SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  64
การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์ 
จัดทาโดย
นาเสนอ 
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณกุล
นักประวัติศาสตร์ได้แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ออกเป็น 
2 สมัย โดยอาศัยหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษรเป็นเกณฑ์ใน 
การแบ่ง ได้แก่ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่ 
รู้จักใช้ตัวหนังสือในการเล่าเรื่องราว และสมัยประวัติศาสตร์ เป็น 
ช่วงเวลาที่มนุษย์ใช้ตัวหนังสือในการบอกเล่าเรื่องราวต่างๆในสังคม
1.1 สมัยก่อนประวัติศาสตร์ 
สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการ 
ประดิษฐ์ตัวอักษรขึน้ใช้ จึงยังไม่มีหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็น 
ลายลักษณ์อักษร ดังนั้น การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์สมัย 
ก่อนประวัติศาสตร์ จึงต้องอาศัยการวิเคราะห์และตีความจากหลักฐาน 
ทางโบราณคดีที่ค้นพบ เช่น เครื่องมือ เครื่องใช้ เครื่องประดับที่ทาจาก 
หิน โลหะ และโครงกระดูกมนุษย์ 
สมัยก่อนประวัติศาสตร์สามารถแบ่งได้เป็น 2 ยุค คือ ยุคหินและ 
ยุคโลหะ
1.1.1 ยุคหิน 
ยุคหินแบ่งออกเป็น 3 ยุคย่อย ได้แก่ ยุคหินเก่า ยุคหินกลาง 
และยุคหินใหม่
1.ยุคหินเก่า (2,500,000 – 10,500 ปีมาแล้ว) มนุษย์ในยุคนี้ 
เริ่มทาเครื่องมือเครื่องใช้ด้วยหินอย่างง่ายก่อน เมื่อเวลาผ่านไปก็ 
สามารถดัดแปลงให้เหมาะกับการใช้งานเครื่องมือหิน สามารถแบ่ง 
เครื่องมือยุคหินเก่าออกได้เป็น 3 ช่วง คือ 
ยุคหินเก่าตอนต้น (2,500,000 – 108,000 ปี 
มาแล้ว) เครื่องมือเครื่องใช้ทาด้วยหิน มีลักษณะเป็นขวานกะเทาะ 
แบบกาปั้น 
ยุคหินเก่าตอนกลาง (108,000 – 49,000 ปี 
มาแล้ว) เครื่องมือเครื่องใช้ทาด้วยหิน มีลักษณะแหลมคม มีด้ามยาว
ยุคหินเก่าตอนปลาย ( 49,000 – 10,500 ปีมาแล้ว) 
เครื่องมือเครื่องใช้มีความหลากหลายกว่ายุคก่อน ได้แก่ เครื่องมือ 
เครื่องใช้ที่ทาจากหินและกระดูกสัตว์โดยการแกะสลัก
ขวานกะเทาะ เครื่องมือหินกะเทาะ 
เครื่องปั้นดินเผา ภาชนะ 
เก็บอาหาร 
เครื่องมือหินกะเทาะ
โครงกระดูกมนุษย์วานรใน 
ยุคหิน 
เครื่องมือในสมัยยุคหิน
ลักษณะสังคมเป็นสังคมแบบล่าสัตว์ พบว่าในช่วงปลาย 
ยุคหินเก่ามนุษย์มีความสามารถทางด้านศิลปะ ซึ่งพบภาพวาดตาม 
ผนังถา้ ส่วนใหญ่เป็นภาพสัตว์ป่า 
สภาพสังคมที่มีลักษณะของการอยู่รวมกันเป็นครอบครัว เป็น 
กลุ่มย่อยๆ เพื่อการดารงชีวิต ลักษณะทางสังคมก่อให้เกิดสิ่งสาคัญ 
คือ เครื่องมือ และภาษาพูด
2.ยุคหินกลาง (10,500 – 10,000 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่ 
มนุษย์รู้จักทาเครื่องจักสาน ตลอดจนการนาสุนัขมาเลีย้งเป็นสัตว์เลยี้ง 
