SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  331
Télécharger pour lire hors ligne
คํานํา
สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีขอตกลงความรวมมือกับ
มหาวิทยาลัยพะเยา ภายใตโครงการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ ไดใหมีการพัฒนาหลักสูตรและ
แผนการสอน เอกสารประกอบการสอน คูมือครู ที่บูรณาการความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสารกับกลุมอาชีพ เพื่อใชประกอบการเรียนการสอนของสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การผลิตสื่อมัลติมีเดีย 1 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแนวคิด
เบื้องตนของการผลิตสื่อมัลติมีเดียแบบออฟไลน ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการผสมผสานอินเตอร
แอคทีฟกับงานมัลติมีเดีย การออกแบบ การใชโปรแกรมประยุกตที่เกี่ยวของกับงานอินเตอรแอคทีฟ
การสรางเทคนิคพิเศษ การใสเสียงประกอบ การใสภาพและการเพิ่มวิดีโอมาใชในงานมัลติมีเดีย
การประยุกตใชงานนําเสนองานอินเตอรแอคทีฟ การนําเสนอผลงานมัลติมีเดีย การสรางแบบทดสอบ
แบบฝกหัด การประเมินผล การออกรายงาน การใชโปรแกรมประยุกตรวมกับโปรแกรมอื่น และ
การประยุกตใชสําหรับการผลิตสื่อมัลติมีเดียแบบออนไลน
ผูจัดทําเอกสารประกอบการสอนหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการสอนเลมนี้จะเปน
ประโยชนตอผูเรียนและผูที่สนใจ เพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใชไดในอนาคต และ
ขอขอบคุณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน (สพฐ.) และสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ
ผูจัดทํา
ปรัชญา นวนแกว
2 มกราคม 2557
สารบัญ
หนา
คํานํา
บทที่ 1 บทนํา
1.1 ความหมายของสื่อมัลติมีเดีย 1
1.2 แนวคิดการจัดการเรียนรู 5
1.3 สื่อการเรียนการสอน 7
1.4 บทบาทและคุณลักษณะของสื่อมัลติมีเดีย 9
บทที่ 2 หลักการและการออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ
2.1 ทฤษฏีเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 19
2.1.1 ทฤษฎีการสื่อสาร 19
2.1.2 ทฤษฎีการเรียนรูพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) 20
2.1.3 ทฤษฎีการเรียนรูปญญานิยม (Cognitivism) 20
2.1.4 ทฤษฎีการสรางองคความรูดวยปญญา หรือ
พุทธิปญญานิยม (Constructivism) 20
2.1.5 ทฤษฎีการเรียนรูของกาเย (Gagne) 20
2.2 องคประกอบที่สําคัญที่กอใหเกิดการเรียนรู 22
2.3 การออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 23
2.4 ขั้นตอนการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 25
2.5 การประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรู 27
บทที่ 3 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 1 เริ่มใชงาน Adobe Captivate
3.1 คุณสมบัติเดนของโปรแกรม Adobe Captivate 29
3.2 สรุปคุณสมบัติเดนของโปรแกรม Adobe Captivate 29
3.3 ความตองการคุณสมบัติของฮารดแวร
สําหรับโปรแกรม Adobe Captivate 30
3.4 หลักการทํางานของโปรแกรม 31
3.5 การดาวนโหลดโปรแกรม Adobe Captivate 32
3.6 การติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 37
3.7 ขอสังเกตเพิ่มเติมสําหรับการติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 45
บทที่ 4 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 2 เครื่องมือพื้นฐานและการสรางโปรเจ็คเบื้องตน
4.1 การเรียกโปรแกรม Adobe Captivate 7 52
สารบัญ
หนา
4.2 เครื่องมือพื้นฐานในการใชงานโปรแกรม Adobe Captivate 7 53
4.3 สรางไฟลงาน Adobe Captive Project 73
4.4 รูปแบบของ Adobe Captive Project 74
4.5 การตั้งคาไฟล (Project Preferences) 78
บทที่ 5 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 3 การสรางโปรเจ็คและการนําเขาขอมูลจากโปรแกรมอื่น
5.1 การสรางโปรเจ็ครูปแบบตางๆ 83
5.2 การตั้งคาเครื่องคอมพิวเตอร จอภาพและการแสดงผล 83
5.3 Software Simulation 86
5.4 Video Demo 93
5.5 Blank Project 96
5.6 Form Microsoft® PowerPoint 98
5.7 Image Slideshow 101
5.8 Project Template 104
5.9 สไดลรูปแบบตางๆ และการกําหนดคุณสมบัติของสไลด 105
5.10 ประเภทของสไลด 105
5.11 การกําหนดคุณสมบัติของสไลด 106
5.12 การจัดการเกี่ยวกับสไลด 110
บทที่ 6 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 4 การบันทึกเสียงและการแทรกเสียง
6.1 เสียงคืออะไร 131
6.2 รูปแบบและลักษณะของเสียง 131
6.3 รูปแบบของเสียงที่ใชในสื่อมัลติมีเดีย 132
6.4 การตั้งคาการบันทึกเสียง (Audio Setting) 133
6.5 การบันทึกเสียงใหสไลด 135
6.6 การบันทึกเสียงลงสไลดมากกวา 1 สไลด 136
6.7 การบันทึกเสียงเปนเสียงพื้นหลัง 138
6.8 การบันทึกเสียงใหวัตถุ 139
6.9 การแทรกเสียงใหสไลด 140
6.10 การแทรกเสียงพื้นหลัง 142
6.11 การแทรกเสียงใหวัตถุ 143
6.12 การตกแตงไฟลเสียงใหสไลด 145
สารบัญ
หนา
6.13 การปรับแตงแกไขไฟลเสียงพื้นหลัง 146
6.14 การตกแตงแกไขไฟลเสียงใหวัตถุ 147
6.15 การปรับระดับเสียง 148
6.16 การเพิ่มปุมควบคุมใหบทบรรยาย 150
6.17 การลบไฟลเสียงออกจากสไลด 151
6.18 การลบไฟลเสียงพื้นหลัง 151
6.19 การลบไฟลเสียงออกจากวัตถุ 152
6.20 การแสดงรายละเอียดของไฟลเสียงในสไลด 153
6.21 การสงออกไฟลเสียง 153
บทที่ 7 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 5 ตัวแปรและแอคชั่น
7.1 ตัวแปรระบบ (System Variable) 157
7.2 ตัวแปรประเภท Movie Information 160
7.3 ตัวแปรประเภท Movie Control 161
7.4 ตัวแปรประเภท Movie MetaData 162
