SlideShare a Scribd company logo
1 of 76
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและ
แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าสาหรับประเทศ
พลังงานทดแทน
• พลังงานใดๆที่จะสามารถนามาใช้ประโยชน์ทดแทนแหล่งพลังงานซึ่งมี
การสะสมตามธรรมชาติและใช้หมดไป
• พลังงานจากแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานน้าขึ้นน้าลง พลังงาน
คลื่นในทะเล พลังงานความร้อนใต้พิภพ พลังงานน้า พืช ขยะ
• มีลักษณะกระจายอยู่ตามธรรมชาติและไม่มีความสม่าเสมอ การลงทุน
เพื่อนามาใช้ประโยชน์ในการผลิตไฟฟ้าจึงสูงกว่าการนามาใช้
ประโยชน์จากแหล่งพลังงานประเภทน้ามันหรือถ่านหิน
ข้อจากัดของแหล่งพลังงานปัจจุบัน
• การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงฟอสซิล เกิดสภาวะเรือนกระจก
• ปริมาณก๊าซเรือนกระจกที่ประเทศไทยปล่อย มีค่าประมาณ
ร้อยละ 2 ของปริมาณก๊าซที่ปล่อยออกทั้งหมดของโลก
• ประเทศไทยได้ให้สัตยาบรรณในอนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศของโลก เดือนธันวาคม 2537 เช่น การลดการปล่อย CO2
เป็นต้น
พลังงานทดแทนถูกจาแนกออกเป็น 16 ประเภท
ชีวมวลของแข็ง
เชื้อเพลิงชีวภาพของเหลว
ก๊าซชีวภาพ
ถ่านหิน
หินน้ามัน
ทรายน้ามัน
พลังงานนิวเคลียร์
ก๊าซธรรมชาติ
ก๊าซมีเทนจากเหมืองถ่านหิน
พลังงานไฮโดรเจน
พลังงานน้า
พลังงานลม
พลังงานคลื่น
พลังงานน้าขึ้นน้าลง
พลังงานแสงอาทิตย์
พลังงานความร้อนใต้พิภพ
แหล่งพลังงานฟอสซิล
ก๊าซธรรมชาติ
การนาก๊าซธรรมชาติมาใช้เป็นเชื้อเพลิงนั้น มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่า
เชื้อเพลิงฟอสซิลชนิดอื่นๆ เนื่องจากการเผาไหม้ก๊าซธรรมชาติไม่มีฝุ่นละอองและ
ออกไซด์ของกามะถัน นอกจากนี้ การผลิตไฟฟ้าด้วยก๊าซธรรมชาติโดยวัฏจักรความ
ร้อนร่วม จะมีประสิทธิภาพสูงกว่าการใช้น้ามันหรือถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงเกือบสอง
เท่า การพัฒนาแหล่งก๊าซธรรมชาติในทะเลร่วมกับเพื่อนบ้าน เช่น มาเลเซีย และ
กัมพูชา ที่อ้างสิทธิในพื้นที่ซ้อนกัน ก็จะช่วยให้ไทยมีก๊าซธรรมชาติเพียงพอสาหรับ
เป็นพลังงานทดแทนลาดับแรกในภาคขนส่งที่มีอุปสงค์เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง
ลิกไนต์และถ่านหิน
ปิโตรเลียม
พฤศจิกายน 2554
มิถุนายน 2552
กาลครั้งหนึ่ง
นานมาแล้ว
มกราคม 2557
พฤษภาคม 2558
http://www.pttplc.com/th/getoilprice.aspx
แหล่งพลังงานหมุนเวียนหรือพลังงานทดแทน
• พลังงานน้า
• ชีวมวล
• แสงอาทิตย์
• พลังลม
• พลังงานความร้อนใต้พิภพ
พลังงานน้า
• ในประเทศไทยมีกาลังผลิตรวมกันประมาณ 3,400 เมกะวัตต์
• โรงไฟฟ้าพลังน้าขนาดใหญ่
• โรงไฟฟ้าขนาดเล็ก
เขื่อนและโรงไฟฟ้าพลังน้าในประเทศไทย
• เขื่อนแก่งกระจาน
• เขื่อนวชิราลงกรณ์
• เขื่อนจุฬาภรณ์
• เขื่อนท่าทุ่งนา
• เขื่อนภูมิพล
• เขื่อนน้าพุง
• เขื่อนบางลาง
• เขื่อนปากมูล
• เขื่อนรัชชประภา
• เขื่อนศรีนครินทร์
• เขื่อนสิริกิติ์
• เขื่อนสิรินธร
• เขื่อนอุบลรัตน์
• เขื่อนแม่งัดสมบูรณ์ชล
• โรงไฟฟ้าพลังน้าลาตะคองแบบสูบกลับ
• โรงไฟฟ้าเขื่อนห้วยกุ้ม
• โรงไฟฟ้าบ้านสันติ
• โรงไฟฟ้าบ้านขุนกลาง
• โรงไฟฟ้าพลังน้าคลองช่องกล่า
• โรงไฟฟ้าบ้านยาง
• โรงไฟฟ้าห้วยกุยมั่ง
ชีวมวล
• แกลบ
• ชานอ้อย
• เศษไม้
• กากปาล์ม
• กากมันสาปะหลัง
• กากมันสาปะหลัง
• ซังข้าวโพด
• กาบและกะลามะพร้าว
• ส่าเหล้า
