางการเรียนรูที่มีคุณภาพ
ตลอดชีวิตใหกับพลเมือง การประชุมวิชาการในครั้งนี้มุงหวังที่จะสรางความเขาใจที่ชัดเจนมากขึ้นในบทบาทของ
นักการศึกษาในพิพิธภัณฑ มุงหวังที่จะสํารวจสถานะขององคความรูและปฏิบัติการทางดานการศึกษา ทําความ
เขาใจปญหา อุปสรรค ขอจํากัดตางๆ ในบริบทของสังคมไทย และแสวงหาทางออกรวมกันระหวางผูเขารวม
ประชุมวิชาการ
วัตถุประสงค
1. เพื่อรวบรวมความรูดานการศึกษาในพิพิธภัณฑ
2. เพื่อเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาใน
พิพิธภัณฑ
3. เพื่อสรางการแลกเปลี่ยนระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน
4. เพื่อเปนเวทีแลกเปลี่ยนระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑและนักการศึกษาในระบบ
การศึกษาหลัก
กลุมเปาหมาย
1. นักการศึกษาดานพิพิธภัณฑ
2. นักการศึกษา
3. ผูออกแบบสื่อดานการศึกษา
4. นักวิจัย ศึกษานัก
5. ผูบริหารและผูปฏิบัติงานพิพิธภัณฑ
6. นักวิชาการดานพิพิธภัณฑและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
เปาหมาย
1. ผูเขารวมประชุมวิชาการ 200 คน
2. บทคัดยอ/ บทความที่รวมเสนอในงานประชุม 20 เรื่อง
ผูจัดงาน
ฝายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ (สพร.)
สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน)
องคกรรวมจัด
1. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)
2. ศูนยภูมิภาคโบราณคดีและวิจิตรศิลปในองคการรัฐมนตรีศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต
3. องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO)
4. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
5. คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร
6. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
7. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล
8. หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร (BACC)
9. ศูนยประสานงานเครือขายการศึกษาเพื่อสรางพลเมืองประชาธิปไตย
(Thai Civic Education-TCE Center)
ผลที่คาดวาจะไดรับ
1. ไดองคความรูเกี่ยวกับการทํางานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑ
2. เกิดการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑ
3. เกิดการแลกเปลี่ยนระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑและนักการศึกษาในระบบ
การศึกษาหลัก
4. เกิดการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑไทยและ
ประเทศเพื่อนบาน
กําหนดการประชุมวิชาการดานพิพิธภัณฑ Museum Education NOW!
2 สิงหาคม 2560
8.30-9.00 ลงทะเบียน หอประชุมชั้น 5 ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)
9.00-9.30 พิธีเปด
นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ
นายพีรพน พิสณุพงศ ผูอํานวยการศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)
นางมณฑิรา หรยางกูร อูนากูล ผูเชี่ยวชาญดานวัฒนธรรม องคการศึกษา
วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO)
9.30-10.30 We Make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between
Education and Exhibitions
Dr.Ana Maria Theresa LABRADOR, Assistant Director,
National Museum of the Philippines
10.30-10.45 รับประทานอาหารวาง
10.45-12.00 Education Within & Beyond Museum Walls: A Singapore Case Study
Mr.Alvin Tan, Assistant Chief Executive-Policy and Community,
National Heritage Board, Singapore
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 นําเสนอผลงานทางวิชาการ
หอประชุม งานการศึกษาของพิพิธภัณฑและความเชื่อมโยงกับระบบการศึกษาหลัก
หอง 402 พิพิธภัณฑในฐานะการศึกษานอกระบบและแหลงเรียนรูตามอัธยาศัย
หอง 601 บริบทที่เปลี่ยนไปในงานการศึกษาของพิพิธภัณฑ
15.00-15.15 รับประทานอาหารวาง
15.15-17.15 นําเสนอผลงานทางวิชาการ
หอประชุม การจัดการเรียนรูใหพิพิธภัณฑเปนทางเลือกของการศึกษาในระบบและ
ในทางกลับกัน
หอง 402 เสวนาโตะกลม: งานการศึกษากับพิพิธภัณฑทองถิ่น
หอง 601 งานการศึกษาในภูมิภาคเอเชีย
17.15 จบการประชุมวิชาการ
3 สิงหาคม 2560
9.00-9.30 ลงทะเบียน หอประชุมชั้น 5 ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน)
9.30-10.30 Can Museums Change Lives?— Exploring the Potentials of
Museum Education
Ms.Huei-hsien Lin, Section Chief Education and Outreach Programs