7.5 ตัวแปรประเภท Quizzing 164
7.6 ตัวแปรประเภท System Information 165
7.7 ตัวแปรยูสเซอร 166
7.8 การแทรกตัวแปรระบบเขามาใชงาน 169
7.9 การแทรกตัวแปรยูสเซอรเขามาใชงาน 171
7.10 การสรางเงื่อนไขและกําหนดตัวแปรขั้นสูง 175
7.11 การลบและแกไขตัวแปรขั้นสูง (Advance Action) 182
บทที่ 8 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 6 การสรางแบบทดสอบ
8.1 แบบทดสอบคืออะไร 187
8.2 ลักษณะและประเภทของแบบทดสอบ 187
8.3 ประเภทของแบบทดสอบสําหรับสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ
ที่อยูภายในโปรแกรม Adobe Captivate 188
8.4 การตั้งคาแบบทดสอบ 189
8.5 การสรางแบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) 194
8.6 การสรางแบบทดสอบแบบถูกหรือผิด (True/False) 198
8.7 การสรางแบบทดสอบแบบเติมคําในชองวาง (Fill-In-The-Blank) 201
สารบัญ
หนา
8.8 การสรางแบบทดสอบแบบเติมคําหรือประโยคสั้นๆ (Short Answer) 205
8.9 การสรางแบบทดสอบแบบจับคู (Matching) 208
8.10 การสรางแบบทดสอบแบบชี้จุดตําแหนงหรือจับผิดภาพ (Hot Spot) 212
8.11 การสรางแบบทดสอบแบบเรียงลําดับกอนหลัง (Sequence) 216
8.12 การสรางแบบทดสอบแบบประเมินการใหคะแนน (Rating Scale : Likert) 220
8.13 การสรางแบบทดสอบแบบสุม (Random Questions) 223
บทที่ 9 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 7 การแกไขตกแตงโปรเจ็ค
9.1 การกําหนดรายละเอียดใหโปรเจ็ค 231
9.2 การกําหนดคุณภาพการแสดงโปรเจ็ค 232
9.3 การกําหนดคาการสงออกโปรเจ็ค 233
9.4 การกําหนดจุดเริ่มตนและสิ้นสุดของโปรเจ็ค 235
9.5 การกําหนดคาเริ่มตนใหกับสไลดและวัตถุ 236
9.6 การบันทึกคา Preferences เก็บไว 238
9.7 การนําคา Preferences ที่บันทึกไวมาใชงาน 239
9.8 การสรางแมแบบโปรเจ็ค (Template) 240
9.9 การบันทึกแมแบบโปรเจ็ค 242
9.10 การนําแมแบบมาใชงาน 243
9.11 การปรับแตง Skin (Playback Control) 244
9.12 การสรางตารางสารบัญ (TCC : Table Of Contents) 246
9.13 การกําหนดหัวขอหลักและหัวขอยอย 247
9.14 การปรับแตงตารางสารบัญ 249
9.15 การเพิ่มขอมูลโปรเจ็คในตารางสารบัญ 251
9.16 การรวบรวมโปรเจ็ค (Aggregator Project) 253
9.17 ขั้นตอนการรวบรวมโปรเจ็ค 253
9.18 ขั้นตอนการสงออกไฟล 256
บทที่ 10 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป
ตอนที่ 8 การสงออกและการแกไขโปรเจ็ค
10.1 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบไฟล SWF และ HTML5 261
10.2 การตรวจสอบการสงออกไฟลแบบ HTML5 264
10.3 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบไฟล Executable 265
10.4 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบไฟล MP4 267
สารบัญ
หนา
10.5 การสงออกโปรเจ็คผาน E-Mail 269
10.6 การสงออกโปรเจ็คเขาเซิรฟเวอรโดยใช FTP 273
10.7 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบ Microsoft Word 275
10.8 วิธีการสงออกโปรเจ็คในรูปแบบ Microsoft Word 280
10.9 การสงออกโปรเจ็คสําหรับ Reviews 281
10.10 การกําหนดคา Preferences ใหโฟลเดอร Comments 283
บรรณานุกรม
ดัชนีรูปภาพ
ดัชนีตาราง
บทที่ 1
บทนํา
ปจจุบันมีการพัฒนารูปแบบของมัลติมีเดียใหสอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูมากมาย สําหรับ
มัลติมีเดียเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เปนสวนหนึ่งของรูปแบบบทเรียนที่อํานวยความสะดวกใหกับ
ผูเรียนและผูสอน นอกจากนั้นยังรวบรวม เนื้อหา คําถาม คําตอบ กระบวนการเรียน สื่อตางๆ ที่มี
ความนาสนใจ ดึงดูดผูเรียนใหอยูกับเนื้อหาที่เขาใจยาก ชวยอธิบายสิ่งที่ไมสามารถสัมผัสหรือมองดวย
สายตาปกติได และเปนการกระตุนใหผูเรียนเกิดการอยากสํารวจ คิดคน สืบคน รูจักสรางและ
ออกแบบรูปแบบการเรียนของตนเองตามความสนใจ ซึ่งแนวคิดเหลานี้ตางสอดคลองกับทฤษฎีการ
เรียนรูของนักปรัชญามากมาย
1.1 ความหมายของสื่อมัลติมีเดีย
สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) ตามพจนานุกรมศัพทคอมพิวเตอรฉบับราชบัณฑิตยสถาน
แปลวา สื่อประสม หรือ สื่อหลายแบบ หมายถึง การนําสื่อหรืออุปกรณหลาย ๆ ประเภท เชน
ขอความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ มาใชรวมกัน เพื่อเสริมใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทํางาน ตอมา
เมื่อคอมพิวเตอรถูกนํามาใชมากขึ้น ทําใหความสามารถในการนําเสนอ ทั้งภาพนิ่ง เสียง ขอความ
ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ อินเทอรเน็ต สังคมออนไลน มีความหลากหลาย สงผลใหความหมายของสื่อ
ประสมเปลี่ยนแปลงตามไป
นอกจากนี้การใชคอมพิวเตอรควบคุมอุปกรณอื่น เชน เครื่องเลนวิดีโอ เทปเสียง ซีดีรอม
กลองดิจิตอล โทรทัศน ใหทํางานรวมกัน จําเปนตองอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร (Software) และ
อุปกรณ (Hardware) ประกอบกัน หรืออาจเรียกวา “สถานีปฏิบัติการมัลติมีเดีย (Multimedia
workstation)”
รูปที่ 1.1 สวนประกอบของสื่อมัลติมีเดีย
(ที่มา: http://fungbintwo.blogspot.com/2009/11/multimedia.html)
2
นักการศึกษาและความหมายของสื่อมัลติมีเดีย
พิสุทธา อารีราษฏร (2551) กลาววา การพัฒนาซอฟตแวรทางการศึกษา โดยทั่วไป เปนการ
พัฒนาบทเรียนเพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน เนื่องจากบทเรียนเปนสื่อที่นําไปใชในการสอนจริง
แทนครูผูสอน ดังนั้นบทเรียนที่พัฒนาขึ้นจะตองเปนบทเรียนที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ มีเนื้อหา
ครบถวนและสอดคลองกับวัตถุประสงคของบทเรียน
