SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
คลื่นไฟฟาหัวใจสำหรับการกูชีพขั้นสูง
                                                                                           นพ. ราม บรรพพงษ
*        ความรูเกี่ยวกับคลื่นไฟฟาหัวใจ (Electrocardiogram) เปนสวนสำคัญสำหรับการกูชีพขั้นสูง โดยหลัก
แลวขั้นตอนในการกูชีพมีอยู 3 กรณี นั่นคือ ผูปวยไมมีชีพจร, ผูปวยชีพจรเตนชาผิดปกติ (Bradycardia) และผู
ปวยชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (Tachycardia) แนวทางการรักษาผูปวยรวมทั้งการใหยาชนิดตางๆ ตองอาศัยการ
อานผลคลื่นไฟฟาหัวใจเปนสวนสำคัญในการตัดสินใจ ผูเขียนมีวัตถุประสงคใหผูอานสามารถอานคลื่นไฟฟา
หัวใจได โดยพยายามเรียบเรียงเปนลำดับเพื่องายตอความเขาใจ

สิ่งสำคัญที่ตองรูเกี่ยวกับลักษณะของคลื่นไฟฟาหัวใจ
                                                                             1. หนาตาและ wave ตางๆ
                                                                             ของคลื่นไฟฟาหัวใจ
                                                                             *           หนาตาของ EKG ที่
                                                                             ปกติประกอบไปดวย P wave
                                                                             ตามมาดวย QRS complex ซึ่ง
                                                                             เปนสวนประกอบของ Q คือ
                                                                             wave ที่หัวลงตัวแรก, R คือ
                                                                             wave หัวขึ้นตัวแรก และ S คือ
                                                                             wave ที่หัวลงตัวที่สอง และ
                                                                             สุดทายคือ T wave ระยะ
                                                                             ระหวาง S และ T wave เรียกวา
                                                                             ST segment ซึ่งเปนบริเวณที่
                                                                             เราจะใชในการประเมินผูปวย
                                                                             กลามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด
                                                                             รุนแรง หรือ STEMI (ST
                                                                             segment elevation myocardial
                                                                             infarction)

2. การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจ
*      วิธีการงายที่สุดในการดูอัตราการเตนของหัวใจคือดูคาที่เครื่องทำ EKG คำนวณมาใหเรียบรอยแลว
อยางไรก็ตามหากตองการคำนวณดวยตัวเองก็สามารถทำไดโดยใชสูตรดานลาง โดย RR-interval คือระยะจาก
R wave ตัวแรกและตัวที่สอง (1 ชองใหญ = 5 ชองเล็ก)

 อัตราการเตนของหัวใจ =              1500                  หรือ               300
      (Heart rate)      ระยะ RR-interval (นับเปนชองเล็ก)      ระยะ RR-interval (นับเปนชองใหญ)
*       นอกจากการใชสูตรคำนวณแลว เราอาจประมาณคราวๆ ได โดยหาก RR-interval หางกัน 1, 2, 3, 4,
5, 6 ชองใหญก็จะเทากับอัตราการเตนของหัวใจ 300, 150, 100, 75, 60, 50 ครั้งตอนาที ตามลำดับ ซึ่งหากจำ
ตัวเลขไดก็จะเปนประโยชนอยางมากเวลาประเมินผูปวยในภาวะฉุกเฉินที่ตองรีบทำการรักษา

  ตัวอยางที่ 1 การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจ
                   13 ชองเล็ก




  *         คำนวณตามสูตร = 1500/13 = 115 ครั้งตอนาที
  *         หากประเมินคราวๆ RR-interval หางกันประมาณ 2 ชองกวาๆ ฉะนั้นอัตราการเตนของหัวใจก็จะ
  อยูที่ระหวาง 100-150 ครั้งตอนาที

*      ในกรณีชีพจรของผูปวยไมสม่ำเสมอ (ระยะ RR-interval ไมเทากัน) หรือเรียกวา “irregular” จะไม
สามารถใชสูตรขางบนได โดยจะตองเปลี่ยนไปใชวิธีนับใหม โดยนับจำนวน QRS complex ใน 6 วินาที (30
ชองใหญ) แลวคูณดวย 10 ก็จะไดอัตราการเตนของหัวใจ

  ตัวอยางที่ 2 การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจกรณีหัวใจเตนไมสม่ำเสมอ

                                                 30 ชองใหญ




  *      มีจำนวน QRS complex 11 waves ในชวง 30 ชองใหญ (6 วินาที) เพราะฉะนั้น อัตราการเตน
  ของหัวใจคือ 11x10 = 110 ครั้งตอนาที