ชีวมวลเป็นแหล่งพลังงานที่มีความสาคัญ โดยมีส่วนถึงประมาณร้อย
ละ 16 ของพลังงานหมุนเวียนเบื้องต้นที่ใช้อยู่ ชีวมวลเป็นพลังงาน
หมุนเวียนที่มีความสาคัญที่สุดที่นามาใช้ทดแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล
เพื่อเพิ่มความมั่นคงด้านพลังงานและแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดจาก
การใช้พลังงาน
พลังงานไฟฟ้าจากชีวมวลเป็นอีกทางเลือกหนึ่งในการนามาผลิตเป็น
เชื้อเพลิงเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า โดยมีระบบหลักๆอยู่ทั้งหมด 5 ระบบ คือ
• การเผาไหม้โดยตรง (Direct-Fired)
• การเผาไหม้โดยใช้เชื้อเพลิง 2 ชนิดขึ้นไป (Cofiring)
• แก้สซิฟิเคชั่น (Gasification)
• การย่อยสลายแบบไร้อากาศ (Anaerobic Digestion)
• ไพโรไลซิส (Pyrolysis)
การเผาไหม้โดยตรง (Direct-Fired)
การเผาไหม้โดยใช้เชื้อเพลิง 2 ชนิดขึ้นไป (Cofiring)
แก้สซิฟิเคชั่น (Gasification)
การย่อยสลายแบบไร้อากาศ (Anaerobic Digestion)
กระบวนการไพโรไลซิส (Pyrolysis)
ศักยภาพของพลังงานชีวมวลในประเทศไทย
• ชีวมวลเหลือทิ้งจากอุตสาหกรรม
- แก้สชีวภาพจากน้าเสียจากอุตสาหกรรมการเกษตรและฟาร์ม
ปศุสัตว์ขนาดใหญ่
- วัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร เช่น แกลบ และเศษไม้จาก
อุตสาหกรรมไม้แปรรูปและเฟอร์นิเจอร์
• ชีวมวลที่ผลิตเพื่อพลังงานเป็นการเฉพาะ
- การปลูกต้นไม้โตเร็วเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า
• ขยะชุมชน
- เทคโนโลยีการใช้ขยะเป็นเชื้อเพลิงผลิตพลังงานไฟฟ้า ได้รับการ
พัฒนาจนมีความสมบูรณ์ในระดับหนึ่งและใช้ได้ในบางประเทศแล้ว
พลังแสงอาทิตย์
• เซลล์แสงอาทิตย์คือ สิ่งประดิษฐ์ที่ทาจากสารกึ่งตัวนา เช่น ซิลิคอน
(silicon) แกลเลียมอาร์เซไนด์ (Gallium Arsenide) เป็นต้น
• ซึ่งเมื่อเซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงอาทิตย์โดยตรงก็จะเปลี่ยนเป็นพาหะ
นาไฟฟ้า และจะถูกแยกเป็นประจุไฟฟ้าบวกและลบ เพื่อให้เกิด
แรงดันไฟฟ้าที่ขั้วทั้งสองของเซลล์แสงอาทิตย์
• เมื่อนาขั้วไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์ต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสตรง
กระแสไฟฟ้าจะไหลเข้าสู่อุปกรณ์เหล่านั้น ทาให้สามารถทางานได้
http://www.pv-tech.org/news/trina_solar_selects_thailand_for_major_capacity_expansion_in_2015
Photovoltaic wall near Barcelona, Spain
http://en.wikipedia.org/wiki/Building-
integrated_photovoltaics#/media/File:Fa%C3%A7a
na_Fotvoltaica_MNACTEC.JPG
PV Solar parking canopy,
Autonomous University of Madrid, Spain
Largest Floating PV Plant Opens In Japan
http://www.solar-international.net/article/77845-Largest-floating-PV-plant-opens-in-Japan.php
One of the monumental health projects of our time has to be the effort
to bring vaccines into remote, rural regions of the world. Vaccines must
be kept cool, and in remote rural regions where it’s too darn hot to
begin with, a reliable source of electricity is usually not a feature.
http://www.edn.com/electronics-news/4325545/Photovoltaic-Application
• สาหรับเทคโนโลยีการติดตั้งเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทยมี 3 แบบ
• solar home system, roof-top PV, และ centralized PV