รูปที่ 1.2 สื่อมัลติมีเดีย
(ที่มา: http://jatupo5604music.blogspot.com)
ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2550) กลาววา การกาวเขาสูยุคแหงสารสนเทศ ทําใหเกิดความ
จําเปนในการปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการในการศึกษา การเรียนการสอน การเรียนรูของคนใน
สังคม เพื่อใหเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งรูปแบบและวิธีการ จะมีลักษณะที่แตกตางจาก
เดิม เรียกวา Unconventional Education หรือ การศึกษาที่แตกตาง การเรียนรูจะไมใชแคการ
จดจํา เขาใจเนื้อหา หรือการทําขอสอบไดดี หากจุดมุงเนน ไดแก การที่ผูเรียนมีความสามารถในการ
เขาใจวิธีการเรียนรู (learning how to learn) ของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ และอยางตอเนื่อง
ตลอดชีวิต
รูปที่ 1.3 สื่อมัลติมีเดียสมัยใหม
(ที่มา: http://mindcater.com/new-hi-technical-computer-technology-2014)
3
ดิเรก ธีระภูธร (2545) คอมพิวเตอรชวยสอนเปนกระบวนการเรียนการสอน โดยใช
สื่อคอมพิวเตอร ในการนําเสนอเนื้อหาเรื่องราวตางๆ มีลักษณะเปนการเรียนโดยตรง และเปนการ
เรียน แบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive) คือ สามารถโตตอบระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอรได
เชนเดียวกับการสอนระหวางครูกับนักเรียนที่อยูในหองตามปกติ คอมพิวเตอรชวยสอนมีหลาย
ประเภทตามวัตถุประสงคที่จะใหนักเรียนไดเรียน กลาวคือ ประเภทติวเตอร ประเภทแบบฝกหัด
ประเภทการจําลอง ประเภทเกม ประเภทแบบทดสอบซึ่งในแตละประเภทก็มีจุดมุงหมายในการให
ความรูแกผูเรียนแตวิธีการที่แตกตางกันไป ขอดีของการใชคอมพิวเตอรชวยสอนคือชวยลดความ
แตกตางระหวางผูเรียน เชน ผูที่มีผลการเรียนต่ํา ก็สามารถชดเชยโดยการเรียนจากบทเรียน
คอมพิวเตอรชวยสอนได และสําหรับผูมีผลการเรียนสูงก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียนลวงหนา
กอนที่ผูสอนจะทําการสอนก็ได
รูปที่ 1.4 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน
(ที่มา: http://www.vcharkarn.com/vblog/35660)
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ (2544) กลาววา เพื่อใหการพัฒนาสื่อมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผูสอนควร
พัฒนาคุณลักษณะสื่อใหสามารถเรียนรูไดบนเครือขาย ซึ่งสื่อบนเครือขายเปนสื่อที่มีศักยภาพในการ
สื่อสารสูง และรวดเร็วมีลักษณะเปนขอความหลายมิติ (Hypertext) และมีการเชื่อมโยงขอมูลซึ่งกัน
และกัน ที่เรียกวา การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) ทําใหผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น
มีการสื่อสารกันสองทางระหวางผูเรียนกับสื่อการเรียนรู ผูเรียนกับผูเรียน ผูเรียนกับผูสอน และบุคคล
อื่นที่เกี่ยวของอีกดวย
4
รูปที่ 1.5 การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink)
(ที่มา: http://withfriendship.com/user/kethan123/hyperlink.php)
รูปที่ 1.6 Cloud Computing การเชื่อมโยงกลุมเมฆ
(ที่มา: http://www.uni.net.th/backend/uninews/print.php?name=2012111122)
จากความหมายที่หลากหลายของนักการศึกษา สามารถสรุปไดวา การนําสื่อมัลติมีเดียไป
ประยุกตใชกับการเรียนการสอนนั้น สิ่งที่สําคัญประกอบดวย ผูเรียน ผูสอน บทเรียน เครื่องมือ และ
กระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย นอกจากจะตองคํานึงถึงประสิทธิภาพแลว
ยังตองประยุกตใหเขากับเหตุการณ สังคมโลก พฤติกรรมผูเรียน การมีปฏิสัมพันธ การโตตอบระหวาง
ผูเรียนกับคอมพิวเตอร กลายเปนเครือขายสังคมและการเรียนรู หรือการเชื่อมโยงหลายมิติ
5
1.2 แนวคิดการจัดการเรียนรู
1.2.1 แนวคิดการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ
สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2542) ไดสรุปแนวคิดการ
จัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญวา มีทักษะการแสวงหาความรูและสามารถนํา
ความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริงได
รูปที่ 1.7 การจัดการเรียนรูตามแนวคิดแบบมอนเตสเซอรี่
(ที่มา: http://www.dusitcenter.org/dusitwebs/plan/news.php?id=1973)
1.2.2 หลักการในการจัดการเรียนรูที่ยึดเปนเรียนเปนสําคัญ ประกอบดวย
1.2.2.1 ผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาได
1.2.2.2 เปาหมายการเรียนรู เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย
จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม
1.2.2.3 ใหผูเรียนเรียนรูในสิ่งที่มีความหมาย สามารถนําไปใชประโยชนได
1.2.2.4 การเรียนรูเกิดขึ้นไดทุกที ทุกเวลา และตอเนื่องตลอดชีวิต
1.2.2.5 ใหผูเรียน เรียนรูจากการไดคิด ปฏิบัติ และสรุปความดวยตนเอง
รูปที่ 1.8 การเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ
(ที่มา: http://www.gotoknow.org/posts/412318)
6
1.2.3 วิธีการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ
ประกอบดวย การศึกษาผูเรียนเปนรายบุคคล เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนา
ผูเรียน ใหเต็มศักยภาพ โดยพิจารณาในเรื่องตอไปนี้
1.2.3.1 วุฒิภาวะทางอารมณ
1.2.3.2 พหุปญญา
1.2.3.3 พัฒนาการและศักยภาพดานตางๆ
1.2.3.4 วิธีการเรียนรูของแตละคน
1.2.3.5 ความสนใจและความถนัด
1.2.3.6 สภาพความเปนอยูและครอบครัว
1.2.3.7 ปญหา ขอจํากัด
1.2.3.8 ความตองการในการพัฒนา
รูปที่ 1.9 การเรียนรูจาการจัดกิจกรรมโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ
(ที่มา: http://www.gotoknow.org/posts/412318)