*         โดยปกติแลวอัตราการเตนของหัวใจปกติจะอยูที่ 60-100 ครั้งตอนาที อยางไรก็ตามในหลักสูตรการกู
ชีพขั้นสูงจะถือวาผูปวยมีชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (tachycardia) เมื่อ HR ≥150 ครั้งตอนาที และมีชีพจรเตน
ชาผิดปกติ (bradycardia) เมื่อ HR <50 ครั้งตอนาที การกำหนดเชนนี้ เนื่องจากชีพจรถูกรบกวนไดดวย
หลายสาเหตุ ยกตัวอยางเชน ผูปวยอายุ 80 ป มีไขสูง ปวดหลัง ปสสาวะแสบขัด BP 80/40, HR 121, BT 40.1
จริงอยูที่ผูปวยชีพจรเตนเร็วกวา 100 ครั้งตอนาที แตในรายนี้ชีพจรที่เตนเร็วอาจจะมาจากไขที่สูง และความดัน
ที่ตกก็อาจจะเกิดจากผูปวยมีภาวะ sepsis ฉะนั้นการจะโทษวาผูปวยรายนี้มีความดันโลหิตที่ต่ำจากชีพจรที่เตน
เร็วจึงเปนเรื่องที่ไมเหมาะสม การที่ชีพจรจะเปนสาเหตุหลักที่ทำใหอาการของคนไขเปลี่ยนแปลงได ตองมีอัตรา
ที่ชาหรือเร็วจากคาปกติคอนขางมาก
3. การประเมินความกวางของ QRS complex
*      สิ่งสุดทายที่ควรทราบคือการประเมิน QRS complex วากวางหรือแคบ โดยจะถือวา QRS complex
ผิดปกติ เมื่อมีความกวางมากกวา 3 ชองเล็ก

  ตัวอยางที่ 3 ตัวอยาง normal และ wide QRS complex
                                                                        QRS กวาง
                            QRS ปกติ




             QRS 2 ชอง
                                                                     QRS 7 ชอง

*       เมื่อเขาใจหลักการดูคลื่นไฟฟาหัวใจอยางคราวๆ แลว ก็มาถึงขั้นตอนการนำไปใชกับผูปวย โดยใหเริ่ม
ที่การคลำชีพจรของผูปวย เพื่อจะแยกกลุมผูปวยที่ไมมีชีพจร ออกจากผูปวยชีพจรเตนชาหรือเร็วผิดปกติ

                          สถานการณที่คลำชีพจรไมได (Pulseless arrest)
*      คลื่นไฟฟาสำคัญที่ตองรูจักในกลุมผูปวยที่ไมมีชีพจรมีอยู 4 รูปแบบดวยกัน โดยแบงเปนแบบที่ตองได
รับการ Defibrillation ประกอบไปดวย VT (Ventricular tachycardia) และ VF (Ventricular fibrillation) และ
แบบที่ไมตองไดรับการ Defibrillation ประกอบไปดวย Asystole และ PEA (Pulseless electrical activity)

คลื่นไฟฟาหัวใจที่ตองไดรับการ Defibrillation
1. VT (Ventricular tachycardia)




*      VT เปนคลื่นไฟฟาที่ออกมาจาก ventricle
มีลักษณะ wide QRS complex และเตนอยาง
                                                     !!          ขอควรระวัง VT มีทั้งแบบไมมีชีพจร (Pulseless
สม่ำเสมอ ดังตัวอยางดานบน                            VT) ซึ่งตองทำการ defibrillation และมีชีพจร (Pulse VT)
*      อยางไรก็ตามมี VT แบบพิเศษที่เรียกวา          ซึ่งวิธีการรักษาคือการใหยา หรือทำ cardioversion ฉะนั้น
                                                      จึงตองประเมินชีพจรของผูปวยเสมอ กอนจะอาน EKG
Torsade de pointes โดย คลื่นไฟฟาจะเปน
เหมือนกับ VT แตความสูง (amplitude) ของ wave
จะคอยๆ ขึ้นและลงสลับเปนลูกคลื่น สาเหตุที่ตองจำรูปแบบของ Torsade de pointes เพราะตองให MgSo4
ในการรักษา
                                    รูปตัวอยาง Torsade de pointes




2. VF (Ventricular fibrillation)
                                                                  ! !        ขอควรระวัง บางครั้ง VF ที่มี
                                                                    ความสูงของ wave ไมมาก จะแยกกับ
                                                                    Asystole ไดยาก
                                                                      การกดเพิ่ม amplitude ของ wave ใน
*                                                                   เครื่อง EKG monitor ก็สามารถชวยใหเห็น
*       VF มีลักษณะ wide QRS complex เชนกันแตจะเตนไม            wave ของ VF ไดงายขึ้น
สม่ำเสมอ และไมมีรูปแบบชัดเจน

คลื่นไฟฟาหัวใจที่ไมจำเปนตอง Defibrillation
1. Asystole




*      ลักษณะเปนเสนตรงขีดเดียว ซึ่งสามารถจดจำไดงาย ขอควรระวังคือ ถาหาก electrode ที่แปะกับ
คนไขหลุดแลว อาจทำใหสับสนคิดวาผูปวยเปน Asystole ได
2. PEA (Pulseless electrical activity)