Department of Education, Exhibition and Information Services
National Palace Museum, Taiwan
10.30-10.45 รับประทานอาหารวาง
10.45 -12.00 Senses Study- Can the Museum be a Place for Aesthetic Education?
Dr.Stefano Harney, Professor of Strategic Management Education
Singapore Management University
12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน
13.00-15.00 นําเสนอผลงานทางวิชาการ
หอประชุม งานการศึกษาของพิพิธภัณฑและความเชื่อมโยงกับระบบการศึกษาหลัก
หอง 402 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู
หอง 601 การวิจัยและพัฒนา
หองอเนกประสงคชั้น 5 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู-เกมเพื่อการศึกษา
15.00-15.15 รับประทานอาหารวาง
15.15-17.15 นําเสนอผลงานทางวิชาการ
หอประชุม เสวนาโตะกลม : ครูกับการใชพิพิธภัณฑเปนแหลงการเรียนรู
หอง 402 เสวนาโตะกลม: การละคอนกับงานพิพิธภัณฑ
หอง 601 Strengthening Outreach Education in Museums
(บรรยายเปนภาษาอังกฤษ)
หองอเนกประสงคชั้น 5 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู-เกมเพื่อการศึกษา
17.15 แถลงการณ Museum Education NOW! 2017, Bangkok
18.00 ปดการประชุมวิชาการ
การนําเสนอผลงานวิชาการและแลกเปลี่ยนประสบการณในหองยอย
2 สิงหาคม
2560
หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601
13.00-15.00 งานการศึกษาของพิพิธภัณฑ
และความเชื่อมโยงกับระบบ
การศึกษาหลัก
พิพิธภัณฑในฐานะการศึกษานอก
ระบบและแหลงเรียนรูตามอัธยาศัย
บริบทที่เปลี่ยนไปในงาน
การศึกษาของพิพิธภัณฑ
1) พิพิธภัณฑเจาพระยาบดินทร
เดชา (สิงห สิงหเสนี) กับการ
จัดการเรียนรูโดยใชพิพิธภัณฑ
เปนฐาน
ชวิน พงษผจญ
2) แนวทางการจัดกิจกรรม
ศิลปะในพิพิธภัณฑศิลปะ เพื่อ
สงเสริมประสบการณสุนทรียะ
อนิวัฒน ทองสีดา
3) กระบวนการพิพิธภัณฑเพื่อ
การเรียนรูของเด็กโรงเรียนบาน
กูกาสิงห ดร.อําคา แสงงาม
อภิปรายโดย
ดร.เฉลิมชัย พันธเลิศ
1) รูปแบบการสงเสริมการเรียนรู
ตลอดชีวิตผานสื่อพิพิธภัณฑในระบบ
การศึกษานอกระบบและการศึกษา
ตามอัธยาศัย
หลินฟา คูพิพัฒน
2) การจัดพิพิธภัณฑใหเปนแหลง
เรียนรูโดยใชปฏิสัมพันธทางสังคม:
บ.ว.ร.
รศ.ฉันทนา สุรัสวดี
3) การเรียนรูตัวตนผานวัตถุชาติ
พันธุ: กลุมชาติพันธุโส พื้นที่ชุมชน
และโรงเรียนบานพะทาย ต. พะทาย
อ.ทาอุเทน จ.นครพนม
นิชนันท กลางวิชัย
4) การมีสวนรวมของชุมชนในการ
พัฒนาพิพิธภัณฑทองถิ่นใหเปนแหลง
เรียนรูตลอดชีวิต
ดร.อลงกรณ จุฑาเกตุ
อภิปรายโดย
ผศ.ดร.พจนก กาญจนจันทร
1) ภัณฑารักษ กับ นักการศึกษา
จารุณี อินเฉิดฉาย
2) จากมุมมองหนึ่งแลวลงมือทํา
งานทดลองพัฒนาสื่อการเรียนรู
กรณีมิวเซียมสยาม
ยุภาพร ธัญวิวัฒนกุล
3) การจัดการเรียนรูดาน
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง
ผานสถานแสดงพันธุสัตวน้ํา
ภูเก็ต
ราตรี สุขสุวรรณ
อภิปรายโดย
อ.ดร.อิสระ ชูศรี
15.00-15.15 พักรับประทานอาหารวาง
2 สิงหาคม
2560
หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601
15.15-17.15 การจัดการเรียนรูใหพิพิธภัณฑ
เปนทางเลือกของการศึกษาใน
ระบบและในทางกลับกัน
เสวนาโตะกลม:
งานการศึกษากับพิพิธภัณฑทองถิ่น
งานการศึกษาในภูมิภาคเอเชีย
และอื่นๆ
1) การสืบสานวัฒนธรรมควร
เรียนทั้งที่โรงเรียนและที่บาน:
การสมานลักษณการเรียนรูใน
โรงเรียนกับพิพิธภัณฑภูมิสถาน
เพื่อการสืบสานวัฒนธรรมไท
ทรงดํา
อ.ดร.พธู คูศรีพิทักษ
2) บัณฑิตอาสาเพื่อพัฒนา
พิพิธภัณฑ: การศึกษาเพื่อความ
เปนพลเมืองระดับบัณฑิตศึกษา
โดยใชพิพิธภัณฑเปนเครื่องมือ
ธีรวรรณ มิ่งบัวหลวง
3) คิดเปน ทําเปน: วิธีวิทยานํา
ความรูสูการปฏิบัติสําหรับพิพิธ
ภัณฑศึกษา
อ.ดร.ชิตชยางค ยมาภัย
อภิปรายโดย –
รวมแลกเปลี่ยนโดย
ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร และ
1) เกรียงศักดิ์ ฤกษงาม
พิพิธภัณฑทองถิ่นกรุงเทพมหานคร
เขตบางขุนเทียน (โรงเรียนคลอง
พิทยาลงกรณ)
2) ถนอม คงยิ้มละมัย
พิพิธภัณฑปานถนอม จ.เพชรบุรี
3) วีรวัฒน กังวานนวกุล
พิพิธภัณฑเลนได จ.เชียงราย
4) พระครูปลัด สุวัฒนจริยคุณ
หอวัฒนธรรมนิทัศนวัดศรีโคมคํา
จ.พะเยา
ดําเนินรายการโดย
จุฑามาศ ลิ้มรัตนพันธ
1) ความกาวหนาของงาน
การศึกษาในพิพิธภัณฑของ
ประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต
ปฐยารัช ธรรมวงษา
2) การพัฒนางานบริการดาน
การศึกษาและกิจกรรมเชิง
วัฒนธรรมในพิพิธภัณฑ: รูปแบบ
และแนวโนมของพิพิธภัณฑชั้นนํา
