SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  6
Télécharger pour lire hors ligne
ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษที่21 เป็น
เรื่องสาคัญ ของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่าง
ทั่วถึง ครูจึงต้องมีความ ตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะ
สาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลก ในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษ
ที่21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็ก
ในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ
ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่
21 ดังนี้ สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ ปัจจุบันการ
เรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วย
แนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้
นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได
ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก
 ศิลปะ
 คณิตศาสตร์
 การปกครองและหน้าที่พลเมือง
 เศรษฐศาสตร์
 วิทยาศาสตร์
 ภูมิศาสตร์
 ประวัติศาสตร์
โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ใน
เนื้อหาเชิง สหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสริมความเข้าใจใน
เนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้
ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C
3R คือ Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้), และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
7C ได้แก่
 Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ
แก้ปัญหา)
 Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)
 Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)
 Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะ
ผู้นา)
 Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทัน
สื่อ )
 Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้)
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบ
และแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ
ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน
โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่
21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบ
แนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความ
รู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนินชีวิต
กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ที่แสดงผลลัพธ์ของนักเรียนและปัจจัยส่งเสริม
สนับสนุนในการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับศตวรรษที่ 21
ภาพ ภาพ กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะการเรียนรู้ใน
ศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง
เนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ทั้งในด้านความรู้สาระวิชาหลัก
(Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมทั้ง
ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเยนการสอน การพัฒนาครู
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21
การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st
Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้
ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based
Learning) ของนักเรียน ซึ่งสิ่งที่เป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์
(Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การ
ทาหน้าที่ของครูแต่ละคนนั่นเอง
ภาพเป้าหมายการเรียนรู้ใรศตวรรษที่ 21
ที่มาเพิ่มเติม : https://hooahz.wordpress.com/เทคโนโลยีการศึกษากับครู
https://hooahz.wordpress.com/

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์Ornkapat Bualom
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...Pornwipa Onlamul
 
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :DrDanai Thienphut
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจNATTAWANKONGBURAN
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001Thidarat Termphon
 
12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุก
12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุก12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุก
12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุกInfluencer TH
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานChainarong Maharak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”Pitchapa Liamnopparat
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55Decode Ac
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร
อังกฤษเพื่อการสื่อสารอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
อังกฤษเพื่อการสื่อสารAroonroong Phukdee
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002Thidarat Termphon
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002Thidarat Termphon
 

Tendances (20)

บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์
 
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
เปรียบเทียบ หลักสูตรแกนกลางปี พ.ศ. ๒๕๕๑ กับ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลา...
 
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :Challenge Based Learning(CBL)  : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
Challenge Based Learning(CBL) : การเรียนรู้บนความท้าทาย :
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อเศรษฐกิจ
 
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
ทักษะการเรียนรู้ ม.ต้น ทร21001
 
12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุก
12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุก12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุก
12 ไอเดียสอนเด็กเรื่องอาชีพให้สนุก
 
การจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงานการจัดทำรายงาน
การจัดทำรายงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่วัยผู้ใหญ่
วัยผู้ใหญ่
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
โครงการ “การพัฒนาหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) เพื่อการศึกษา”
 
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
บทที่ 10 บุคลิกภาพของครูปฐมวัย 55
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัยตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
ตัวแปรและสมมติฐานการวิจัย
 
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร
อังกฤษเพื่อการสื่อสารอังกฤษเพื่อการสื่อสาร
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร
 
3
33
3
 
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
ทักษะการพัฒนาอาชีพ ม.ต้น อช21002
 
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
สุขศึกษา พลศึกษา ม.ต้น ทช21002
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 

En vedette

ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมProud N. Boonrak
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูSuwanan Nonsrikham
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคkruskru
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานPrachyanun Nilsook
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51oieseau1
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...TupPee Zhouyongfang
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51krupornpana55
 
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556Apiruk Kaewkanjanawan
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56Thanaporn Sangthong
 

En vedette (16)

ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
มาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครูมาตรฐานวิชาชีพครู
มาตรฐานวิชาชีพครู
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาคสรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
สรุปเนื้อหาวิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนสอบระหว่างภาค
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆชื่อคณะกรรมการต่างๆ
ชื่อคณะกรรมการต่างๆ
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
อักษรย่อ
อักษรย่ออักษรย่อ
อักษรย่อ
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
การวัดและประเมินผลตามหลักสูตรฯ 51
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
มาตรฐานวิชาชีพครู 2556
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
มาตรฐานวิชาชีพ ปี 56
 