! !         ขอควรระวัง สิ่งที่ผิดพลาดบอย
                                               *          PEA คือการที่ระบบสงไฟฟาในหัวใจยังทำงานได แต
                                               ความผิดปกติอยูที่กลามเนื้อหัวใจไมสามารถบีบเอาเลือดจาก
  สำหรับ PEA คือการรักษาผูปวยโดยดูแค        หัวใจออกมาได ฉะนั้นหากผูปวยไมมีชีพจรและมีคลื่นไฟฟา
  EKG และไมไดคลำชีพจรผูปวย บางทีผูปวย    หัวใจที่นอกเหนือจากทั้ง VT, VF และ Asystole จะถือวาเปน
  มี EKG ปกติ แตอาจจะ cardiac arrest อยูก็   PEA ทั้งหมด และตองไดรับการรักษาในแนวทางของผูปวยที่
  เปนได จึงขอเนนย้ำใหคลำชีพจรผูปวย
  เสมอกอนที่จะอาน EKG                        ไมมีชีพจร
สถานการณที่คลำชีพจรได แตเตนชาผิดปกติ (< 50 ครั้งตอนาที)
*        ใชการคิดคำนวณดังที่กลาวไปแลว ประเมินอัตราการ
เตนของหัวใจ ถา <50 ครั้งตอนาทีก็จะอยูในกลุมชีพจรเตนชา
สำหรับกลุมผูปวยชีพจรเตนชาผิดปกติ (Bradycardia) การ
                                                                   ! *         อาการของผูปวยที่ตองไดรับ
                                                                               การรักษาอยางเรงดวน
ตัดสินใจในการรักษาผูปวยจะขึ้นอยูกับอาการของผูปวยวารีบ          1. ความดันโลหิตต่ำ (hypotension)
                                                                     2. ซึมหรือสับสน
ดวนมากเพียงใด ผูปวยที่มีชีพจรเตนชาแตไมมีอาการอะไร อาจ         3. มีอาการแสดงของภาวะชอค (เหงื่อแตก,
มีเวลาเพียงพอใหแพทยไดสืบคนหาสาเหตุและใหการรักษา                    ตัวเย็น)
อยางไรก็ตามหากผูปวยมี อาการที่ตองไดรับการรักษาเรง              4. อาการแนนหนาอกเฉียบพลันที่สงสัยวา
ดวน จะมีแนวทางการรักษาดังนี้                                           เกิดจากภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด
    1. ดูแลให Oxygen และทางเดินหายใจของผูปวย ถาเหนื่อย           5. มีภาวะน้ำทวมปอดเฉียบพลัน (Acute
                                                                        heart failure)
       มากอาจจำเปนตองใสทอชวยหายใจ, ติด monitor vital
       sign รวมทั้ง EKG, เปด IV และหากมีเวลาพอใหทำ EKG
       12 leads
    2. ปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ
    3. เริ่มรักษาดวยการให Atropine dose โดยเริ่มที่ 0.5 mg. ในครั้งแรก และสามารถใหซ้ำไดทุก 3-5 นาที
       ขนาดยามากที่สุดซึ่งสามารถใหไดคือ 3 mg.
    4. หากผูปวยไมตอบสนองตอ Atropine ใหเลือกระหวาง
        • ให Dopamine IV infusion : 2-10 mcg/kg per minute หรือ
        • ให Epinephrine (Adrenaline) IV infusion : 2-10 mcg/kg per minute หรือ
        • ใชเครื่องกระตุนหัวใจทางผิวหนัง (percutaneous pacemaker)