ในเอเชีย (กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ
แปดแหงในเกาหลี ญี่ปุน สิงคโปร
และฮองกง)
ภัทรภร ภูทอง
3) การศึกษาจริยธรรมใน
พิพิธภัณฑ: สงเสริมสิทธิชุมชน
ดวยการตอตานการลักลอบคา
ทรัพยสินทางวัฒนธรรม
มนทกานติ์ สุวรรณทรรภ กิตติ
ไพศาลศิลป
อภิปรายโดย
อ.ดร.อิสระ ชูศรี
3 สิงหาคม
2560
หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601
13.00-15.00 งานการศึกษาของพิพิธภัณฑ
และความเชื่อมโยงกับระบบ
การศึกษาหลัก
การใชสื่อเพื่อการเรียนรู การวิจัยและพัฒนา
1) บททดลองวาดวยการจัดการ
ก ระ บ ว น ก า รเ รี ย น รู ขอ ง
พิพิธภัณฑใหมีชีวิต
ณรงคฤทธิ์ สุมาลี
2)พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา
กับบทบาทการเปนพื้นที่
สนับสนุนการเรียนรูของ
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ
นครราชสีมา
ชุตินันท ทองคํา
3) พิพิธภัณฑกองทัพอากาศ
และการบินแหงชาติกับการ
พัฒนาความรูในสาขาวิชาธุรกิจ
การบิน
ทักษิณา บุญบุตร
อภิปรายโดย
ผศ.ดร.อภิลักษณ เกษมผลกูล
1) แนวทางการพัฒนาสื่อแบบ
พกพา/ สื่อเรียนรูที่จับตองไดสําหรับ
พิพิธภัณฑ
ดร.สุเมธ อาวสกุลสุทธิ
2) การพัฒนาโปรแกรมประยุกตเพื่อ
การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและ
วัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม
ธกฤต เฉียบแหลม
3) การใชเทคโนโลยีและสื่อสังคม
ส มั ย ใ ห ม ใ น ง า น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ
กรณีศึกษาพิพิธภัณฑในเกาหลีใต
ไตหวัน ญี่ปุน และสิงคโปร
ดร.ปยพงษ สุเมตติกุล
อภิปรายโดย
คุณอาทิตย สุริยะวงศกุล
1) พิพิธภัณฑสิรินธร: หองเรียน
ทองถิ่น บทเรียนจากธรรมชาติ
ศักดิ์ชัย จวนงาม
2) พิพิธภัณฑ กับการเรียนรู:
แนวคิดการออกแบบการประเมิน
การเรียนรูของผูเขาชม
วิจิตรา สุริยกุล ณ อยุธยา
3) ตามลาหาขุมทรัพยลับสมอง :
โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ศึ ก ษ า ที่
พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสาม
พระยา
ศศิธร โตวินัส
อภิปรายโดย
พัฒนพงศ มณเฑียร
หอง อเนกประสงคชั้น 5
13.00-15.00 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู-
เกมเพื่อการศึกษา
1) การพัฒนาสื่อการศึกษาใน
รู ป แ บ บ เ ก ม สํ า ห รั บ
พิพิธภัณฑสถานเครื่องถวย
เอเชียตะวันออกเฉียงใต
บุรินทร สิงหโตอาจ
2) ตมยํากุง เดอะเกม: เกมเพื่อ
ส นั บ ส นุ น ก า ร เ รี ย น รู ใ น
นิทรรศการตมยํากุงวิทยาวิชานี้
อยาเลียน
อ.ดร.เดชรัต สุขกําเนิด
3) ตมยํากุง เดอะเกม:
การศึกษาความพึงพอใจของ
ผูชมในการรวมกิจกรรม
ประกอบนิทรรศการ
ชนนชนก พลสิงห
ผูอภิปราย
คุณสฤณี อาชวานันทกุล
-รวมเลนบอรดเกม ตอจากการ
นําเสนองาน-
15.00-15.15 พักรับประทานอาหารวาง
3 สิงหาคม
2560
หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601
15.15-17.15 เสวนาโตะกลม:
ครูกับการใชพิพิธภัณฑเปน
แหลงเรียนรู
เสวนาโตะกลม: การละคอนกับงาน
พิพิธภัณฑ
Enhancing the Museum
Experience
(บรรยายเปนภาษาอังกฤษ)
รวมแลกเปลี่ยนโดย
ศูนยประสานงานเครือขาย
การศึกษาเพื่อสรางพลเมือง
ประชาธิปไตย (Thai Civic Ed-
ucation-TCE Center)
1) ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล
คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย
2) นายณัฏฐเมธร ดุลคนิต
โรงเรียนราชวินิต มัธยม
3) นายอลงกรณ อัศวโสวรรณ
โรงเรียนเบญจมราชาลัยในพระ
บรมราชูปถัมภ
รวมแลกเปลี่ยนโดย
1) อ.ดร.ภาสกร อินทุมาร
คณะศิลปกรรมศาสตร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร
2) อ.ดร.ปวลักขิ์ สุรัสวดี
คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล
3) โอฬาร เกียรติสมพล
คณะมนุษยศาสตร
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
1) Enhancing the Museum
Experience
Ms.Marina Moore & Mom
Bongkojpriya Yugala
2) Story of our Land
(Brighton College)
3) Meeting Challenges in
Museum Programmes for
Children
Ms.Linh Anh Moreau
Moderator
Ms.Pichaya Suphavanij
หมายเหตุ สําหรับการบรรยายภาษาอังกฤษในหอประชุมชั้น 5 มีหูฟงแปลเปนภาษาไทย
ลงทะเบียน
www.museumsiam.org
http://goo.gl/UFZiwa
สอบถามเพิ่มเติม
ฝายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ
ขอมูลเพิ่มเติม โทร 02-225-2777 ตอ 429 (ลลิตา), 431 (ดวงพร), 432 (ชนนชนก)
หรือ 081-927-9328 เวลา 10.00 น.-17.00 น.
e-mail : museumforum2017@gmail.com