• solar home system จะเป็นการติดตั้งที่ไม่ต่อเข้าระบบสายส่งของการไฟฟ้า
ซึ่งมักจะติดตั้งในชนบทที่ห่างไกลที่สายส่งเข้าไปไม่ถึง
• roof-top PV และ centralized PV จะเป็นการติดตั้งที่ต่อเข้ากับระบบสายส่ง
โดย centralized PV จะเป็นการติดตั้งเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าเข้าระบบของ
การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยและการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ซึ่งมีขนาด
ใหญ่กว่า roof-top PV ที่จะติดตั้งตามหน่วยงานต่างๆที่ได้รับการคัดเลือก
รัฐบาลได้มีนโยบายสนับสนุนให้มีการติดตั้งระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์
แสงอาทิตย์
• บ้านพักอาศัย หน่วยงาน หรือสถานประกอบการที่มีการติดตั้งระบบผลิต
ไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์สามารถขายไฟฟ้ากลับเข้าสายส่งไฟฟ้าได้
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย
• โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ผาบ่อง จังหวัดแม่ฮ่องสอน
• สถานีพลังงานแสงอาทิตย์คลองช่องกล่า จังหวัดสระแก้ว
• สถานีพลังงานแสงอาทิตย์สันกาแพง จังหวัดเชียงใหม่
• สถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต
• โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เขื่อนสิรินธร จ.อุบลราชธานี
โรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ผาบ่อง
สถานีพลังงานแสงอาทิตย์คลองช่องกล่า
สถานีพลังงานแสงอาทิตย์สันกาแพง
สถานีพลังงานทดแทนพรหมเทพ
โรงไฟฟ้าเซลล์แสงอาทิตย์เขื่อนสิรินธร
จ.อุบลราชธานี
พลังลม
โรงไฟฟ้าพลังงานลมแหลมพรหมเทพ
โรงไฟฟ้าลาตะคองชลภาวัฒนา
พลังงานความร้อนใต้พิภพ
โรงไฟฟ้าพลังความร้อนใต้พิภพฝาง
แผนยุทธศาสตร์พลังงานทดแทน
• แผนยุทธศาสตร์ด้านพลังงานทดแทนได้รับการยกระดับเป็นวาระ
แห่งชาติ เมื่อวันที่ 25 มกราคม 2552 โดยมีวัตถุประสงค์หลักของแผน
ยุทธศาสตร์พลังงานทดแทนคือ
• 1. ลดค่าใช้จ่ายการนาเข้าน้ามันจากต่างประเทศ
• 2. ลดความเสี่ยงจากการพึ่งพาก๊าซธรรมชาติในการผลิตกระแสไฟฟ้าที่
มากเกินไป
• 3. ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจก
นโยบายการพัฒนาพลังงานของประเทศ
รัฐบาลจะส่งเสริมการลงทุนจากภาคเอกชนเป็นหลักในการพัฒนาพลังงานทดแทน และส่งเสริมงานวิจัยพัฒนา และ
สาธิต โดยกระทรวงพลังงานจะให้การสนับสนุนการใช้พลังงานทดแทนดังนี้
1. พลังงานแสงอาทิตย์มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้500 MW
- ส่งเสริมการติดตั้งแผง Solar Cell บนหลังคาบ้าน โดยอยู่ระหว่างการพิจารณาให้รวมมาตรการนี้เข้ากับมาตรการ
Building Energy Code
- เน้นการส่งเสริมฟาร์มขนาดเล็กที่ไม่อยู่ในพื้นที่การเกษตรให้ติดตั้งเป็นแบบ Solar Farm ขนาดเล็ก
2. พลังงานลม มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้800 MW
- ร่วมกับสานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อการเกษตร (สปก.) พัฒนาทุ่งกังหันลมเพื่อเป็นรายได้เสริมให้กับเกษตรกร
- สนับสนุนให้ภาคเอกชนลงทุนในโครงการผลิตไฟฟ้าด้วยพลังงานลมในพื้นที่ที่เหมาะสม
3. ไฟฟ้าพลังน้า มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้324 MW โดยจะเน้น 4 แผนงาน ดังนี้
- แผนงานพัฒนาไฟฟ้าพลังน้าขนาดเล็ก
- แผนงานพัฒนาไฟฟ้าพลังน้าขนาดหมู่บ้าน