Similaire à ศตรวรรดที่ 21

Similaire à ศตรวรรดที่ 21 (7)

ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Role610725 np2
Role610725 np2Role610725 np2
Role610725 np2
 

Plus de Pa'rig Prig

ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินPa'rig Prig
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์Pa'rig Prig
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาคPa'rig Prig
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาคPa'rig Prig
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาคPa'rig Prig
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลPa'rig Prig
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตPa'rig Prig
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพPa'rig Prig
 

Plus de Pa'rig Prig (20)

4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
Eport2
Eport2Eport2
Eport2
 
5
55
5
 
4
44
4
 
3
33
3
 
2
22
2
 
1
11
1
 
2
22
2
 
1
11
1
 
ปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมินปกแบบประเมิน
ปกแบบประเมิน
 
ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์ปูนปลาสเตอร์
ปูนปลาสเตอร์
 
อากาศภาค
อากาศภาคอากาศภาค
อากาศภาค
 
ธรณีภาค
ธรณีภาคธรณีภาค
ธรณีภาค
 
ชีวภาค
ชีวภาคชีวภาค
ชีวภาค
 
โลกและจักรวาล
โลกและจักรวาลโลกและจักรวาล
โลกและจักรวาล
 
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิตบทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
บทที่ 4 การวาดรูปทรงเรขาคณิต
 
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพบทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
บทที่ 3 ทฤษฎีการร่างภาพ
 