1.2.4 การจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มีวิธีการดังตอไปนี้
1.2.4.1 จัดหลักสูตรที่สนองความตองการ เชื่อมโยงกับชีวิตจริงของผูเรียน
1.2.4.2 ออกแบบการจัดการเรียนรูใหผูเรียนพัฒนาเต็มศักยภาพและใหสอดคลอง
กับการเรียน 5 ลักษณะ ประกอบดวย การเรียนรูอยางมีความสุข การ
เรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริง การเรียนรูรวมกับบุคคลอื่น การเรียนรู
แบบองครวม และการเรียนรูกระบวนการจัดการเรียนรูของตนเอง
1.2.4.3 จัดการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนรูอยางครบวงจร
1.2.4.4 ใชแหลงการเรียนรูที่หลากหลาย เหมาะกับธรรมชาติของผูเรียน
1.2.4.5 ประเมินผูเรียนจากพัฒนาการ พฤติกรรมตามสภาพความจริงดวยวิธีการ
และเครื่องมือที่หลากหลาย
1.2.4.6 ใชกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือหนึ่งของกระบวนการเรียนรู
1.2.4.7 จัดการเรียนรูอยางเปนระบบ ดวยรูปแบบ วิธีการ เทคนิคการจัดการเรียน
การสอนอยางหลากหลาย เหมาะสมกับผูเรียน
7
1.2.5 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ มีดังนี้
1.2.5.1 การเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน
1.2.5.2 การเรียนรูแบบการใชเหตุผลเชิงจริยธรรม
1.2.5.3 การเรียนรูแบบมีสวนรวม
1.2.5.4 การเรียนรูโดยใชแผนการออกแบบประสบการณ
1.2.5.5 การเรียนรูแบบโครงงาน
1.2.5.6 การเรียนรูการคิดเชิงอุปนัย
1.2.5.7 การเรียนรูแบบคนควาเปนกลุม
1.2.5.8 การเรียนรูแบบความคิดรวบยอด
1.2.5.9 การเรียนรูแบบมุงประสบการณ
1.2.5.10 การเรียนรูโดยการคนพบ
1.2.5.11 การเรียนรูที่บาน
รูปที่ 1.10 รูปแบบการเรียนรูแบบโครงงาน
(ที่มา: http://www.panaya-kindergarten.com/education_patthanakan.html)
1.3 สื่อการเรียนการสอน
ในการจัดการเรียนการสอน สิ่งสําคัญในการสื่อสาร ประกอบดวย ผูสง ผูรับ เนื้อหาบทเรียน
(สาร) และชองทางในการสงสาร หรือ สื่อ นั้นเอง การจัดการเรียนการสอนในลักษณะเดิมที่เนนการ
บรรยาย การอธิบายใหผูเรียนเขาใจ อาจสรางความเบื่อหนาย จําเจ การนําสื่ออื่น เชน ภาพ แผนภูมิ
ขอความ เสียง จึงเปนเครื่องมือที่สําคัญในการดึงดูดความสนใจผูเรียน
สื่อการเรียนการสอนในที่นี้จึงหมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ หรือเทคโนโลยี ประกอบกับ
รูปแบบวิธีการเรียนการสอน ผสานตัวกลางที่ชวยในการนําความรู จากผูสอนหรือแหลงเรียนรู สง
ตอไปถึงผูเรียน เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคที่กําหนดไวอยางถูกตองและมี
ประสิทธิภาพ
8
การนําสื่อมัลติมีเดียเขามาใชในการเรียนการสอน เกิดจากการนําเนื้อหาบทเรียน เรื่องราว
ตาง ๆ ที่จะใชสอนและบรรยายในชั้นเรียน สรางเปนบทเรียนโดยการใชภาพถาย ภาพกราฟก
ภาพเคลื่อนไหว เสียงบรรยาย และเสียงประกอบ บรรจุลงไปในบทเรียน ผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ
กับบทเรียน สามารถเลือกเรียนเนื้อหาตามลําดับที่ตนตองการ
รูปที่ 1.11 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน
(ที่มา: http://www.fanmath.com/about/best-learning-system)
รูปที่ 1.12 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน
(ที่มา: http://www.fanmath.com/2012/12/fanmath-classroom)
9
1.4 บทบาทและคุณลักษณะสื่อมัลติมีเดีย
1.4.1 บทบาทของสื่อมัลติมีเดียในฐานะคอมพิวเตอรชวยสอน
เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันมากขึ้น สังเกตไดตั้งแตตื่นนอน
ตอนเชาจนเขานอนในตอนกลางคืน การใชเครื่องคอมพิวเตอรในสํานักงาน สถานที่ราชการ การ
ควบคุมสัญญาไฟจราจร ระบบฐานขอมูล ประวัติการรักษาในโรงพยาบาล และอื่นๆมากมาย
เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนํามาประยุกตใชอยางแพรหลาย ในวงการการศึกษาก็เชนเดียวกัน มีการนํา
เครื่องมือ และเทคโลยีตางๆ มาใช หรือที่คนทั่วไปรูจักคือ เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือ นวัตกรรม
ทางการศึกษา
รูปที่ 1.13 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา
(ที่มา: http://pathima0212.blogspot.com)
เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา เปนผลของความเจริญในดานตางๆ ซึ่งเกิดจาก
การศึกษา คนควา ทดลอง ประดิษฐคิดคนสิ่งตางๆ โดยอาศัยความรูทางวิทยาศาสตร มาประยุกตใช
ในการพัฒนาที่เกี่ยวของกับการศึกษา ทั้งนี้พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษานั้น มีความยาวนาน
ตั้งแตสมัยของชาวกรีก แตไมวาจะยุคใดสมัยใด สิ่งที่เปนสวนสําคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง
การศึกษา ก็คือ สื่อการสอนนั้นเอง
สื่อเพื่อการศึกษาสมัยใหมมีความหลากหลายและนาสนใจ หนึ่งในนั้นคือ สื่อมัลติมีเดีย หรือ
สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา หมายถึง รูปแบบ หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ออกแบบสําหรับใชในการ
เรียนการสอน โดยผูออกแบบ หรือกลุมพัฒนาไดบูรณาการเอาขอมูลตาง ๆ เชน ภาพนิ่ง
ภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ และขอความ รวมเขาเปนองคประกอบ เพื่อสื่อสาร และสราง
ประสบการณ เพื่อใหเกิดการเรียนรูมีประสิทธิภาพนั่นเอง
10
1.4.2 บทบาทของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา มี 2 ประเภท ดังนี้
1.4.2.1 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอขอมูล
นักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงที่สุดในกลุมนี้คือ สกินเนอร (B.F. Skinner) เชื่อวา การเรียนรูของ