- แผนงานพัฒนาไฟฟ้าพลังน้าจากท้ายเขื่อนชลประทาน
- แผนงานขยายกาลังการผลิตสาหรับเขื่อนไฟฟ้าพลังน้าขนาดใหญ่
4. พลังงานชีวมวล มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้ 3,700 MW
- ออกมาตรการสนับสนุนชีวมวลนอกรูปแบบ เช่น ฟางข้าวและการปลูกไม้โตเร็วเพื่อนามาผลิต
กระแสไฟฟ้า และการผลิตเชื้อเพลิงชีวมวลแบบแท่งตะเกียบ
5. ก๊าซชีวภาพ มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้ 120 MW
- ทางานวิจัยต่อยอดเพื่อพัฒนาก๊าซชีวภาพมาใช้ในการขนส่ง
6. พลังงานจากขยะ มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้ 160 MW
- ส่งเสริมให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นร่วมลงทุนกับภาคเอกชน
- ส่งเสริมการแปรรูปขยะพลาสติกเป็นน้ามัน
7. เอทานอล มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้ 9 ล้านลิตรต่อวัน
- ส่งเสริมการใช้รถยนต์ที่สามารถใช้เอทานอลในระดับสูง เช่น E85
- ประกาศลดหย่อนภาษีสรรพสามิตสาหรับรถยนต์ขนาดตั้งแต่ 1,780 – 3,000 CC ที่ใช้น้ามัน E85
- มีการส่งเสริมงานวิจัยข้างฟ่างหวาน เพื่อนามาใช้เป็นพืชพลังงานใหม่
8. ไบโอดีเซล มีเป้าหมายส่งเสริมการผลิตให้ได้ 4.5 ล้านลิตร/วัน
- ในปี พ.ศ. 2554 จะบังคับใช้ไบโอดีเซลสูตร “Green Diesel”
- สนับสนุนกระทรวงเกษตรฯ ให้เพิ่มพื้นที่ปลูกปาล์มน้ามัน
- ส่งเสริมงานวิจัยพืชน้ามันที่ไม่ใช่อาหาร เช่น สาหร่าย และสบู่ดา
ผลประโยชน์ที่คาดว่าคนไทยจะได้รับ
1. ด้านพลังงาน
- สัดส่วนการผลิตพลังงานจากพลังงานทดแทนเพิ่มขึ้นจาก 7.7 % เป็น 20.3 % ภายใน
ปี 2565
2. ด้านสิ่งแวดล้อม
- ลดปริมาณการปล่อยก๊าซเรือนกระจกอย่างน้อย 42 ล้านตันต่อปี ในปี 2565
- อัตราการปล่อยก๊าซเรือนกระจกต่อหน่วยผลิตกาลังไฟฟ้าลดลงจาก 0.482 kgCO2 /
kWh เหลือเพียง 0.387 kgCO2 / kWh
- พัฒนาเชื้อเพลิงชีวภาพมาใช้ทดแทนน้ามันเชื้อเพลิงให้ได้ 20% เพื่อลดอัตราการ
ปล่อยก๊าซเรือนกระจกของประเทศลง 20% จากปัจจุบัน
3. ด้านเศรษฐกิจ
- มีการลงทุนจากภาคเอกชนไม่น้อยกว่า 460,000 ล้านบาท เกิดจากการจ้างงานมาก
ขึ้น และช่วยยกระดับเทคโนโลยีการผลิตพลังงานทดแทนของประเทศให้ก้าวหน้าเท่าทัน
การเปลี่ยนแปลงของโลก
สัดส่วนการใช้พลังงานของประเทศ พ.ศ. 2554
thousand tons of oil equivalent (ktoe)
ความร้อน
แผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าสาหรับประเทศ
• ความสาคัญของแผนพัฒนากาลังผลิตไฟฟ้าสาหรับประเทศ คือเพื่อรองรับนโยบาย
เสริมสร้างความมั่นคงทางด้านพลังงานไฟฟ้า กระทรวงพลังงานจึงต้องมีการจัดทาแผน
PDP เพื่อเป็นแผนจัดหาไฟฟ้าในระยะยาวให้เพียงพอต่อการพัฒนาประเทศทั้งทางด้าน
เศรษฐกิจและสังคม
• เนื่องจาก การก่อสร้างโรงไฟฟ้าต้องใช้ระยะเวลานานประมาณ 3-5 ปี ขึ้นอยู่กับประเภท
โรงไฟฟ้า
• แผน PDP เป็นแผนการขยายกาลังการผลิตไฟฟ้าและระบบส่งไฟฟ้าของประเทศใน
อนาคต 15-20 ปี ซึ่งจะมีการทบทวนแผนดังกล่าวเมื่อมีการปรับปรุงค่าพยากรณ์ความ
ต้องการไฟฟ้าให้สอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป
• หากการพยากรณ์ความต้องการไฟฟ้ามีความถูกต้องและแม่นยา จะทาให้การลงทุนใน
การขยายกาลังการผลิตไฟฟ้าเพื่อรองรับความต้องการไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นอยู่ในระดับที่
เหมาะสม
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)
โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)