ศตรวรรดที่ 21

  • 1.
  • 2. ความท้าทายด้านการศึกษาในศตวรรษที่ 21 ในการเตรียมนักเรียนให้พร้อมกับชีวิตในศตวรรษที่21 เป็น เรื่องสาคัญ ของกระแสการปรับเปลี่ยนทางสังคมที่เกิดขึ้นในศตวรรษที่21 ส่งผลต่อวิถีการดารงชีพของสังคมอย่าง ทั่วถึง ครูจึงต้องมีความ ตื่นตัวและเตรียมพร้อมในการจัดการเรียนรู้เพื่อเตรียมความพร้อมให้นักเรียนมีทักษะ สาหรับการออกไปดารงชีวิตในโลก ในศตวรรษที่ 21 ที่เปลี่ยนไปจากศตวรรษที่ 20 และ 19 โดยทักษะแห่งศตวรรษ ที่21 ที่สาคัญที่สุด คือ ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) ส่งผลให้มีการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เด็ก ในศตวรรษที่ 21 นี้ มีความรู้ ความสามารถ และทักษะจาเป็น ซึ่งเป็นผลจากการปฏิรูปเปลี่ยนแปลงรูปแบบการ จัดการเรียนการสอน ตลอดจนการเตรียมความพร้อมด้านต่างๆ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 วิจารณ์ พานิช (2555: 16-21) ได้กล่าวถึงทักษะเพื่อการดารงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ดังนี้ สาระวิชาก็มีความสาคัญ แต่ไม่เพียงพอสาหรับการเรียนรู้เพื่อมีชีวิตในโลกยุคศตวรรษที่ ๒๑ ปัจจุบันการ เรียนรู้สาระวิชา (content หรือ subject matter) ควรเป็นการเรียนจากการค้นคว้าเองของศิษย์ โดยครูช่วย แนะนา และช่วยออกแบบกิจกรรมที่ช่วยให้ นักเรียนแต่ละคนสามารถประเมินความก้าวหน้าของการเรียนรู้ของตนเองได ภาษาแม่ และภาษาสาคัญของโลก  ศิลปะ  คณิตศาสตร์  การปกครองและหน้าที่พลเมือง  เศรษฐศาสตร์  วิทยาศาสตร์  ภูมิศาสตร์  ประวัติศาสตร์
  • 3. โดยวิชาแกนหลักนี้จะนามาสู่การกาหนดเป็นกรอบแนวคิดและยุทธศาสตร์สาคัญต่อการจัดการเรียนรู้ใน เนื้อหาเชิง สหวิทยาการ (Interdisciplinary) หรือหัวข้อสาหรับศตวรรษที่ 21 โดยการส่งเสริมความเข้าใจใน เนื้อหาวิชาแกนหลัก และสอดแทรกทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เข้าไปในทุกวิชาแกนหลัก ดังนี้
  • 4. ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 ที่ทุกคนจะต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต คือ การเรียนรู้ 3R x 7C 3R คือ Reading (อ่านออก), (W) Riting (เขียนได้), และ (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น) 7C ได้แก่  Critical Thinking and Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ แก้ปัญหา)  Creativity and Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม)  Cross-cultural Understanding (ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์)  Collaboration, Teamwork and Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีม และภาวะ ผู้นา)  Communications, Information, and Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสารสารสนเทศ และรู้เท่าทัน สื่อ )  Computing and ICT Literacy (ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร  Career and Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 เป็นการกาหนดแนวทางยุทธศาสตร์ในการจัดการเรียนรู้ โดยร่วมกันสร้างรูปแบบ และแนวปฏิบัติในการเสริมสร้างประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยเน้นที่องค์ความรู้ ทักษะ ความเชี่ยวชาญและสมรรถนะที่เกิดกับตัวผู้เรียน เพื่อใช้ในการดารงชีวิตในสังคมแห่งความเปลี่ยนแปลงในปัจจุบัน โดยจะอ้างถึงรูปแบบ (Model) ที่พัฒนามาจากเครือข่ายองค์กรความร่วมมือเพื่อทักษะแห่งการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Partnership For 21st Century Skills) (www.p21.org ) ที่มีชื่อย่อว่า เครือข่าย P21 ซึ่งได้พัฒนากรอบ แนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 โดยผสมผสานองค์ความรู้ ทักษะเฉพาะด้าน ความชานาญการและความ รู้เท่าทันด้านต่างๆ เข้าด้วยกัน เพื่อความสาเร็จของผู้เรียนทั้งด้านการทางานและการดาเนินชีวิต
  • 5. กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ 21 ที่แสดงผลลัพธ์ของนักเรียนและปัจจัยส่งเสริม สนับสนุนในการจัดการเรียนรู้เพื่อรองรับศตวรรษที่ 21 ภาพ ภาพ กรอบแนวคิดเพื่อการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 กรอบแนวคิดเชิงมโนทัศน์สาหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เป็นที่ยอมรับในการสร้างทักษะการเรียนรู้ใน ศตวรรษที่ 21 (Model of 21st Century Outcomes and Support Systems) ซึ่งเป็นที่ยอมรับอย่างกว้างขวาง เนื่องด้วยเป็นกรอบแนวคิดที่เน้นผลลัพธ์ที่เกิดกับผู้เรียน (Student Outcomes) ทั้งในด้านความรู้สาระวิชาหลัก (Core Subjects) และทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 ที่จะช่วยผู้เรียนได้เตรียมความพร้อมในหลากหลายด้าน รวมทั้ง ระบบสนับสนุนการเรียนรู้ ได้แก่มาตรฐานและการประเมิน หลักสูตรและการเยนการสอน การพัฒนาครู สภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการเรียนในศตวรรษที่ 21 การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ต้องก้าวข้าม “สาระวิชา” ไปสู่การเรียนรู้ “ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21” (21st Century Skills) ซึ่งครูจะเป็นผู้สอนไม่ได้ แต่ต้องให้นักเรียนเป็นผู้เรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูจะออกแบบการเรียนรู้ ฝึกฝนให้ตนเองเป็นโค้ช (Coach) และอานวยความสะดวก (Facilitator) ในการเรียนรู้แบบ PBL (Problem-Based Learning) ของนักเรียน ซึ่งสิ่งที่เป็นตัวช่วยของครูในการจัดการเรียนรู้คือ ชุมชนการเรียนรู้ครูเพื่อศิษย์ (Professional Learning Communities : PLC) เกิดจากการรวมตัวกันของครูเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การ ทาหน้าที่ของครูแต่ละคนนั่นเอง
  • 6. ภาพเป้าหมายการเรียนรู้ใรศตวรรษที่ 21 ที่มาเพิ่มเติม : https://hooahz.wordpress.com/เทคโนโลยีการศึกษากับครู https://hooahz.wordpress.com/