มนุษยเปนสิ่งที่สามารถสังเกตไดจากพฤติกรรมภายนอก และเชื่อในทฤษฎีการวางเงื่อนไข โดยมี
แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งเรา และการตอบสนอง การใหการเสริมแรง ทฤษฎีนี้เชื่อวา
การเรียนรูเกิดจากการที่มนุษยตอบสนองตอสิ่งเรา และพฤติกรรมการตอบสนองจะเขมขนขึ้นหาก
ไดรับการเสริมแรงที่เหมาะสม เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ออกแบบ เพื่อใชในการนําเสนอขอมูลสื่อ
มัลติมีเดียเพื่อการศึกษา โดยใชคอมพิวเตอรรวมเปนฐานในการนําเสนอขอมูลดวย เชน ควบคุมการ
เสนอภาพสไลดมัลติวิชั่น ควบคุมการนําเสนอในรูปแบบของวิดีโอเชิงโตตอบ (Interactive Video)
และเครื่องเลนซีดี-รอม ใหเสนอภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ตามเนื้อหาบทเรียนที่ปรากฏอยูบน
จอคอมพิวเตอร สวนใหญจะอยูในรูปการสื่อสารทางเดียว
รูปที่ 1.14 ตัวอยางสื่อมัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอขอมูล
(ที่มา: http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/sproject/kit/index.html)
1.4.2.2 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง
สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง หรือแหลงเรียนรู หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอรที่
ออกแบบ โดยใชคอมพิวเตอรเปนฐานในการผลิตแฟมสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา และนําเสนอแฟมที่
ผลิตแลวแกผูศึกษา ผูศึกษาก็เพียงแตเปดแฟมเพื่อเรียน หรือใชงาน ตามที่โปรแกรมสําเร็จรูปกําหนด
ไว ก็จะไดเนื้อหาลักษณะตาง ๆ อยางครบถวน โดยการนําเสนอขอมูลของสื่อมัลติมีเดียนี้ จะเปนไปใน
ลักษณะสื่อมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ (Interactive)
11
รูปที่ 1.15 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง
(ที่มา: http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=92706)
1.4.3 ลักษณะของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา แบงเปน 3 ลักษณะ
1.4.3.1 คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI )
คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI ) เปนสื่อมัลติมีเดียที่เนน
การใชงานในเครื่องเดี่ยว (Stand Alone) โดยมีการออกแบบใหมีกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ ที่เนน ให
ผูเรียนมีปฏิสัมพันธ (Interaction) กับบทเรียน พรอมทั้งไดรับผลยอนกลับ (Feedback) อยาง
ทันทีทันใด รวมทั้งสามารถประเมิน และตรวจสอบความเขาใจของผูเรียนไดตลอดเวลา โดยมี
เปาหมายสําคัญ ในการเปนบทเรียนที่ชวยใหผูเรียน เกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถ
ดึงดูดความสนใจของผูเรียน และกระตุนใหผูเรียนอยากเรียนรูซึ่งสวนใหญแลวรูปแบบการเรียนนี้
มักจะไดรับการบันทึกไวบนแผนซีดีรอม
รูปที่ 1.16 คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI)
(ที่มา: http://www.cai-dd.com)
12
1.4.3.2 การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย (Web Based Instruction : WBI)
การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย หรือการสอนบนเว็บ (Web Based Instruction :
WBI) เปนสื่อมัลติมีเดียที่เนนการใชงานในระบบเครือขายอินเทอรเน็ต หรืออินทราเน็ต เปนการ
ผสมผสานระหวางเทคโนโลยีกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
ทางการเรียนรู และแกปญหาในเรื่องขอจํากัดดานสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกตใช
คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด ไวด เว็บ ในการจัดการสภาพแวดลอมที่สงเสริมและสนับสนุนการ
เรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดผานเว็บนี้ อาจเปนบางสวนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียน
การสอนก็ได
รูปที่ 1.17 การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย หรือการสอนบนเว็บ
(ที่มา: https://www.khanacademy.org)
1.4.3.3 E–Learning
E–Learning คือ การเรียนการสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได ซึ่งใชการถายทอดเนื้อหา
ผานทางอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปน คอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต
เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได ซึ่งเนื้อหา
สารสนเทศอาจอยูในรูปแบบการเรียนที่เราคุนเคยกันมาพอสมควร เชน คอมพิวเตอรชวยสอน
(Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน
(On-line Learning) การเรียนทางไกลผานดาวเทียม หรือ อาจอยูในลักษณะที่ยังไมคอยเปนที่
แพรหลายนัก เชน การเรียนจากวิดีทัศน ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เปนตน
13
รูปที่ 1.18 ระบบ E-Leaning มหาวิทยาลัยพะเยา
(ที่มา: http://www.lms.up.ac.th)
ในปจจุบันคนสวนใหญเมื่อกลาวถึง e-Learning จะหมายเฉพาะถึงการเรียนเนื้อหาหรือ
สารสนเทศ ซึ่งออกแบบมาสําหรับการสอนหรือการอบรม ซึ่งใชเทคโนโลยีของเว็บ (Web
Technology) ในการถายทอดเนื้อหา และเทคโนโลยีระบบการจัดการคอรส (Course
Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนดานตางๆ โดยผูเรียนที่เรียนจาก e-Learning
นี้สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน หรือจากแผนซีดี-รอม ก็ได นอกจากนี้ เนื้อหาสารสนเทศ
ของ e-Learning สามารถนําเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และ
เทคโนโลยีเชิงโตตอบ (Interactive Technology)
14
1.4.4 คุณลักษณะของสื่อมัลติมีเดีย