Contenu connexe

Similaire à Museum forum2017 thai

โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกFURD_RSU
 
วารสาร ปอ3
วารสาร ปอ3วารสาร ปอ3
วารสาร ปอ3Suwannee Pun
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.Tor Jt
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21Patcha Linsay
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานteacherhistory
 
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรมสื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรมKookkik Nano
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อยKruBeeKa
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)Khwanchai Phunchanat
 

Similaire à Museum forum2017 thai (20)

โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
V 293
V 293V 293
V 293
 
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุกกลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
กลุ่มชาวชุมชนปงสนุก
 
วารสาร ปอ3
วารสาร ปอ3วารสาร ปอ3
วารสาร ปอ3
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
Pong
PongPong
Pong
 
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
The role of higher education in the arts and cultural dimensions.
 
20653 v 244
20653 v 24420653 v 244
20653 v 244
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
Learn c21
Learn c21Learn c21
Learn c21
 
วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้าง การเรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21
 
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงานการพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
การพัฒนาการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ โครงงาน
 
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรมสื่อการสอนประเภทกิจกรรม
สื่อการสอนประเภทกิจกรรม
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
03chap1
03chap103chap1
03chap1
 
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
10151 ไทยศึกษา (ถอดคำบรรยาย)
 
V 283
V 283V 283
V 283
 

Plus de National Discovery Museum Institute (NDMI)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดชNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุลNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่มNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์National Discovery Museum Institute (NDMI)
 
หนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum Academy
หนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum Academyหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum Academy
หนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum AcademyNational Discovery Museum Institute (NDMI)
 

Plus de National Discovery Museum Institute (NDMI) (20)

รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
รังแก กลั่นแกล้ง ล้อเลียน เหยียดหยาม คืออะไร ความหมายของการ bully ทั้งที่รู้ต...
 
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 1
 
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
ครู กับการ bully ในสถานศึกษา slide 2
 
Agenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bullyAgenda museum-in focus-bully
Agenda museum-in focus-bully
 
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case StudyEducation Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
Education Within & Beyond Museum Walls : A Singapore Case Study
 
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
We make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education a...
 
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
เมื่อต้องทำนิทรรศการหอจดหมายเหตุบุคคล : มณเฑียร อาเตอลิเย่
 
Museum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 posterMuseum Academy 2017 poster
Museum Academy 2017 poster
 
MA application form-2017
MA application form-2017MA application form-2017
MA application form-2017
 
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
10 ขุดแล้วไปไหน จากงานโบราณคดีสู่สื่อการเรียนรู้ชุมชน - รัศมี ชูทรงเดช
 
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์  ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
09 มนุษย(ส)ภาพในพิพิธภัณฑ์ ความกระหายใคร่รู้และการบีฑา - สุดแดน วิสุทธิลักษณ์
 
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
08 หา ‘เรื่อง’ กระบวนการสร้างเนื้อหาในนิทรรศการ - ธนาพล อิ๋วสกุล
 
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
04 how to start a museum - หทัยรัตน์ มณเฑียร
 
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
03 translation of artwork into public knowledge - ประพล คำจิ่ม
 
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
02 เบื้องหลังปฏิบัติการวัตถุพิพิธภัณฑ์ - ดิษพงศ์ เนตรล้อมวงศ์
 
Forum Agenda Museum Without Walls
 Forum Agenda Museum Without Walls Forum Agenda Museum Without Walls
Forum Agenda Museum Without Walls
 
Poster Museum Without Walls 2016-TH
Poster Museum Without Walls 2016-THPoster Museum Without Walls 2016-TH
Poster Museum Without Walls 2016-TH
 
Poster Museum Without Walls 2016-ENG
Poster Museum Without Walls 2016-ENGPoster Museum Without Walls 2016-ENG
Poster Museum Without Walls 2016-ENG
 
Poster Museum Without Walls Short Film Contest
Poster Museum Without Walls Short Film ContestPoster Museum Without Walls Short Film Contest
Poster Museum Without Walls Short Film Contest
 
หนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum Academy
หนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum Academyหนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum Academy
หนังสือเชิญเข้าร่วมโครงการ Museum Academy
 