               สถานการณที่คลำชีพจรได แตเตนเร็วผิดปกติ (≥150 ครั้งตอนาที)
*       หลักการประเมินและรักษาผูปวยชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (Tachycardia) คลายคลึงกันกับการดูแลผูปวย
ชีพจรเตนชาผิดปกติ เพียงแตขั้นตอนจะซับซอนกวาเล็กนอย โดยตองไดขอมูล 2 อยางจาก EKG อยางแรกคือ
QRS complex กวางหรือแคบ อยางที่สองคือชีพจรเตนสม่ำเสมอหรือไม (regularity) การรักษาจะขึ้นอยูกับสิ่งที่
เราพบใน EKG รวมกับอาการของผูปวย หากผูปวยมี อาการที่ตองไดรับการรักษาเรงดวน จะมีแนวทางใน
การรักษาดังนี้
   1. ดูแลให Oxygen และทางเดินหายใจของผูปวย ถาเหนื่อยมากอาจจำเปนตองใสทอชวยหายใจ, ติด
      monitor vital sign รวมทั้ง EKG, เปด IV และหากมีเวลาพอใหทำ EKG 12 leads
   2. ปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ
   3. พิจารณาใหยาระงับปวดและคลายกลามเนื้อ เชน Dormicum 2.5-5 mg., Valium 5-10 mg. กับผูปวยที่
      ยังรูสึกตัว และทำ Synchronized cardioversion โดยมีหลักการในการเลือกขนาดของพลังงานที่ใชดัง
      ตารางที่ 1 อยางไรก็ตามหากคลื่นไฟฟาผูปวยมี QRS complex ที่แคบ และเตนอยางสม่ำเสมอ อาจ
      พิจารณาให Adenosine กอนจะตัดสินใจทำ cardioversion ได โดยขนาดที่ใชในครั้งแรกคือ 6 mg. และ
      สามารถให 12 mg. ซ้ำไดอีก 2 ครั้ง
ตารางที่ 1 แสดงขนาดของพลังงานที่ใชในการ Synchronized cardioversion ใน EKG แบบตางๆ
       QRS complex        Regularity                      ขนาดของพลังงาน (J)
            แคบ            สม่ำเสมอ                               50-100 *
            แคบ           ไมสม่ำเสมอ                             120-200
            กวาง          สม่ำเสมอ                                  100
            กวาง         ไมสม่ำเสมอ       ใหเปลี่ยนไป defibrillation แทน (กดปุม sync. ออก)
       * อาจพิจารณาให Adenosine กอนตัดสินใจทำ Cardioversion
*
*       อยางไรก็ตามหากอาการของผูปวยไมเรงดวน จะพิจารณาใหยากับผูปวยแทนการทำ Synchronized
cardioversion โดยหาก QRS complex แคบ และเตนสม่ำเสมอ จะให Adenosine ในขนาดดังที่กลาวมาแลว
แตถาเปนแบบอื่นๆ จะพิจารณาใหยา Antiarrhythmic ตัวอื่นๆ เพิ่มเติม

                        การประเมินผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด
                     ST-segment elevation myocardial infarction (STEMI)
*       ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด มีความเสี่ยงตอการเกิดหัวใจเตนผิดจังหวะรุนแรงซึ่งอาจเปนสาเหตุให
เกิดชีพจรเตนเร็ว/ชาผิดปกติ หรือรุนแรงถึงขั้นชีพจรหยุดเตน ฉะนั้นนอกจากรักษาการเตนหัวใจที่ผิดปกติแลว
ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดยังตองไดรับการเปดเสนเลือด coronary ไมวาจะดวยการใสสายสวนหัวใจ หรือ
การใหยาละลายลิ่มเลือดตามความเหมาะสม
*       EKG ที่พบในกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดนั้นจะมีความผิดปกติที่ ST-segment ซึ่งจะยกขึ้นกวา baseline
ดังตัวอยางดานลาง

  ตัวอยางที่ 4 ตัวอยาง ST-segment elevation
                                                     ST segment ที่ยกขึ้นจาก baseline
            ST segment ปกติ

Contenu connexe

Tendances

Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรืองUtai Sukviwatsirikul
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...Utai Sukviwatsirikul
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 

Tendances (20)

Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
Arrythmia
ArrythmiaArrythmia
Arrythmia
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
โรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute myocardial infarction, AMI หรือ Acute c...
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Septic Shock
Septic ShockSeptic Shock
Septic Shock
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Chest drain systems
Chest drain systemsChest drain systems
Chest drain systems
 

Similaire à EKG in ACLS

E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50Loveis1able Khumpuangdee
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50Loveis1able Khumpuangdee
 
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรpohgreen
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxxeremslad
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Mew Tadsawiya
 
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyNle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyLoveis1able Khumpuangdee
 
Nt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete AnsNt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete Ansvora kun
 
Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2vora kun
 
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาตการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาตUtai Sukviwatsirikul
 
Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010taem
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 updatetaem
 
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Loveis1able Khumpuangdee
 
CPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามาCPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามาvora kun
 
Clinical medicine
Clinical medicineClinical medicine
Clinical medicineMoni Buvy
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 

Similaire à EKG in ACLS (19)

ชีพจร
ชีพจรชีพจร
ชีพจร
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
 
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
E831 b handout_pharmacotherapeutics_arh_50
 
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกรSurgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
Surgery of acquired heart disease อ.วรวงศ์ ศลิษฏ์อรรถกร
 
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxxการดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย  Ischemiaxxx
การดูแลผู้ป่วยแน่นหน้าอก สงสัย Ischemiaxxx
 
Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554Electrocardiogram 2554
Electrocardiogram 2554
 
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut keyNle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
Nle step 2_2009 si115-116 and nle_step_2_2009 nctms editors cut key
 
Nt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete AnsNt2009 Complete Ans
Nt2009 Complete Ans
 
Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2Step3 Tutorial by SWU book2
Step3 Tutorial by SWU book2
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาตการดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
การดูแลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคหัวใจ หลอดเลือด และ อัมพาต
 
Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010Updates in CPR 2010
Updates in CPR 2010
 
CPR2010 update
CPR2010 updateCPR2010 update
CPR2010 update
 
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
Www1.si.mahidol.ac.th km sites_default_files_01_2
 
CPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามาCPR 2010 อ ปริญญา รามา
CPR 2010 อ ปริญญา รามา
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
2008guideline ht
2008guideline ht2008guideline ht
2008guideline ht
 
Clinical medicine
Clinical medicineClinical medicine
Clinical medicine
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 

Plus de Narenthorn EMS Center

CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesNarenthorn EMS Center
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidNarenthorn EMS Center
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนNarenthorn EMS Center
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistNarenthorn EMS Center
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยNarenthorn EMS Center
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNarenthorn EMS Center
 

Plus de Narenthorn EMS Center (20)

First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016First aid by Narenthorn 2016
First aid by Narenthorn 2016
 
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstancesCPR2015 update: ACS and Special circumstances
CPR2015 update: ACS and Special circumstances
 
CPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLSCPR2015 update: PBLS
CPR2015 update: PBLS
 
CPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLSCPR2015 update: Adult ACLS
CPR2015 update: Adult ACLS
 
CPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALSCPR2015 update: PALS
CPR2015 update: PALS
 
Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015Neonatal resuscitation 2015
Neonatal resuscitation 2015
 
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aidCPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
CPR2015 update: BLS, CPR Quality and First aid
 
CPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issuesCPR2015 update: Ethical issues
CPR2015 update: Ethical issues
 
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผนการอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
การอำนวยความสะดวกการจราจรระหว่างการซ้อมแผน
 
Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010Acute coronary syndrome 2010
Acute coronary syndrome 2010
 
Team dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklistTeam dynamic for Advanced life support checklist
Team dynamic for Advanced life support checklist
 
Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010Acute Stroke 2010
Acute Stroke 2010
 
ACLS 2010
ACLS 2010ACLS 2010
ACLS 2010
 
PALS 2010
PALS 2010PALS 2010
PALS 2010
 
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยการยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
การยกและการเคลื่อนย้ายผู้ป่วย
 
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิดNeonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
Neonatal resuscitation การช่วยฟื้นชีวิตทารกและทารกแรกเกิด
 
Airway workshop Reading material
Airway workshop Reading materialAirway workshop Reading material
Airway workshop Reading material
 
APHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 ExamAPHLS & EMS director 2011 Exam
APHLS & EMS director 2011 Exam
 
Ill appearing neonates
Ill appearing neonatesIll appearing neonates
Ill appearing neonates
 