More Related Content

What's hot

พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์Nan's Tippawan
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1maebchanthuk
 
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์mintra_duangsamorn
 
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล Beam08310
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1nuchida suwapaet
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2nuchida suwapaet
 
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วสnsumato
 
กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)Kunthida Kik
 
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3Kunthida Kik
 
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดอัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดKlangpanya
 

What's hot (17)

พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์พลังงานจากแสงอาทิตย์
พลังงานจากแสงอาทิตย์
 
C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1C:\fakepath\กฟภ 1
C:\fakepath\กฟภ 1
 
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
งานนำเสนอพลังงานแสงอาทิตย์
 
4
44
4
 
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.107_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
07_โรงไฟฟ้าชีวมวลขนาดเล็กแบบแก๊สซิฟิเคชั่นสำหรับชุมชน Vol.1 No.1
 
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
ยานพาหนะพลังงานแสงอาทิตย์ STC-1
 
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
03_การประหยัดพลังงานในการเลื่อยไม้ยางพาราด้วยการควบคุมภาระมอเตอร์
 
3
33
3
 
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
งานครูจิราภรณ์ ไชยมงคล
 
5
55
5
 
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
บทที่ 9 โรงไฟฟ้าพลังงานนิวเคลียร์ (2/57)
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 1
 