Museum forum2017 thai

  • 1. Museum Forum 2017 Museum Education NOW! Agenda, Practice, Conflict and Solution แกะปมแกปญหางานการศึกษาในพิพิธภัณฑไทย ความเปนมา แนวคิด และประเด็นการประชุม นับตั้งแตการกอตั้งสภาการพิพิธภัณฑระหวางชาติ หรือ ICOMในป 1946นิยามของพิพิธภัณฑไดถูกปรับเปลี่ยน เรื่อยมา มีการขยายนิยามใหหลากหลายเพื่อรองรับความเปลี่ยนแปลงของสังคมมากขึ้น ในป 1961 คําวา “การศึกษา” ไดถูกเพิ่มเติมเขาไปในการใหนิยามพิพิธภัณฑของ ICOM เชนเดียวกัน ในป 2012 UNESCO ได เผยแพรนโยบายเกี่ยวกับบทบาทของพิพิธภัณฑดานการศึกษาและการทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวา การศึกษาเปน องคประกอบสําคัญประการหนึ่งของพิพิธภัณฑ รวมกับการดูแลรักษาวัตถุ การวิจัย การนําเสนอวัตถุตางๆ ใน พิพิธภัณฑ พิพิธภัณฑสามารถใหการศึกษาอยางไรขอจํากัดในฐานะตัวกลางระหวางขาวของทางประวัติศาสตร มรดกทางวัฒนธรรม และผูเขาชม พันธกิจทางสังคมของพิพิธภัณฑในงานดานการศึกษาสามารถนิยามไดวา คือการเก็บรักษาและการถายทอด ประสบการณทางวัฒนธรรมแกคนรุนตอไป การพัฒนาระบบคุณคา บรรทัดฐานสังคม คุณธรรม และความ หลากหลายทางศาสนา วัฒนธรรม จริยธรรม และธรรมชาติตลอดจนพัฒนาศักยภาพในการสรางสรรค (รวมถึง ทักษะดานการสื่อสาร) ผานรูปแบบที่เฉพาะของงานดานการศึกษา กลาวไดวา ความเปลี่ยนแปลงในบทบาทของพิพิธภัณฑ โดยเฉพาะบทบาทดานการศึกษานั้นสัมพันธกับความ เปลี่ยนแปลงทางสังคม โดยเฉพาะในศตวรรษที่ 21 ซึ่งเปนชวงเวลาที่ทาทายใหพิพิธภัณฑปรับตัวมากขึ้น ไมวา จะเปนการรองรับอุตสาหกรรมการทองเที่ยว การรองรับสังคมพหุวัฒนธรรม การรองรับวิถีการเรียนรูใหมๆ ดวยเทคโนโลยีใหมๆ อาจกลาวไดวา บทบาทดานการใหการศึกษาของพิพิธภัณฑ เปนสวนหนึ่งของตัวตน พิพิธภัณฑสมัยใหมที่สัมพันธกับสังคมมากขึ้น งานดานการศึกษาเปนหนาที่หลักที่เชื่อมระหวางพิพิธภัณฑกับ สังคม ดังจะเห็นไดจากการที่พิพิธภัณฑหลายแหง ไดสรางโปรแกรมการเรียนรูในรูปแบบตางๆ เชน การจัดทัวร การทองเที่ยวชุมชน การสรางสื่อการเรียนรูที่สัมผัสจับตองได โปรแกรมสําหรับครู โปรแกรมการเรียนรูออนไลน เปนตน ในสวนของปฏิบัติการดานการศึกษาก็เกิดเครือขายเปนชุมชนระดับนานาชาติของนักการศึกษาใน พิพิธภัณฑ ระหวางกลุมนักการศึกษา หรือนักวิชาการ ผูปฏิบัติงานในพิพิธภัณฑขึ้นมาเพื่อแลกเปลี่ยนองค ความรู เชน กลุม Museum-Ed, Gulf Museum Educators Network, Museums Australia Education Network Victoria เปนตน ในมิติวิชาการก็เชนกัน ประเด็นเรื่องการศึกษาถูกหยิบยกมาสํารวจ ทบทวนในการ ประชุมวิชาการอยางจริงจัง เชน ในป 2015 Committee for Education and Cultural Action (CECA) ซึ่ง เปนหนึ่งในคณะกรรมการที่กอตั้งมาอยางยาวนานใน ICOM ไดจัดการประชุมวิชาการทางดานการศึกษาซึ่งสําคัญ มากในชื่อวา Museum Education and Accessibility: Bridging the Gaps
  • 2. อยางไรก็ตาม ในบริบทของสังคมไทยนั้น แมวาจะมีการลงทุน/ ใหการสนับสนุนแหลงเรียนรูจํานวนมากเพื่อ รองรับแนวคิดเรื่องการเรียนรูตลอดชีวิต หากแตในแวดวงของพิพิธภัณฑและแหลงเรียนรู กลับไมคอยเนน บทบาทดานการใหการศึกษาอยางเปนระบบ ขอสังเกตนี้สะทอนจากโครงสรางองคกรและโครงสรางบุคลากรใน หนวยงานที่นับแหงไดจะมีฝายการศึกษาหรือนักการศึกษาในพิพิธภัณฑ ในระดับปฏิบัติการนั้นยังขาดความ ชัดเจนในบทบาท ตําแหนงแหงที่ และหนาที่ของนักการศึกษาในพิพิธภัณฑ บทบาทดานการศึกษาของ พิพิธภัณฑยังสามารถพัฒนาเพื่อรองรับความสนใจและกลุมคนที่หลากหลายไดอีกมาก เปนตนวา การทํางานกับ คนในชวงวัยตางๆ คนตางวัฒนธรรม คนที่มีขอจํากัดทางรางกาย คนที่เขาไมถึงแหลงเรียนรู เปนตน นอกจากนี้ ในระดับมหภาคนั้น ยังขาดนโยบายที่เชื่อมโยงพิพิธภัณฑกับระบบการศึกษาหลัก ขาดการสนับสนุน เสริม ศักยภาพ หรือพัฒนาพิพิธภัณฑเล็กๆ ที่ดําเนินการโดยเอกชนหรือชาวบานในฐานะหนวยของการใหความรู ทองถิ่น ใหสามารถสรางเสริมการเรียนรูนอกระบบในสังคมไดอยางยั่งยืน หรือแมแตในมิติของการศึกษาตาม อัธยาศัย พิพิธภัณฑก็แทบไมไดอยูในวัฒนธรรมการเรียนรูของคนไทย ประเด็นเรื่องการศึกษาและพิพิธภัณฑจึงเปนเรื่องที่สําคัญ สําหรับสังคมที่ตองการสรางการเรียนรูที่มีคุณภาพ ตลอดชีวิตใหกับพลเมือง