เริ่มมีการปลูกพืช แต่อาชีพหลักของมนุษย์ยังคงเป็นการล่าสัตว์ 
และยังร่อนเร่ไปตามแหล่งที่อุดมสมบูรณ์ 
มีการประดิษฐ์หินกะเทาะที่ 
ประณีตขึน้
3.ยุคหินใหม่ (10,000 – 4,000 ปีมาแล้ว) มนุษย์ในยุคนีอ้าศัย 
อยู่รวมกันเป็นหมู่บ้าน เปลี่ยนวิถีชีวิตของมนุษย์จากสังคมล่าสัตว์ 
เป็นสังคมเกษตรกรรม และตัง้หลักแหล่งตามบริเวณลุ่มแม่นา้ 
ยุคหินใหม่เป็นยุคเกษตรกรรม พืชเพาะปลูกที่สาคัญในยุคนี้คือ 
ข้าว
มนุษย์ในยุคหินใหม่ ยังมีความเชื่อและประกอบพิธีกรรมใน 
รูปแบบต่างๆ เพื่อบูชาสิ่งเหนือธรรมชาติ 
เครื่องมือที่สาคัญในยุคนี้คือ ขวานหินดามไม้ และเคียวหิน 
เหล็กไฟด้ามไม้
เคียวหินเหล็กไฟด้ามไม้
หม้อสามขา 
เครื่องปั้นดินเผาในสมัย 
หินใหม่ 
คาดว่าสร้างใน 
ยุคหินใหม่
1.1.2 ยุคโลหะ 
โลหะชนิดแรกที่มนุษย์รู้จักนามาหลอมเป็นเครื่องมือ 
เครื่องใช้ คือ ทองแดง 
ยุคโลหะแบ่งออกเป็น 2 ยุคย่อย คือ ยุคสาริดและยุค 
เหล็ก
1.ยุคสาริด (4,000 – 2,700 ปีมาแล้ว) เป็นช่วงเวลาที่มนุษย์รู้จัก 
ใช้โลหะสาริด สาริดเป็นโลหะผสมระหว่างทองแดงกับดีบุก 
เครื่องมือเครื่องใช้ในยุคสาริดที่พบตามแหล่งต่างๆ นอกจากทา 
ด้วยสาริดแล้ว ยังพบเครื่องมือเครื่องใช้ทาจากดินเผา หิน และแร่ และ 
เครื่องประดับ 
ในยุคนี้ความเป็นอยู่ของมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปมาก ทั้งด้าน 
การเมืองและสังคม ชุมชนเกษตรกรรมขยายตัวจนกลายเป็นชุมชน 
เมือง
กลองมโหระทึกที่มนุษย์ยุค 
สาริดประดิษฐ์ขึน้ลูกพรวนสาริด 
ใบหอกสาริด ปลอกแขนสาริด
เครื่องปั้นดินเผาในยุคสาริด
ภาชนะดินเผาลายเขียนสี
เครื่องประดับทาจากสาริด 
ขวานสาริดมีร่องรอยของผ้า 
ติดอยู่
ไหเขียนสี ที่บ้านเชียง 
ผ้าบนห่วงคอสาริดจาก 
บ้านเชียง
กาไลสาริดหล่อมีเศษสิ่ง 
ทอตัดอยู่ พบในหลุมศพที่ 
บ้านเชียง 
เกราะที่ทาจากโลหะ ถูก 
ค้นพบในยุโรปกลาง คาด 
ว่าอยู่ในช่วงยุคสาริด
2.ยุคเหล็ก (2,700 – 2,000 ปีมาแล้ว) เริ่มต้นจากพัฒนาทางด้าน 
เทคโนโลยีการผลิตโลหะของมนุษย์ที่สามารถหลอมโลหะประเภทเหล็ก 
ขึน้มาทาเครื่องมือเครื่องใช้ได้ เหล็กมีความแข็งแรงและทนทานกว่าสาริด 
มาก 
แหล่งอารยธรรมแรกที่สามารถผลิตเหล็กได้คือ แหล่งอารยธรรมเมโส 
โปเตเมีย 
เครื่องมือเครื่องใช้ที่มนุษย์ 
ในยุคเหล็กได้ประดิษฐ์ขึน้
เครื่องมือ 
ทาง 
การเกษตร
1.2 สมัยประวัติศาสตร์ 
มีตัวอักษรสาหรับใช้ในการจดบันทึก 
การศึกษาประวัติศาสตร์สากลมีความแตกต่างระหว่าง 
การศึกษาประวัติศาสตร์ตะวันออก แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 
ตามช่วงเวลาของแต่ละราชวงศ์ หรือศูนย์กลางอานาจเป็นเกณฑ์ 
ในขณะที่ประวัติศาสตร์ตะวันตก แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 
ตามเหตุการณ์สาคัญทางประวัติศาสตร์
1.2.1 การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ตะวันออก 