PAROS Proposal
PAROS ProposalPAROS Proposal
PAROS Proposal
 

EKG in ACLS

  • 1. คลื่นไฟฟาหัวใจสำหรับการกูชีพขั้นสูง นพ. ราม บรรพพงษ * ความรูเกี่ยวกับคลื่นไฟฟาหัวใจ (Electrocardiogram) เปนสวนสำคัญสำหรับการกูชีพขั้นสูง โดยหลัก แลวขั้นตอนในการกูชีพมีอยู 3 กรณี นั่นคือ ผูปวยไมมีชีพจร, ผูปวยชีพจรเตนชาผิดปกติ (Bradycardia) และผู ปวยชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (Tachycardia) แนวทางการรักษาผูปวยรวมทั้งการใหยาชนิดตางๆ ตองอาศัยการ อานผลคลื่นไฟฟาหัวใจเปนสวนสำคัญในการตัดสินใจ ผูเขียนมีวัตถุประสงคใหผูอานสามารถอานคลื่นไฟฟา หัวใจได โดยพยายามเรียบเรียงเปนลำดับเพื่องายตอความเขาใจ สิ่งสำคัญที่ตองรูเกี่ยวกับลักษณะของคลื่นไฟฟาหัวใจ 1. หนาตาและ wave ตางๆ ของคลื่นไฟฟาหัวใจ * หนาตาของ EKG ที่ ปกติประกอบไปดวย P wave ตามมาดวย QRS complex ซึ่ง เปนสวนประกอบของ Q คือ wave ที่หัวลงตัวแรก, R คือ wave หัวขึ้นตัวแรก และ S คือ wave ที่หัวลงตัวที่สอง และ สุดทายคือ T wave ระยะ ระหวาง S และ T wave เรียกวา ST segment ซึ่งเปนบริเวณที่ เราจะใชในการประเมินผูปวย กลามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด รุนแรง หรือ STEMI (ST segment elevation myocardial infarction) 2. การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจ * วิธีการงายที่สุดในการดูอัตราการเตนของหัวใจคือดูคาที่เครื่องทำ EKG คำนวณมาใหเรียบรอยแลว อยางไรก็ตามหากตองการคำนวณดวยตัวเองก็สามารถทำไดโดยใชสูตรดานลาง โดย RR-interval คือระยะจาก R wave ตัวแรกและตัวที่สอง (1 ชองใหญ = 5 ชองเล็ก) อัตราการเตนของหัวใจ = 1500 หรือ 300 (Heart rate) ระยะ RR-interval (นับเปนชองเล็ก) ระยะ RR-interval (นับเปนชองใหญ)
  • 2. * นอกจากการใชสูตรคำนวณแลว เราอาจประมาณคราวๆ ได โดยหาก RR-interval หางกัน 1, 2, 3, 4, 5, 6 ชองใหญก็จะเทากับอัตราการเตนของหัวใจ 300, 150, 100, 75, 60, 50 ครั้งตอนาที ตามลำดับ ซึ่งหากจำ ตัวเลขไดก็จะเปนประโยชนอยางมากเวลาประเมินผูปวยในภาวะฉุกเฉินที่ตองรีบทำการรักษา ตัวอยางที่ 1 การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจ 13 ชองเล็ก * คำนวณตามสูตร = 1500/13 = 115 ครั้งตอนาที * หากประเมินคราวๆ RR-interval หางกันประมาณ 2 ชองกวาๆ ฉะนั้นอัตราการเตนของหัวใจก็จะ อยูที่ระหวาง 100-150 ครั้งตอนาที * ในกรณีชีพจรของผูปวยไมสม่ำเสมอ (ระยะ RR-interval ไมเทากัน) หรือเรียกวา “irregular” จะไม สามารถใชสูตรขางบนได โดยจะตองเปลี่ยนไปใชวิธีนับใหม โดยนับจำนวน QRS complex ใน 6 วินาที (30 ชองใหญ) แลวคูณดวย 10 ก็จะไดอัตราการเตนของหัวใจ ตัวอยางที่ 2 การคำนวณอัตราการเตนของหัวใจกรณีหัวใจเตนไมสม่ำเสมอ 30 ชองใหญ * มีจำนวน QRS complex 11 waves ในชวง 30 ชองใหญ (6 วินาที) เพราะฉะนั้น อัตราการเตน ของหัวใจคือ 11x10 = 110 ครั้งตอนาที * โดยปกติแลวอัตราการเตนของหัวใจปกติจะอยูที่ 60-100 ครั้งตอนาที อยางไรก็ตามในหลักสูตรการกู ชีพขั้นสูงจะถือวาผูปวยมีชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (tachycardia) เมื่อ HR ≥150 ครั้งตอนาที และมีชีพจรเตน ชาผิดปกติ (bradycardia) เมื่อ HR <50 ครั้งตอนาที การกำหนดเชนนี้ เนื่องจากชีพจรถูกรบกวนไดดวย หลายสาเหตุ ยกตัวอยางเชน ผูปวยอายุ 80 ป มีไขสูง ปวดหลัง ปสสาวะแสบขัด BP 80/40, HR 121, BT 40.1 จริงอยูที่ผูปวยชีพจรเตนเร็วกวา 100 ครั้งตอนาที แตในรายนี้ชีพจรที่เตนเร็วอาจจะมาจากไขที่สูง และความดัน ที่ตกก็อาจจะเกิดจากผูปวยมีภาวะ sepsis ฉะนั้นการจะโทษวาผูปวยรายนี้มีความดันโลหิตที่ต่ำจากชีพจรที่เตน เร็วจึงเปนเรื่องที่ไมเหมาะสม การที่ชีพจรจะเปนสาเหตุหลักที่ทำใหอาการของคนไขเปลี่ยนแปลงได ตองมีอัตรา ที่ชาหรือเร็วจากคาปกติคอนขางมาก