การประชุมวิชาการในครั้งนี้มุงหวังที่จะสรางความเขาใจที่ชัดเจนมากขึ้นในบทบาทของ นักการศึกษาในพิพิธภัณฑ มุงหวังที่จะสํารวจสถานะขององคความรูและปฏิบัติการทางดานการศึกษา ทําความ เขาใจปญหา อุปสรรค ขอจํากัดตางๆ ในบริบทของสังคมไทย และแสวงหาทางออกรวมกันระหวางผูเขารวม ประชุมวิชาการ วัตถุประสงค 1. เพื่อรวบรวมความรูดานการศึกษาในพิพิธภัณฑ 2. เพื่อเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาใน พิพิธภัณฑ 3. เพื่อสรางการแลกเปลี่ยนระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในประเทศไทยและประเทศเพื่อนบาน 4. เพื่อเปนเวทีแลกเปลี่ยนระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑและนักการศึกษาในระบบ การศึกษาหลัก กลุมเปาหมาย 1. นักการศึกษาดานพิพิธภัณฑ 2. นักการศึกษา 3. ผูออกแบบสื่อดานการศึกษา 4. นักวิจัย ศึกษานัก 5. ผูบริหารและผูปฏิบัติงานพิพิธภัณฑ 6. นักวิชาการดานพิพิธภัณฑและดานอื่นๆ ที่เกี่ยวของ
  • 3. เปาหมาย 1. ผูเขารวมประชุมวิชาการ 200 คน 2. บทคัดยอ/ บทความที่รวมเสนอในงานประชุม 20 เรื่อง ผูจัดงาน ฝายวิชาการ สถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ (สพร.) สํานักงานบริหารและพัฒนาองคความรู (องคการมหาชน) องคกรรวมจัด 1. ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) 2. ศูนยภูมิภาคโบราณคดีและวิจิตรศิลปในองคการรัฐมนตรีศึกษาแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต 3. องคการการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) 4. สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) 5. คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร 6. คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 7. สถาบันวิจัยภาษาและวัฒนธรรมเอเชีย มหาวิทยาลัยมหิดล 8. หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร (BACC) 9. ศูนยประสานงานเครือขายการศึกษาเพื่อสรางพลเมืองประชาธิปไตย (Thai Civic Education-TCE Center) ผลที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดองคความรูเกี่ยวกับการทํางานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑ 2. เกิดการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑ 3. เกิดการแลกเปลี่ยนระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑและนักการศึกษาในระบบ การศึกษาหลัก 4. เกิดการแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณระหวางผูปฏิบัติงานดานการศึกษาในพิพิธภัณฑไทยและ ประเทศเพื่อนบาน
  • 4. กําหนดการประชุมวิชาการดานพิพิธภัณฑ Museum Education NOW! 2 สิงหาคม 2560 8.30-9.00 ลงทะเบียน หอประชุมชั้น 5 ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) 9.00-9.30 พิธีเปด นายราเมศ พรหมเย็น ผูอํานวยการสถาบันพิพิธภัณฑการเรียนรูแหงชาติ นายพีรพน พิสณุพงศ ผูอํานวยการศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) นางมณฑิรา หรยางกูร อูนากูล ผูเชี่ยวชาญดานวัฒนธรรม องคการศึกษา วิทยาศาสตร และวัฒนธรรมแหงสหประชาชาติ (UNESCO) 9.30-10.30 We Make the Museum as We Learn : Storytelling as a Bridge between Education and Exhibitions Dr.Ana Maria Theresa LABRADOR, Assistant Director, National Museum of the Philippines 10.30-10.45 รับประทานอาหารวาง 10.45-12.00 Education Within & Beyond Museum Walls: A Singapore Case Study Mr.Alvin Tan, Assistant Chief Executive-Policy and Community, National Heritage Board, Singapore 12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 นําเสนอผลงานทางวิชาการ หอประชุม งานการศึกษาของพิพิธภัณฑและความเชื่อมโยงกับระบบการศึกษาหลัก หอง 402 พิพิธภัณฑในฐานะการศึกษานอกระบบและแหลงเรียนรูตามอัธยาศัย หอง 601 บริบทที่เปลี่ยนไปในงานการศึกษาของพิพิธภัณฑ 15.00-15.15 รับประทานอาหารวาง 15.15-17.15 นําเสนอผลงานทางวิชาการ หอประชุม การจัดการเรียนรูใหพิพิธภัณฑเปนทางเลือกของการศึกษาในระบบและ ในทางกลับกัน หอง 402 เสวนาโตะกลม: งานการศึกษากับพิพิธภัณฑทองถิ่น หอง 601 งานการศึกษาในภูมิภาคเอเชีย 17.15 จบการประชุมวิชาการ