คุณลักษณะสําคัญ 4 ประการของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเองที่สมบูรณ ไดแก
1.4.4.1 สารสนเทศ (Information)
สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระ (content) ที่ไดรับการเรียบเรียงแลวเปน
อยางดี ซึ่งทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูหรือไดรับทักษะอยางหนึ่งอยางใดที่ผูสรางไดกําหนดวัตถุประสงค
ไว โดยอาจจะนําเสนอเนื้อหาในลักษณะทางตรงหรือทางออมก็ได
รูปที่ 1.19 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)
(ที่มา: http://www.123rf.com/photo_11983586)
1.4.4.2 ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization)
ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) การตอบสนองความแตกตางระหวาง
บุคคลทั้งจากบุคลิกภาพ สติปญญา ความสนใจ พื้นฐานความรู คือลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอร
ชวยสอน โดยผูเรียนจะมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง รวมทั้งการเลือกรูปแบบที่เหมาะสม
กับตนเองได เชน สามารถควบคุมเนื้อหา ควบคุมลําดับของการเรียน ควบคุมการฝกปฏิบัติ หรือการ
ทดสอบ เปนตน
1.4.4.3 การมีปฏิสัมพันธ (Interaction)
เนื่องจากผูเรียนจะเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หากไดมีการโตตอบหรือ
ปฏิสัมพันธกับผูสอน ดังนั้น สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบมาเปนอยางดีจะเอื้ออํานวยใหเกิด
การโตตอบระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอรชวยสอนอยางตอเนื่องและตลอดทั้งบทเรียน การอนุญาตให
ผูเรียนเพียงแตคลิ๊กเปลี่ยนหนาจอไปเรื่อยๆทีละหนา ไมถือวาเปนปฏิสัมพันธที่เพียพอสําหรับการ
เรียนรู แตตองมีการใหผูเรียนไดใชเวลาในสนของการคิดวิเคราะหและสรางสรรคเพื่อใหไดมาซึ่ง
กิจกรรมการเรียนนั้นๆ
15
รูปที่ 1.20 การมีปฏิสัมพันธตอผูเรียน
(ที่มา: http://www.thehindu.com/metroplus/bridging-the-divide/article5003379.ece)
1.4.4.4 ผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback)
การใหผลปอนกลับนี้เปนสิ่งที่ทําใหคอมพิวเตอรชวยสอนแตกตางไปจากมัลติมีเดีย-ซีดีรอม
สวนใหญ ซึ่งไดมีการนําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งตางๆ แตไมไดมีการประเมินความเขาใจ
ของผูเรียน ไมวาจะอยูในรูปแบบของการทดสอบ แบบฝกหัด หรือการตรวจสอบความเขาใจใน
รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จึงทําใหมัลติมีเดีย-ซีดีรอมเหลานั้น ถูกจัดวาเปน มัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอ
ขอมูล (Presentation Media) ไมใชคอมพิวเตอรชวยสอน
รูปที่ 1.21 การเสริมแรงผูเรียนโดยการใหผลปอนกลับโดยทันที
(ที่มา: http://yesican-specializedacademicsupport.blogspot.com/2013/11)
16
เอกสารอางอิง
กิดานันท มลิทอง. (2548). ไอซีทีเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ.
คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2542). กลุมพลังการเรียนแบบรวมมือ.
กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพราว.
คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพมหานคร : สํานัก
นายกรัฐมนตรี.
ดิเรก ธีระภูธร. (2545). การใชคอมพิวเตอรในวงการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ
ถนอมพร เลาหจรัสแสง.(2550). รายงานวิจัยเรื่องการบูรณาการเทคโนโลยี e-Learning ประเภท
เกมในชั้นเรียน. สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Design e-Learning: หลักการออกแบบและการสรางเว็บเพื่อ
การเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ.
ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2543). คอมพิวเตอรชวยสอน. กรุงเทพมหานคร : วงศกมลโพรดักชั่น.
ทิศนา แขมมณี. (2546). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ :
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ และคณะ. (2544). ความรูเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา.
กรุงเทพมหานคร : ศูนยพัฒนาหนังสือ
พิสุทธา อารีราษฎร. (2551). การพัฒนาซอฟแวรทางการศึกษา. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ
ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร :
นานมีบุคสพับลิเคชั่นส.
อางอิงรูปภาพ
รูปที่ 1.1 สวนประกอบของสื่อมัลติมีเดีย, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://fungbintwo.blogspot.com/2009/11/multimedia.html)
รูปที่ 1.2 สื่อมัลติมีเดีย, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://jatupo5604music.blogspot
.com)
รูปที่ 1.3 สื่อมัลติมีเดียสมัยใหม, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://mindcater.com/new-hi-technical-computer-technology-2014)
รูปที่ 1.4 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.vcharkarn. com/vblog/3566)
รูปที่ 1.5 การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) , สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://withfriendship.com/user/kethan123/hyperlink.php)
รูปที่ 1.6 Cloud Computing การเชื่อมโยงกลุมเมฆ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.uni.net.th/backend/uninews/print.php?name=2012111122)
รูปที่ 1.7 การจัดการเรียนรูตามแนวคิดแบบมอนเตสเซอรี่, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.dusitcenter.org/dusitwebs/plan/news.php?id=1973)
17
อางอิงรูปภาพ
รูปที่ 1.8 การเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.gotoknow.org/posts/412318)