จัดแบ่งไปตามภูมิภาคต่างๆ
1. การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์จีน 
ใช้พัฒนาการทางอารยธรรมและช่วงเวลาที่ราชวงศ์ต่างๆมี 
อานาจในการปกครอง เป็นหลักเกณฑ์ในการแบ่งยุคสมัยทาง 
ประวัติศาสตร์จีน 
เขตพืน้ที่ของราชวงศ์ 
ต่างๆตาม 
ประวัติศาสตร์ของจีน
1)ประวัติศาสตร์จีนสมัยโบราณ ช่วงเวลาการเริ่มต้นจาก 
รากฐานอารยธรรมจีน ตัง้แต่สมัยประวัติศาสตร์ที่มีการสร้างสรรค์ 
วัฒนธรรมหยางเซา วัฒนธรรมหลงซาน อันเป็นวัฒนธรรม 
เครื่องปั้นดินเผาและโลหะสาริด 
ต่อมาเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ ราชวงศ์ต่าง ๆ ได้ปกครอง 
ประเทศ ได้แก่ ราชวงศ์เซียะ และราชวงศ์ชาง (1,570-1,045 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช) เป็นช่วงเวลาที่จีนเริ่มก่อตัวเป็นรัฐที่มีรากฐานการ 
ปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ในสมัยนีมี้การใช้ตัวอักษรจีนโบราณ 
เขียนลงบนกระดองเต่า
เครื่องปั้นดินเผาหยางเชา 
เครื่องปั้นดินเผาหลงซาน
อักษรจีนบนกระดองเต่า
ต่อมาก็เป็นราชวงศ์โจว (1,045-256 ปีก่อนคริสต์ศักราช) 
ซึ่งแบ่งออกเป็นราชวงศ์โจวตะวันตก และราชวงศ์โจวตะวันออก 
เมื่อราชวงศ์โจวตะวันออกเสื่อมลง เกิดสงครามระหว่าง 
เจ้าผู้ครองรัฐต่าง ๆ ในที่สุดรัฐฉิน ได้รวบรวมประเทศก่อตัง้ราชวงศ์ 
ฉิน(221-206 ปีก่อนคริสต์ศักราช) 
และสมัยราชวงศ์ฮั่น202 ปีก่อนคริสต์ศักราช – ค.ศ.220) 
เป็นสมัยที่รวมศูนย์อานาจจนเป็นจักรพรรดิ
2)ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลาง อารยธรรมมีการปรับตัวเพื่อ 
รับอิทธิพลต่างชาติเข้ามาผสมผสานในสังคมจีน ที่สาคัญคือ 
พระพุทธศาสนา 
ประวัติศาสตร์จีนสมัยกลางเริ่มต้นด้วยความวุ่นวายจาก 
การล่มสลายของราชวงศ์ฮั่น เรียกว่าสมัยความแตกแยกทางการ 
เมือง (ค.ศ. 220 – ค.ศ. 589) เป็นช่วงเวลาการยึดครอบของ 
ชาวต่างชาติ การแบ่งแยกดินแดน
ก่อนที่จะมีการรวมประเทศในสมัยราชวงศ์สุย (ค.ศ. 581 – 
ค.ศ. 618) และสมัยราชวงศ์ถัง (ค.ศ. 618 – ค.ศ. 907) ช่วงเวลา 
นีป้ระเทศจีนเจริญรุ่งเรืองสูงสุดก่อนที่จะแตกแยกอีกครัง้ในสมัย 
เรียกว่า ห้าราชวงศ์กับสิบรัฐ (ค.ศ. 907 – ค.ศ. 979) 
ต่อมาสมัยราชวงศ์ซ่ง (ค.ศ. 960 – ค.ศ. 1279) สามารถ 
รวบรวมประเทศจีนได้อีกครั้ง และมีความเจริญรุ่งเรืองทาง 
ศิลปวัฒนธรรม จนกระทั่งชาวมองโกลสามารถยึดครองประเทศ 
จีนและสถาปนาราชวงศ์หยวน (ค.ศ. 1260 – ค.ศ. 1368)
3)ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่ ประวัติศาสตร์จีนสมัยใหม่เริ่ม 
ใน ค.ศ. 1368 เมื่อชาวจีนขับไล่พวกมองโกลออกไป แล้วสถาปนา 
ราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368 – ค.ศ. 1644) ขึน้ปกครองประเทศจีน และ 
ถูกโค่นล้มอีกครัง้โดยราชวงศ์ซิง (ค.ศ. 1664 – ค.ศ. 1911) 