  • 3. 3. การประเมินความกวางของ QRS complex * สิ่งสุดทายที่ควรทราบคือการประเมิน QRS complex วากวางหรือแคบ โดยจะถือวา QRS complex ผิดปกติ เมื่อมีความกวางมากกวา 3 ชองเล็ก ตัวอยางที่ 3 ตัวอยาง normal และ wide QRS complex QRS กวาง QRS ปกติ QRS 2 ชอง QRS 7 ชอง * เมื่อเขาใจหลักการดูคลื่นไฟฟาหัวใจอยางคราวๆ แลว ก็มาถึงขั้นตอนการนำไปใชกับผูปวย โดยใหเริ่ม ที่การคลำชีพจรของผูปวย เพื่อจะแยกกลุมผูปวยที่ไมมีชีพจร ออกจากผูปวยชีพจรเตนชาหรือเร็วผิดปกติ สถานการณที่คลำชีพจรไมได (Pulseless arrest) * คลื่นไฟฟาสำคัญที่ตองรูจักในกลุมผูปวยที่ไมมีชีพจรมีอยู 4 รูปแบบดวยกัน โดยแบงเปนแบบที่ตองได รับการ Defibrillation ประกอบไปดวย VT (Ventricular tachycardia) และ VF (Ventricular fibrillation) และ แบบที่ไมตองไดรับการ Defibrillation ประกอบไปดวย Asystole และ PEA (Pulseless electrical activity) คลื่นไฟฟาหัวใจที่ตองไดรับการ Defibrillation 1. VT (Ventricular tachycardia) * VT เปนคลื่นไฟฟาที่ออกมาจาก ventricle มีลักษณะ wide QRS complex และเตนอยาง !! ขอควรระวัง VT มีทั้งแบบไมมีชีพจร (Pulseless สม่ำเสมอ ดังตัวอยางดานบน VT) ซึ่งตองทำการ defibrillation และมีชีพจร (Pulse VT) * อยางไรก็ตามมี VT แบบพิเศษที่เรียกวา ซึ่งวิธีการรักษาคือการใหยา หรือทำ cardioversion ฉะนั้น จึงตองประเมินชีพจรของผูปวยเสมอ กอนจะอาน EKG Torsade de pointes โดย คลื่นไฟฟาจะเปน เหมือนกับ VT แตความสูง (amplitude) ของ wave
  • 4. จะคอยๆ ขึ้นและลงสลับเปนลูกคลื่น สาเหตุที่ตองจำรูปแบบของ Torsade de pointes เพราะตองให MgSo4 ในการรักษา รูปตัวอยาง Torsade de pointes 2. VF (Ventricular fibrillation) ! ! ขอควรระวัง บางครั้ง VF ที่มี ความสูงของ wave ไมมาก จะแยกกับ Asystole ไดยาก การกดเพิ่ม amplitude ของ wave ใน * เครื่อง EKG monitor ก็สามารถชวยใหเห็น * VF มีลักษณะ wide QRS complex เชนกันแตจะเตนไม wave ของ VF ไดงายขึ้น สม่ำเสมอ และไมมีรูปแบบชัดเจน คลื่นไฟฟาหัวใจที่ไมจำเปนตอง Defibrillation 1. Asystole * ลักษณะเปนเสนตรงขีดเดียว ซึ่งสามารถจดจำไดงาย ขอควรระวังคือ ถาหาก electrode ที่แปะกับ คนไขหลุดแลว อาจทำใหสับสนคิดวาผูปวยเปน Asystole ได 2. PEA (Pulseless electrical activity) ! ! ขอควรระวัง สิ่งที่ผิดพลาดบอย * PEA คือการที่ระบบสงไฟฟาในหัวใจยังทำงานได แต ความผิดปกติอยูที่กลามเนื้อหัวใจไมสามารถบีบเอาเลือดจาก สำหรับ PEA คือการรักษาผูปวยโดยดูแค หัวใจออกมาได ฉะนั้นหากผูปวยไมมีชีพจรและมีคลื่นไฟฟา EKG และไมไดคลำชีพจรผูปวย บางทีผูปวย หัวใจที่นอกเหนือจากทั้ง VT, VF และ Asystole จะถือวาเปน มี EKG ปกติ แตอาจจะ cardiac arrest อยูก็ PEA ทั้งหมด และตองไดรับการรักษาในแนวทางของผูปวยที่ เปนได จึงขอเนนย้ำใหคลำชีพจรผูปวย เสมอกอนที่จะอาน EKG ไมมีชีพจร
  • 5. สถานการณที่คลำชีพจรได แตเตนชาผิดปกติ (< 50 ครั้งตอนาที) * ใชการคิดคำนวณดังที่กลาวไปแลว ประเมินอัตราการ เตนของหัวใจ ถา <50 ครั้งตอนาทีก็จะอยูในกลุมชีพจรเตนชา สำหรับกลุมผูปวยชีพจรเตนชาผิดปกติ (Bradycardia) การ ! * อาการของผูปวยที่ตองไดรับ การรักษาอยางเรงดวน ตัดสินใจในการรักษาผูปวยจะขึ้นอยูกับอาการของผูปวยวารีบ 1. ความดันโลหิตต่ำ (hypotension) 2. ซึมหรือสับสน ดวนมากเพียงใด ผูปวยที่มีชีพจรเตนชาแตไมมีอาการอะไร อาจ 3. มีอาการแสดงของภาวะชอค (เหงื่อแตก, มีเวลาเพียงพอใหแพทยไดสืบคนหาสาเหตุและใหการรักษา ตัวเย็น) อยางไรก็ตามหากผูปวยมี