รูปที่ 1.9 การเรียนรูจาการจัดกิจกรรมโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.gotoknow.org/posts/412318)
รูปที่ 1.10 รูปแบบการเรียนรูแบบโครงงาน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.panaya-kindergarten.com/education_patthanakan.html)
รูปที่ 1.11 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.fanmath.com/about/best-learning-system)
รูปที่ 1.12 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.fanmath.com/2012/12/fanmath-classroom)
รูปที่ 1.13 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://pathima0212.blogspot.com)
รูปที่ 1.14 ตัวอยางสื่อมัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอขอมูล, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/sproject/kit/index.html)
รูปที่ 1.15 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=92706)
รูปที่ 1.16 คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI), สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม
2556, จาก (http://www.cai-dd.com)
รูปที่ 1.17 การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย หรือการสอนบนเว็บ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556,
จาก (https://www.khanacademy.org)
รูปที่ 1.18 ระบบ E-Leaning มหาวิทยาลัยพะเยา, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.lms.up.ac.th)
รูปที่ 1.19 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology), สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.123rf.com/photo_11983586)
รูปที่ 1.20 การมีปฏิสัมพันธตอผูเรียน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://www.thehindu.com/metroplus/bridging-the-
divide/article5003379.ece)
รูปที่ 1.21 การเสริมแรงผูเรียนโดยการใหผลปอนกลับโดยทันที, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก
(http://yesican-specializedacademicsupport.blogspot.com/2013/11)
18
บทที่ 2
หลักการและการออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ
ในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพ จําเปนอยางยิ่งที่
ตองศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวของ เพื่อใหสื่อมีความถูกตอง สอดคลองและตอเนื่อง การอาศัย
ความรูเฉพาะดาน ทฤษฎีทางจิตวิทยา รูปแบบการเรียนรู ลักษณะเฉพาะของสื่อมัลติมีเดีย และทฤษฎี
ที่นักการศึกษายอมรับ จะเปนสวนสําคัญที่ทําใหสื่อมัลติมีเดียมีความนาสนใจตอผูเรียน
นอกจากนั้นการพัฒนาสื่อการเรียนรู โดยไรแนวทางหรือหลักการ ทําใหการวางแผน
ระยะเวลาในการพัฒนาคลาดเคลื่อน หรือ ผิดพลาด อีกทั้งผลกระทบจากผลลัพธที่ไมเปนไปตาม
วัตถุประสงคที่กําหนด อาจกอใหเกิดปญหากับผูเรียน อยางไรก็ตามกระบวนการพัฒนาสื่อการเรียนรู
สามารถปรับปรุงแกไขได หากมีการวางโครงการหรือออกแบบสื่อไวอยางถูกตอง
2.1 ทฤษฏีเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ
2.1.1 ทฤษฎีการสื่อสาร
การสื่อสาร หรือ การสื่อความหมาย (Communication) หมายถึง การถายทอดเรื่องราว
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงออกของความคิดและความรูสึก เพื่อการติดตอสื่อสารขอมูลซึ่ง
กันและกัน (กิดานันท มลิทอง, 2540) รูปแบบของการสื่อสาร แบงไดเปน 2 รูปแบบ คือ
2.1.1.1 การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication)
การสื่อสารทางเดียวเปนการสงสารหรือสื่อความหมายไปยังผูรับเพียงฝายเดียว โดยที่ผูรับไม
สามารถตอบสนองทันที (Immediate Response) กับผูสง แตอาจจะมีผลปอนกลับไปยังผูสงใน
ภายหลังได การสื่อสารในรูปแบบนี้จึงเปนการที่ผูสงและผูรับไมสามารถมีปฏิสัมพันธแบบทันที
2.1.1.2 การสื่อสารสองทาง (Two-Way Communication)
การสื่อสารสองทางเปนการสื่อสารหรือการสื่อความหมายที่ผูรับมีโอกาสตอบสนองมายังผูสง
ไดในทันที โดยที่ผูสงและผูรับอาจจะอยูตอหนากันหรืออาจอยูคนละสถานที่ก็ได แตทั้งสองฝายจะ
สามารถมีการเจรจาหรือการโตตอบกันไปมา โดยที่ตางฝายตางผลัดกันทําหนาที่เปนทั้งผูสงและผูรับ
ในเวลาเดียวกัน
ดังนั้น ในการที่จะเกิดการเรียนรูขึ้นไดนี้ พบวาตองอาศัยกระบวนการของการสื่อสารใน
รูปแบบของการสื่อสารทางเดียวและสองทาง ในลักษณะของการใหสิ่งเราเพื่อกระตุนใหผูเรียนมีการ
แปลความหมายของเนื้อหาบทเรียน และใหมีการตอบสนองเพื่อเกิดเปนการเรียนรู ลักษณะของสิ่งเรา
และการตอบสนองในการสื่อสาร หมายถึง การที่ผูสอนใหสิ่งเราหรือสงแรงกระตุนไปยังผูเรียนเพื่อให
ผูเรียนมีการตอบสนองออกมา โดยผูสอนอาจใชสื่อโสตทัศนูปกรณตาง ๆ เชน คอมพิวเตอร เปนผูสง
เนื้อหาบทเรียน สวนการตอบสนองของผูเรียน ไดแก คําพูด การเขียน รวมถึงกระบวนการทางดาน
ความคิด การเรียนรู ซึ่งอาศัยรูปแบบการสื่อสารที่เกี่ยวของกับการแปลความหมาย และการ
ตอบสนอง
20
2.1.2 ทฤษฎีการเรียนรูพฤติกรรมนิยม (Behaviorism)
พฤติกรรมนิยมมองผูเรียนเหมือนกับกระดาษที่วางเปลา ผูสอนเตรียมประสบการณใหกับ
ผูเรียน เพื่อสรางประสบการณใหมใหผูเรียน อาจกระทําซ้ําจนกลายเปนพฤติกรรม ผูเรียนทําในสิ่งที่
พวกเขาไดรับฟง
2.1.3 ทฤษฎีการเรียนรูปญญานิยม (Cognitivism)
ปญญานิยมอยูบนฐานของกระบวนการคิดกอน แสดงพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม
ที่จะถูกสังเกต สิ่งเหลานั้น มันก็เปนเพียงแตการบงชี้วาสิ่งนี้กําลังดําเนินตอไปในสมองของผูเรียน
ทักษะใหมๆ ที่สะทอนสงออกมาเปนกระบวนการประมวลผลขอมูลทางสติปญญา