ในช่วงปลายสมัยราชวงศ์ชิงเป็นเวลาที่ประเทศจีนถูกคุกคาม 
จากชาติตะวันตก และจีนพ่ายแพ้แก่อังกฤษในสงครามฝิ่น (ค.ศ. 
1839 – ค.ศ. 1842) จนสิน้สุดราชวงศ์ใน ค.ศ. 1911 
สงครามฝิ่น
4) ประวัติศาสตร์จีนสมัยปัจจุบัน ประวัติศาสตร์จีนสมัย 
ปัจจุบันเริ่มต้นใน ค.ศ. 1911 เมื่อจีนปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง 
จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบสาธารณรัฐโดย ดร. 
ซุน ยัตเซน (ค.ศ. 1911 – ค.ศ. 1949) ต่อมาพรรคคอมมิวนิสต์ได้ 
ปฏิวัติและได้ปกครองจีน จึงเปลี่ยนแปลงการปกครองระบอบ 
คอมมิวนิสต์ ตัง้แต่ ค.ศ. 1949 จนถึงปัจจุบัน 
ดร.ซุน ยัตเซน
2. การแบ่งยุคสมัยประวัติศาสตร์อินเดีย 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์อินเดีย ใช้หลักเกณฑ์ 
พัฒนาการของอารยธรรมอินเดียและเหตุการณ์สาคัญเป็นเกณฑ์
ช่วงเวลาการวางพืน้ฐานของอารยธรรมอินเดีย เริ่มตั้งแต่ 
สมัยอารยธรรมลุ่มแม่นา้สินธุ โดยมีพวกดราวิเดียน เมื่อ 2,500 ปี 
ก่อนคริสต์ศักราชจนกระทั่งอารยธรรมแห่งนีล้่มสลายลงเมื่อ 
1,500 ปีก่อนคริสต์สักราชเมื่อชนชาวอารยันอพยพเข้ามาตัง้ 
ถิ่นฐานและก่อตัง้อาณาจักรหลายอาณาจักรในภาคเหนือของ 
อินเดีย นับว่าเป็นช่วงเวลาที่การเริ่มสร้างสรรค์อารยธรรมอินเดีย 
ที่แท้จริง มีการก่อตัง้ศาสนาต่าง ๆ เรียกว่า สมัยพระเวท (1,500 
– 900 ปีก่อนคริสต์ศักราช)
1) ประวัติศาสตร์อินเดียโบราณ เริ่มต้นในสมัยมหากาพย์ 
(900 – 600 ปีก่อนคริสต์ศักราช) ต่อมาอินเดียรวมตัวกันในสมัย 
ราชวงศ์มคธ (600 – 322 ปีก่อนคริสต์ศักราช) และมีการรวม 
ตัวอย่างแท้จริงในสมัยราชวงศ์ เมารยะ (322 - 184 ปีก่อน 
คริสต์ศักราช ) ระยะเวลานี้เป็นเวลาที่อินเดียเปิดเผยแผ่ 
พระพุทธศาสนาไปยังดินแดนต่าง ๆ 
เปิดเผยแผ่ 
พระพุทธศาสนาไปยัง 
ดินแดนต่าง ๆ
ต่อมาราชวงศ์เมารยะล่มสลายอินเดียก็เข้าสู่สมัยแห่ง 
การแตกแยกและการรุกรานจากภายนอก จากพวกกรีกและ 
พวกกุษาณะ รยะเวลานีเ้ป็นสมัยการผสมผสานทางวัฒนธรรม 
ก่อนที่จะรวมเป็นจักรวรรดิได้อีกครัง้ใน ค.ศ. 320 โดยราชวงศ์ 
คุปตะ (สมัยคุปตะ ค.ศ. 320 – ค.ศ. 535) 
ราชวงศ์คุปตะ
2) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยกลาง อินเดียเข้าสู่สมัย 
กลาง ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1526 สมัยนีเ้ป็นช่วงเวลาของความ 
วุ่นวายทางการเมือง และการรุกรานจากต่างชาติ โดยเฉพาะชาว 
มุสลิม สมัยกลางจึงเป็นสมัยที่อารยธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพล 
ในอินเดีย สมัยกลางแบ่งได้เป็นสมัยความแตกแยกทางการเมือง 
(ค.ศ. 535 – ค.ศ. 1200) และสมัยสุลต่านแห่งเดลลี (ค.ศ. 1200 
– ค.ศ. 1526)
3) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่พวกมุคัลได้ตัง้ราชวงศ์มุคัล 