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ 2
 
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
[Solar rooftop] บรรยาย วสท. solar rooftop 28 พค. 58 รวม กก. วส
 
กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)กลุ่มที่ 5 (1)
กลุ่มที่ 5 (1)
 
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
กลุ่มที่ 5 ห้อง 3
 
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดดอัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
อัตราค่าไฟฟ้าสำรองกับความไม่เสถียรของกำลังไฟฟ้าจากแสงแดด
 

Viewers also liked

แคปจอ1
แคปจอ1แคปจอ1
แคปจอ1creaminiie
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Chingchai Humhong
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Chingchai Humhong
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Chingchai Humhong
 
What is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated PhotovoltaicsWhat is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated PhotovoltaicsTeodor Galitev
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandJack Wong
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...guest1f2d6d
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าpranpriya08320
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ Rawinnipa Manee
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi
 
Industrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summitIndustrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summitSara Sararyman
 
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์Sitdhibong Laokok
 
Energy Capital Prospectus
Energy Capital ProspectusEnergy Capital Prospectus
Energy Capital ProspectusGavin Harper
 

Viewers also liked (18)

แคปจอ1
แคปจอ1แคปจอ1
แคปจอ1
 
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
Deploying Geospatial Analysis through Web Processing Service: A Case Study of...
 
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
Introduction to SLD (Styled Layer Descriptor)
 
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
Research and Development of Early Natural Disaster Warning System with Real-T...
 
What Is GIS?
What Is GIS?  What Is GIS?
What Is GIS?
 
What is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated PhotovoltaicsWhat is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
What is BIPV, Building Integrated Photovoltaics
 
Iel
IelIel
Iel
 
Electricity Systems
Electricity SystemsElectricity Systems
Electricity Systems
 
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, ThailandSolar Thermal Trough 2004, Thailand
Solar Thermal Trough 2004, Thailand
 
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
The Study of Effects of Machining Conditions in Wire-cut Electrical Discharge...
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟเครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
เครื่องกำเนิดไฟฟ้าไม่จ่ายไฟ
 
ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์ ดัชนีคำศัพท์
ดัชนีคำศัพท์
 
Electricity lecture 2012 Week01
Electricity lecture 2012  Week01Electricity lecture 2012  Week01
Electricity lecture 2012 Week01
 
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.PromptRMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
RMUTThanyaburi : Partial discharge measurement by Mr.Prompt
 
Industrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summitIndustrial foresight china & india[1]....thai summit
Industrial foresight china & india[1]....thai summit
 
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
กระบวนการออกแบบรายละเอียดซอฟต์แวร์
 
Energy Capital Prospectus
Energy Capital ProspectusEnergy Capital Prospectus
Energy Capital Prospectus
 

More from nuchida suwapaet

Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plantnuchida suwapaet
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55nuchida suwapaet
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนnuchida suwapaet
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้นnuchida suwapaet
 

More from nuchida suwapaet (15)

craft beer
craft beercraft beer
craft beer
 
craft beer Near & Far
craft beer Near & Far craft beer Near & Far
craft beer Near & Far
 
near&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptxnear&far beer craft.pptx
near&far beer craft.pptx
 
craft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptxcraft beer Near Far.pptx
craft beer Near Far.pptx
 
craft beer list.pptx
craft beer list.pptxcraft beer list.pptx
craft beer list.pptx
 
Recent news&events in power plant
Recent news&events in power plantRecent news&events in power plant
Recent news&events in power plant
 
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
สถานการณ์ปัจจุบัน.2.55
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
บทที่ 5 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
บทที่ 4 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
บทที่ 3 ภาคปลาย.2555
 
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
บทที่ 2 (ต่อ) ภาคปลาย.2555
 
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนพลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
พลังงานทดแทนและโรงไฟฟ้าพลังงานทดแทน
 
การใช้ Power Point เบื้องต้น
การใช้  Power  Point เบื้องต้นการใช้  Power  Point เบื้องต้น
การใช้ Power Point เบื้องต้น
 
E G A T
E G A TE G A T
E G A T
 

โรงไฟฟ้าพลังงานทดแทนและPDP (8 พ.ค.58)