อาการที่ตองไดรับการรักษาเรง 4. อาการแนนหนาอกเฉียบพลันที่สงสัยวา ดวน จะมีแนวทางการรักษาดังนี้ เกิดจากภาวะกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด 1. ดูแลให Oxygen และทางเดินหายใจของผูปวย ถาเหนื่อย 5. มีภาวะน้ำทวมปอดเฉียบพลัน (Acute heart failure) มากอาจจำเปนตองใสทอชวยหายใจ, ติด monitor vital sign รวมทั้ง EKG, เปด IV และหากมีเวลาพอใหทำ EKG 12 leads 2. ปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ 3. เริ่มรักษาดวยการให Atropine dose โดยเริ่มที่ 0.5 mg. ในครั้งแรก และสามารถใหซ้ำไดทุก 3-5 นาที ขนาดยามากที่สุดซึ่งสามารถใหไดคือ 3 mg. 4. หากผูปวยไมตอบสนองตอ Atropine ใหเลือกระหวาง • ให Dopamine IV infusion : 2-10 mcg/kg per minute หรือ • ให Epinephrine (Adrenaline) IV infusion : 2-10 mcg/kg per minute หรือ • ใชเครื่องกระตุนหัวใจทางผิวหนัง (percutaneous pacemaker) สถานการณที่คลำชีพจรได แตเตนเร็วผิดปกติ (≥150 ครั้งตอนาที) * หลักการประเมินและรักษาผูปวยชีพจรเตนเร็วผิดปกติ (Tachycardia) คลายคลึงกันกับการดูแลผูปวย ชีพจรเตนชาผิดปกติ เพียงแตขั้นตอนจะซับซอนกวาเล็กนอย โดยตองไดขอมูล 2 อยางจาก EKG อยางแรกคือ QRS complex กวางหรือแคบ อยางที่สองคือชีพจรเตนสม่ำเสมอหรือไม (regularity) การรักษาจะขึ้นอยูกับสิ่งที่ เราพบใน EKG รวมกับอาการของผูปวย หากผูปวยมี อาการที่ตองไดรับการรักษาเรงดวน จะมีแนวทางใน การรักษาดังนี้ 1. ดูแลให Oxygen และทางเดินหายใจของผูปวย ถาเหนื่อยมากอาจจำเปนตองใสทอชวยหายใจ, ติด monitor vital sign รวมทั้ง EKG, เปด IV และหากมีเวลาพอใหทำ EKG 12 leads 2. ปรึกษาแพทยผูเชี่ยวชาญ 3. พิจารณาใหยาระงับปวดและคลายกลามเนื้อ เชน Dormicum 2.5-5 mg., Valium 5-10 mg. กับผูปวยที่ ยังรูสึกตัว และทำ Synchronized cardioversion โดยมีหลักการในการเลือกขนาดของพลังงานที่ใชดัง ตารางที่ 1 อยางไรก็ตามหากคลื่นไฟฟาผูปวยมี QRS complex ที่แคบ และเตนอยางสม่ำเสมอ อาจ พิจารณาให Adenosine กอนจะตัดสินใจทำ cardioversion ได โดยขนาดที่ใชในครั้งแรกคือ 6 mg. และ สามารถให 12 mg. ซ้ำไดอีก 2 ครั้ง
  • 6. ตารางที่ 1 แสดงขนาดของพลังงานที่ใชในการ Synchronized cardioversion ใน EKG แบบตางๆ QRS complex Regularity ขนาดของพลังงาน (J) แคบ สม่ำเสมอ 50-100 * แคบ ไมสม่ำเสมอ 120-200 กวาง สม่ำเสมอ 100 กวาง ไมสม่ำเสมอ ใหเปลี่ยนไป defibrillation แทน (กดปุม sync. ออก) * อาจพิจารณาให Adenosine กอนตัดสินใจทำ Cardioversion * * อยางไรก็ตามหากอาการของผูปวยไมเรงดวน จะพิจารณาใหยากับผูปวยแทนการทำ Synchronized cardioversion โดยหาก QRS complex แคบ และเตนสม่ำเสมอ จะให Adenosine ในขนาดดังที่กลาวมาแลว แตถาเปนแบบอื่นๆ จะพิจารณาใหยา Antiarrhythmic ตัวอื่นๆ เพิ่มเติม การประเมินผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิด ST-segment elevation myocardial infarction (STEMI) * ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือด มีความเสี่ยงตอการเกิดหัวใจเตนผิดจังหวะรุนแรงซึ่งอาจเปนสาเหตุให เกิดชีพจรเตนเร็ว/ชาผิดปกติ หรือรุนแรงถึงขั้นชีพจรหยุดเตน ฉะนั้นนอกจากรักษาการเตนหัวใจที่ผิดปกติแลว ผูปวยกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดยังตองไดรับการเปดเสนเลือด coronary ไมวาจะดวยการใสสายสวนหัวใจ หรือ การใหยาละลายลิ่มเลือดตามความเหมาะสม * EKG ที่พบในกลามเนื้อหัวใจขาดเลือดนั้นจะมีความผิดปกติที่ ST-segment ซึ่งจะยกขึ้นกวา baseline ดังตัวอยางดานลาง ตัวอยางที่ 4 ตัวอยาง ST-segment elevation ST segment ที่ยกขึ้นจาก baseline ST segment ปกติ