ถือว่าสมัยมุคัล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) เป็นการเริ่มต้นสมัยใหม่ 
จนกระทงั่อังกฤษเข้าปกครองอินเดียโดยตรงใน ค.ศ. 1858 จนถึง ค.ศ. 
1947 อินเดียจึงได้รับเอกราชจากประเทศอังกฤษ อินเดียจึงเข้าสู่ยุค 
สมัยประวัติศาสตร์ปัจจุบัน 
มหาตมะ 
คานธี 
ยาวราลห์ 
เนห์รู 
มหาตมะ คานธี และ เยาวราลห์ 
เนห์รู เป็นผู้นาเรียกร้องเอกราช 
มหาตมะ คานธี ใช้หลักอหิงสา 
(ความไม่เบียดเบียน ความ 
สงบ) ในการเรียกร้องเอกราช 
จนประสบความสาเร็จ
ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่เป็นช่วงเวลาที่วัฒนธรรม 
เปอร์เซียและวัฒนธรรมตะวันตกเข้ามามีอิทธิพลในสังคม 
อินเดีย ขณะที่ชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูได้ยึดมั่นใน 
ศาสนาของตนเองมากขึน้ และเกิดความแตกแยกในสังคม 
อินเดีย ดังนัน้ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยใหม่ สามารถแบ่งได้ 
เป็นสมัยราชวงศ์มุคัล (ค.ศ. 1526 – ค.ศ. 1858) และสมัย 
อังกฤษปกครองอินเดีย (ค.ศ. 1858 – ค.ศ. 1947)
4) ประวัติศาสตร์อินเดียสมัยปัจจุบัน ภายหลังจากที่อินเดียได้รับ 
เอกราชจาประเทศอังกฤษ ภายหลังได้รับเอกราชและถูกแบ่งออกเป็น 
ประเทศต่าง ๆ ได้แก่ อินเดีย ปากีสถาน และบังคลาเทศ 
อย่างไรก็ตามสมัยที่วัฒนธรรมมุสลิมเข้ามามีอิทธิพลในอารย 
ธรรมอินเดียเรียกรวมว่า สมัยมุสลิม (ค.ศ. 1200 – ค.ศ. 1858) 
หมายถึง รวมสมัยสุลต่านแห่งเดลฮีกับสมัยราชวงศ์มุคัล
1.2.1 การแบ่งยุคสมัยในประวัติศาสตร์ตะวันตก 
นักประวัติศาสตร์ตะวันตกแบ่งยุคสมัยของประวัติศาสตร์ตะวันตก 
เป็น 4 ยุคสมัย ได้แก่
1. ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ (3,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
– ค.ศ. 476) เริ่มเกิดขึน้เป็นครัง้แรกบริเวณดินแดนเมโสโปเตเมีย 
แถบลุ่มแม่นา้ไทกริส-ยูเฟรทีส อารยธรรมในสมัยนี้ได้แก่ อารยธรรม 
เมโสโปเตเมีย อารยธรรมอียิปต์โบราณ อารยธรรมกรีก และอารย 
ธรรมโรมัน 
สมัยโบราณ ในประวัติศาสตร์ตะวันตก เริ่มต้นเมื่อ3,500 ปี 
ก่อนคริสต์ศักราช ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่อารยธรรมเมโสโปเตเมีย และ 
อารยธรรมอียิปต์ ซึ่งเป็นอารยธรรมที่เก่าแก่ที่สุดในโลก จนถึงค.ศ. 
476 เมื่อจักรวรรดิโรมันตะวันตกล่มสลาย ประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 
ของชาติตะวันตกจึงสิน้สุดลง
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย 
อักษรคูนิฟอร์ม ซิกกูแรต (วิหารบูชาเทพเจ้า)
สวยลอยแห่งบาบิโลน
2. ประวัติศาสตร์สมัยกลาง (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) ช่วงเวลา 
สมัยกลางนีเ้ป็นช่วงเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลงอารยธรรมตะวันตกจาก 
อารยธรรมโรมันไปสู่อารยธรรมคริสต์ศาสนา เป็นสมัยที่ตะวันตกได้รับ 
อิทธิพลอย่างมากจากคริสต์ศาสนา ทัง้ทางด้านการเมือง เศรษฐกิจ 
สังคม และศิลปวัฒนธรรม นอกจากนีสั้งคมสมัยกลางยังมีลักษณะเป็น 
สังคมในระบบฟิวดัล หรือสังคมระบบศักดินาสวามิภักดิ์ ที่ขุนนางมี 
อานาจครอบครองพืน้ที่ โดยประชาชนส่วนใหญ่มีฐานะเป็นข้าติดที่ดิน 
และดารงชีวิตอยู่ในเขตแมเนอร์ ของขุนนาง ซึ่งเป็นลักษณะพิเศษของ 
สังคมสมัยกลาง
สังคมในระบบฟิวดัล
นอกจากนีใ้นสมัยกลางนีไ้ด้เกิดเหตุการณ์สาคัญ คือ สงคราม 
ครูเสด ซึ่งเป็นสงครามความขัดแย้งระหว่างคริสต์ศาสนากับศาสนา 
อิสลาม ที่กินเวลาเกือบ 200 ปี เป็นผลให้เกิดการค้นหาเส้นทางการค้า 
ทางทะเลและวิทยาการด้านอื่นๆ ตามมา 
สมัยกลางสิน้สุดใน ค.ศ. 1453 เมื่อพวกออตโตมันเตอร์ 
สามารถยึดกรุงคอนสแตนติโนเปิลของจักรวรรดิโรมันตะวันตกได้ แต่ 
นักประวัติศาสตร์บางท่านใช้ ค.ศ.1492 เมื่อคริสโตเฟอร์ โคลัมบัส 
ค้นพบทวีปอเมริกาเป็นปีสิน้สุดสมัยกลาง 
คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส
3. ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ (ค.ศ. 476-ค.ศ. 1453) เป็นสมัยของ 
ความเจริญรุ่งเรืองทางศิลปวิทยาการของอารยธรรมตะวันตก ทัง้ด้าน 
การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม อารยธรรมสมัยใหม่เป็นรากฐานสาคัญของ 
อารยธรรมตะวันตกในปัจจุบัน 
ประวัติศาสตร์สมัยใหม่ เป็นช่วงที่มีการสารวจเส้นทางเดินเรือทะเล 
เพื่อการค้ากับโลกตะวันออก และการเผยแพร่ศาสนาคริสต์ เริ่มตั้งแต่สมัย 
ฟื้นฟูศิลปวิทยา (Renaissance คริสต์ศตวรรษที่ 15-17) ซึ่งเป็นช่วงสมัยที่ 
ความเจริญทางวิทยาการต่างๆเจริญรุ่งเรืองอย่างรวดเร็ว
การสารวจเส้นทางเดินเรือทะเล 
เพื่อการค้ากับโลกตะวันออก 
การเผยแพร่ศาสนาคริสต์
เข้าไปสู่ยุคสมัยแห่งการปฏิวัติวิทยาศาสตร์ (คริสต์วรรษที่ 16-18) 
ยุคภูมิธรรมหรือยุคแห่งการรู้แจ้ง (คริสต์วรรษที่ 17-18) สมัยประชาธิปไตย 
( คริสต์วรรษที่ 17-19) สมัยชาตินิยม (ค.ศ. 1789-1918) สมัยจักรวรรดินิยม 
(ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 – สงครามโลกครัง้ที่ 1 ) และสมัยสงครามโลก 
( ค.ศ. 1914 – 1945) การแผ่ขยายอานาจของยุโรปในสมัยใหม่ทาให้เกิดความ 
ขัดแย้งก่อให้เกิดสงครามโลกครัง้ที่ 1 และสงครามโลกครัง้ที่2 ประวัติศาสตร์ 
สมัยใหม่สิน้สุดลงเมื่อ ค.ศ. 1945 เมื่อสงครามโลกครัง้ที่ 2 ยุตลิง 
สงครามโลกครัง้ที่ 
1 และ 2
4. ประวัติศาสตร์สมัยปัจจุบัน (ค.ศ. 1945 – ปัจจุบัน) 
สมัยหลังปัจจุบันเป็นช่วงสงครามโลกครัง้ที่ 2 ซงึ่มีผลกระทบรุนแรง 
ทวั่โลก และก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทัง้ทางด้านเศรษฐกิจ สังคม การเมือง 
การปกครองต่อสังคมโลกในปัจจุบัน
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์  6.1