  • 5. 3 สิงหาคม 2560 9.00-9.30 ลงทะเบียน หอประชุมชั้น 5 ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน) 9.30-10.30 Can Museums Change Lives?— Exploring the Potentials of Museum Education Ms.Huei-hsien Lin, Section Chief Education and Outreach Programs Department of Education, Exhibition and Information Services National Palace Museum, Taiwan 10.30-10.45 รับประทานอาหารวาง 10.45 -12.00 Senses Study- Can the Museum be a Place for Aesthetic Education? Dr.Stefano Harney, Professor of Strategic Management Education Singapore Management University 12.00-13.00 รับประทานอาหารกลางวัน 13.00-15.00 นําเสนอผลงานทางวิชาการ หอประชุม งานการศึกษาของพิพิธภัณฑและความเชื่อมโยงกับระบบการศึกษาหลัก หอง 402 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู หอง 601 การวิจัยและพัฒนา หองอเนกประสงคชั้น 5 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู-เกมเพื่อการศึกษา 15.00-15.15 รับประทานอาหารวาง 15.15-17.15 นําเสนอผลงานทางวิชาการ หอประชุม เสวนาโตะกลม : ครูกับการใชพิพิธภัณฑเปนแหลงการเรียนรู หอง 402 เสวนาโตะกลม: การละคอนกับงานพิพิธภัณฑ หอง 601 Strengthening Outreach Education in Museums (บรรยายเปนภาษาอังกฤษ) หองอเนกประสงคชั้น 5 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู-เกมเพื่อการศึกษา 17.15 แถลงการณ Museum Education NOW! 2017, Bangkok 18.00 ปดการประชุมวิชาการ
  • 6. การนําเสนอผลงานวิชาการและแลกเปลี่ยนประสบการณในหองยอย 2 สิงหาคม 2560 หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601 13.00-15.00 งานการศึกษาของพิพิธภัณฑ และความเชื่อมโยงกับระบบ การศึกษาหลัก พิพิธภัณฑในฐานะการศึกษานอก ระบบและแหลงเรียนรูตามอัธยาศัย บริบทที่เปลี่ยนไปในงาน การศึกษาของพิพิธภัณฑ 1) พิพิธภัณฑเจาพระยาบดินทร เดชา (สิงห สิงหเสนี) กับการ จัดการเรียนรูโดยใชพิพิธภัณฑ เปนฐาน ชวิน พงษผจญ 2) แนวทางการจัดกิจกรรม ศิลปะในพิพิธภัณฑศิลปะ เพื่อ สงเสริมประสบการณสุนทรียะ อนิวัฒน ทองสีดา 3) กระบวนการพิพิธภัณฑเพื่อ การเรียนรูของเด็กโรงเรียนบาน กูกาสิงห ดร.อําคา แสงงาม อภิปรายโดย ดร.เฉลิมชัย พันธเลิศ 1) รูปแบบการสงเสริมการเรียนรู ตลอดชีวิตผานสื่อพิพิธภัณฑในระบบ การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัย หลินฟา คูพิพัฒน 2) การจัดพิพิธภัณฑใหเปนแหลง เรียนรูโดยใชปฏิสัมพันธทางสังคม: บ.ว.ร. รศ.ฉันทนา สุรัสวดี 3) การเรียนรูตัวตนผานวัตถุชาติ พันธุ: กลุมชาติพันธุโส พื้นที่ชุมชน และโรงเรียนบานพะทาย ต. พะทาย อ.ทาอุเทน จ.นครพนม นิชนันท กลางวิชัย 4) การมีสวนรวมของชุมชนในการ พัฒนาพิพิธภัณฑทองถิ่นใหเปนแหลง เรียนรูตลอดชีวิต ดร.อลงกรณ จุฑาเกตุ อภิปรายโดย ผศ.ดร.พจนก กาญจนจันทร 1) ภัณฑารักษ กับ นักการศึกษา จารุณี อินเฉิดฉาย 2) จากมุมมองหนึ่งแลวลงมือทํา งานทดลองพัฒนาสื่อการเรียนรู กรณีมิวเซียมสยาม ยุภาพร ธัญวิวัฒนกุล 3) การจัดการเรียนรูดาน ทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ผานสถานแสดงพันธุสัตวน้ํา ภูเก็ต ราตรี สุขสุวรรณ อภิปรายโดย อ.ดร.อิสระ ชูศรี 15.00-15.15 พักรับประทานอาหารวาง
  • 7. 2 สิงหาคม 2560 หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601 15.15-17.15 การจัดการเรียนรูใหพิพิธภัณฑ เปนทางเลือกของการศึกษาใน ระบบและในทางกลับกัน เสวนาโตะกลม: งานการศึกษากับพิพิธภัณฑทองถิ่น งานการศึกษาในภูมิภาคเอเชีย และอื่นๆ 1) การสืบสานวัฒนธรรมควร เรียนทั้งที่โรงเรียนและที่บาน: การสมานลักษณการเรียนรูใน โรงเรียนกับพิพิธภัณฑภูมิสถาน เพื่อการสืบสานวัฒนธรรมไท ทรงดํา อ.ดร.พธู คูศรีพิทักษ 2) บัณฑิตอาสาเพื่อพัฒนา พิพิธภัณฑ: การศึกษาเพื่อความ เปนพลเมืองระดับบัณฑิตศึกษา โดยใชพิพิธภัณฑเปนเครื่องมือ ธีรวรรณ มิ่งบัวหลวง 3) คิดเปน ทําเปน: วิธีวิทยานํา ความรูสูการปฏิบัติสําหรับพิพิธ ภัณฑศึกษา อ.ดร.ชิตชยางค ยมาภัย อภิปรายโดย – รวมแลกเปลี่ยนโดย ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร และ 1) เกรียงศักดิ์ ฤกษงาม พิพิธภัณฑทองถิ่นกรุงเทพมหานคร เขตบางขุนเทียน (โรงเรียนคลอง พิทยาลงกรณ) 2) ถนอม คงยิ้มละมัย พิพิธภัณฑปานถนอม จ.