Contenu connexe

Tendances

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลKamonchanok VrTen Poppy
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชnumattapon
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ Tha WaiHei
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดThiranan Suphiphongsakorn
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วรรณา ไชยศรี
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือPloykarn Lamdual
 

Tendances (20)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากลการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราชเรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
เรื่องที่ 1 การนับเวลาและการเทียบศักราช
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.1
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ3.3 การจัดเรียงหนังสือ
3.3 การจัดเรียงหนังสือ
 

En vedette

สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลKittayaporn Changpan
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลSompak3111
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Sununtha Sukarayothin
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1วรรณา ไชยศรี
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Arom Chumchoengkarn
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

En vedette (15)

สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากลสรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
สรุป การแบ่งยุคทางประวัติศาสตร์สากล
 
ประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากลประวัติศาสตร์สากล
ประวัติศาสตร์สากล
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
History 1
History 1History 1
History 1
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
การนับเวลาทางประวัติศาสตร์.1
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
สอนปรับพื้นฐาน
สอนปรับพื้นฐานสอนปรับพื้นฐาน
สอนปรับพื้นฐาน
 

Similaire à การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์Noo Suthina
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10mintmint2540
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1cgame002
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...krunrita
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2sangworn
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2Krusangworn
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2teacherhistory
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางพัน พัน
 

Similaire à การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1 (20)

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
สังคม ม.6.7 เลขที่4,10
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่4,10
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new 1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
1.2 ประวัติศาสตร์ (รวม) new
 
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
เรื่องยุคประวัติศาสตร์สมัยโบราณ 1
 
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
1.1 การแบ่งยุคสมัยปวศ.
 
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
Unit1 e0b980e0b8a7e0b8a5e0b8b2e0b981e0b8a5e0b8b0e0b8a2e0b8b8e0b884e0b8aae0b8a...
 
ธนบุรี 2
ธนบุรี 2ธนบุรี 2
ธนบุรี 2
 
ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2ประวัติศาสตร์ ม.2
ประวัติศาสตร์ ม.2
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
Brands so(o net)
Brands so(o net)Brands so(o net)
Brands so(o net)
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
Pawat
PawatPawat
Pawat
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่าจารึกอักษรบนกระดองเต่า
จารึกอักษรบนกระดองเต่า
 
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
ศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลางศิลปะยุคกลาง
ศิลปะยุคกลาง
 

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ 6.1