เพชรบุรี 3) วีรวัฒน กังวานนวกุล พิพิธภัณฑเลนได จ.เชียงราย 4) พระครูปลัด สุวัฒนจริยคุณ หอวัฒนธรรมนิทัศนวัดศรีโคมคํา จ.พะเยา ดําเนินรายการโดย จุฑามาศ ลิ้มรัตนพันธ 1) ความกาวหนาของงาน การศึกษาในพิพิธภัณฑของ ประเทศในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต ปฐยารัช ธรรมวงษา 2) การพัฒนางานบริการดาน การศึกษาและกิจกรรมเชิง วัฒนธรรมในพิพิธภัณฑ: รูปแบบ และแนวโนมของพิพิธภัณฑชั้นนํา ในเอเชีย (กรณีศึกษาพิพิธภัณฑ แปดแหงในเกาหลี ญี่ปุน สิงคโปร และฮองกง) ภัทรภร ภูทอง 3) การศึกษาจริยธรรมใน พิพิธภัณฑ: สงเสริมสิทธิชุมชน ดวยการตอตานการลักลอบคา ทรัพยสินทางวัฒนธรรม มนทกานติ์ สุวรรณทรรภ กิตติ ไพศาลศิลป อภิปรายโดย อ.ดร.อิสระ ชูศรี
  • 8. 3 สิงหาคม 2560 หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601 13.00-15.00 งานการศึกษาของพิพิธภัณฑ และความเชื่อมโยงกับระบบ การศึกษาหลัก การใชสื่อเพื่อการเรียนรู การวิจัยและพัฒนา 1) บททดลองวาดวยการจัดการ ก ระ บ ว น ก า รเ รี ย น รู ขอ ง พิพิธภัณฑใหมีชีวิต ณรงคฤทธิ์ สุมาลี 2)พิพิธภัณฑเมืองนครราชสีมา กับบทบาทการเปนพื้นที่ สนับสนุนการเรียนรูของ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ร า ช ภั ฏ นครราชสีมา ชุตินันท ทองคํา 3) พิพิธภัณฑกองทัพอากาศ และการบินแหงชาติกับการ พัฒนาความรูในสาขาวิชาธุรกิจ การบิน ทักษิณา บุญบุตร อภิปรายโดย ผศ.ดร.อภิลักษณ เกษมผลกูล 1) แนวทางการพัฒนาสื่อแบบ พกพา/ สื่อเรียนรูที่จับตองไดสําหรับ พิพิธภัณฑ ดร.สุเมธ อาวสกุลสุทธิ 2) การพัฒนาโปรแกรมประยุกตเพื่อ การทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตรและ วัฒนธรรมของเมืองเชียงใหม ธกฤต เฉียบแหลม 3) การใชเทคโนโลยีและสื่อสังคม ส มั ย ใ ห ม ใ น ง า น พิ พิ ธ ภั ณ ฑ กรณีศึกษาพิพิธภัณฑในเกาหลีใต ไตหวัน ญี่ปุน และสิงคโปร ดร.ปยพงษ สุเมตติกุล อภิปรายโดย คุณอาทิตย สุริยะวงศกุล 1) พิพิธภัณฑสิรินธร: หองเรียน ทองถิ่น บทเรียนจากธรรมชาติ ศักดิ์ชัย จวนงาม 2) พิพิธภัณฑ กับการเรียนรู: แนวคิดการออกแบบการประเมิน การเรียนรูของผูเขาชม วิจิตรา สุริยกุล ณ อยุธยา 3) ตามลาหาขุมทรัพยลับสมอง : โ ป ร แ ก ร ม ก า ร ศึ ก ษ า ที่ พิพิธภัณฑสถานแหงชาติ เจาสาม พระยา ศศิธร โตวินัส อภิปรายโดย พัฒนพงศ มณเฑียร หอง อเนกประสงคชั้น 5 13.00-15.00 การใชสื่อเพื่อการเรียนรู- เกมเพื่อการศึกษา 1) การพัฒนาสื่อการศึกษาใน รู ป แ บ บ เ ก ม สํ า ห รั บ พิพิธภัณฑสถานเครื่องถวย เอเชียตะวันออกเฉียงใต บุรินทร สิงหโตอาจ 2) ตมยํากุง เดอะเกม: เกมเพื่อ ส นั บ ส นุ น ก า ร เ รี ย น รู ใ น นิทรรศการตมยํากุงวิทยาวิชานี้ อยาเลียน อ.ดร.เดชรัต สุขกําเนิด
  • 9. 3) ตมยํากุง เดอะเกม: การศึกษาความพึงพอใจของ ผูชมในการรวมกิจกรรม ประกอบนิทรรศการ ชนนชนก พลสิงห ผูอภิปราย คุณสฤณี อาชวานันทกุล -รวมเลนบอรดเกม ตอจากการ นําเสนองาน- 15.00-15.15 พักรับประทานอาหารวาง 3 สิงหาคม 2560 หอประชุม ชั้น 5 หอง 402 หอง 601 15.15-17.15 เสวนาโตะกลม: ครูกับการใชพิพิธภัณฑเปน แหลงเรียนรู เสวนาโตะกลม: การละคอนกับงาน พิพิธภัณฑ Enhancing the Museum Experience (บรรยายเปนภาษาอังกฤษ) รวมแลกเปลี่ยนโดย ศูนยประสานงานเครือขาย การศึกษาเพื่อสรางพลเมือง ประชาธิปไตย (Thai Civic Ed- ucation-TCE Center) 1) ผศ.อรรถพล อนันตวรสกุล คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย 2) นายณัฏฐเมธร ดุลคนิต โรงเรียนราชวินิต มัธยม 3) นายอลงกรณ อัศวโสวรรณ โรงเรียนเบญจมราชาลัยในพระ บรมราชูปถัมภ รวมแลกเปลี่ยนโดย 1) อ.ดร.ภาสกร อินทุมาร คณะศิลปกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร 2) อ.ดร.ปวลักขิ์ สุรัสวดี คณะศิลปศาสตร มหาวิทยาลัยมหิดล 3) โอฬาร เกียรติสมพล คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร 1) Enhancing the Museum Experience Ms.Marina Moore & Mom Bongkojpriya Yugala 2) Story of our Land (Brighton College) 3) Meeting Challenges in Museum Programmes for Children Ms.Linh Anh Moreau Moderator Ms.Pichaya Suphavanij หมายเหตุ สําหรับการบรรยายภาษาอังกฤษในหอประชุมชั้น 5 มีหูฟงแปลเปนภาษาไทย