2.1.4 ทฤษฎีการสรางองคความรูดวยปญญา หรือ พุทธิปญญานิยม (Constructivism)
การสรางสรรคความรูดวยปญญาอยูบนฐานของ การอางอิงหลักฐานในสิ่งที่พวกเราสรางขึ้น
แสดงใหปรากฏแกสายตาของ เราดวยตัวของเราเอง และอยูบนฐานประสบการณของแตละบุคคล
องคความรูจะถูกสรางขึ้นโดยผูเรียน และโดยเหตุผลที่ทุกคนตางมีชุดของประสบการณตางๆ ของการ
เรียนรูจึงมีลักษณะเฉพาะตน และมี ความแตกตางกันไปในแตละคน
ทั้งสามทฤษฏีตางมีความสําคัญเทาเทียมกัน เมื่อไดการตัดสินใจที่จะใชยุทธศาสตรนี้ มีสิ่งที่
สําคัญและจําเปนที่สุดของชีวิตที่ตองพิจารณาทั้งสองระดับ คือ ระดับองคความรูของนักเรียนของทาน
และระดับการประมวลผลทางสติปญญาที่ ตองการในผลงานหรือภาระงานแหงการเรียนรู ระดับการ
ประมวลผลทางสติปญญาที่ ตองการสรางผลงาน/ภาระงาน และระดับความชํานิชํานาญของนักเรียน
ของเรานี้ การมองหาภาพทางทฤษฎี จะมีความเปนไปไดที่สนับสนุนการมีความ พยายามที่จะเรียนรู
ทางยุทธวิธีบางทีก็มีความซับซอนและมีความเลื่อมล้ํากันอยูบาง และก็มีความจําเปนเหมือนๆ กัน ใน
การวบรวมยุทธวิธีตาง ๆ จากความแตกตางที่เปนจริง ทางทฤษฎี เมื่อเรามีความตองการ
2.1.5 ทฤษฎีการเรียนรูของกาเย (Gagne)
กาเยไดนําเอาแนวความคิดมาใชในการเรียนการสอนโดยยึดหลักการนําเสนอเนื้อหาและจัด
กิจกรรมการเรียนรูจากการมีปฏิสัมพันธ ดังนี้
2.1.5.1 เรงเราความสนใจ (Gain Attention)
กระตุนหรือเราใหผูเรียนเกิดความสนใจกับบทเรียนและเนื้อหาที่จะเรียนการเราความสนใจ
ผูเรียนนี้อาจทําไดโดย การจัดสภาพแวดลอมใหดึงดูดความสนใจ เชน การใชภาพกราฟก
ภาพเคลื่อนไหว และ/หรือการใชเสียงประกอบบทเรียนในสวนบทนํา
2.1.5.2 บอกวัตถุประสงค (Specify Objective)
การบอกวัตถุประสงคเปนการแจงใหผูเรียนทราบถึงจุดประสงคของบทเรียนนี้มีความสําคัญ
เปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะการเรียนการสอนบนเว็บที่ผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองไดโดย
การเลือกศึกษาเนื้อหาที่ตองการศึกษาไดเอง ดังนั้นการที่ผูเรียนไดทราบถึงจุดประสงคของบทเรียน
ลวงหนาทําใหผูเรียนสามารถมุงความสนใจไปที่เนื้อหาบทเรียนที่เกี่ยวของ อีกทั้งยังสามารถเลือก
21
ศึกษาเนื้อหาเฉพาะที่ตนยังขาดความเขาใจที่จะชวยทําใหผูเรียนมีความรูความสามารถตรงตาม
จุดประสงคของบทเรียนที่ไดกําหนดไว
2.1.5.3 ทบทวนความรูเดิม (Activate Prior Knowledge)
การทบทวนความรูเดิมชวยกระตุนใหผูเรียนสามารถเรียนรูเนื้อหาใหมไดรวดเร็วยิ่งขึ้น
รูปแบบการทบทวนความรูเดิมในบทเรียนบนเว็บทําไดหลายวิธี เชน กิจกรรมการถาม-ตอบคําถาม
หรือการแบงกลุมใหผูเรียนอภิปรายหรือสรุปเนื้อหาที่ไดเคยเรียนมาแลว เปนตน
2.1.5.4 นําเสนอเนื้อหาใหม (Present New Information)
การนําเสนอบทเรียนบนเว็บสามารถทําไดหลายรูปแบบดวยกัน คือ การนําเสนอดวยขอความ
รูปภาพ เสียง วีดิทัศน สิ่งสําคัญที่ผูสอนควรใหความสําคัญก็คือผูเรียน ผูสอนควรพิจารณาลักษณะของ
ผูเรียนเปนสําคัญเพื่อใหการนําเสนอบทเรียนเหมาะสมกับผูเรียนมากที่สุด
2.1.5.5 ชี้แนะแนวทางการเรียนรู (Guide Learning)
การชี้แนวทางการเรียนรู หมายถึง การชี้แนะใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดเรียนใหม
ผสมผสานกับความรูเกาที่เคยไดเรียนไปแลว เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่รวดเร็วและมีความแมนยํา
มากยิ่งขึ้น
2.1.5.6 กระตุนการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response)
นักการศึกษาตางทราบดีวาการเรียนรูเกิดขึ้นจากการที่ผูเรียนไดมีโอกาสมีสวนรวมใน
กระบวนการเรียนการสอนโดยตรง ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนบนเว็บจึงควรเปดโอกาสให
ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน ซึ่งอาจทําไดโดยการจัดกิจกรรมการสนทนาออนไลนรูปแบบ
Synchronous หรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผานเว็บบอรดในรูปแบบ Asynchronous เปนตน
2.1.5.7 ใหขอมูลยอนกลับ (Provide Feedback)
ลักษณะเดนของการเรียนการสอนบนเว็บ คือ การที่ผูสอนสามารถติดตอสื่อสารกับผูเรียนได
โดยตรง เนื่องจากบทบาทของผูสอนนั้นเปลี่ยนจากการเปนผูถายทอดความรู มาเปนผูใหคําแนะนํา
และชวยกํากับการเรียนของผูเรียนรายบุคคล และดวยความสามารถของอินเทอรเน็ตที่ทําใหผูเรียน
และผูสอนสามารถติดตอกันไดตลอดเวลา ทําใหผูสอนสามารถติดตามกาวหนาและสามารถใหผล
ยอนกลับแกผูเรียนแตละคนไดดวยความสะดวก
2.1.5.8 ทดสอบความรูใหม (Assess Performance)
การทดสอบความรูความสามารถผูเรียนเปนขั้นตอนที่สําคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง เพราะทําใหทั้ง
ผูเรียนและผูสอนไดทราบถึงระดับความรูความเขาใจที่ผูเรียนมีตอเนื้อหาในบทเรียนนั้นๆ การทดสอบ
ความรูในบทเรียนบนเว็บสามารถทําไดหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนขอสอบแบบปรนัยหรืออัตนัย การ
จัดทํากิจกรรมการอภิปรายกลุมใหญหรือกลุมยอยเปนตน ซึ่งการทดสอบนี้ผูเรียนสามารถทําการ
ทดสอบบนเว็บผานระบบเครือขายได
2.1.5.9 สรุปและนําไปใช (Review and Transfer)
การสรุปและนําไปใช จัดวาเปนสวนสําคัญในขั้นตอนสุดทายที่บทเรียนจะตองสรุปมโนคติของ
เนื้อหาเฉพาะประเด็นสําคัญ ๆ รวมทั้งขอเสนอแนะตาง ๆ เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสทบทวน
ความรูของตนเองหลังจากศึกษาเนื้อหาผานมาแลว ในขณะเดียวกันบทเรียนตองชี้แนะเนื้อหาที่
22
เกี่ยวของหรือใหขอมูลอางอิงเพิ่มเติม เพื่อแนะแนวทางใหผูเรียนไดศึกษาตอในบทเรียนถัดไปหรือ
นําไปประยุกตใชกับงานอื่นตอไป
รูปที่ 2.1 ทฤษฎีการเรียนรูของกาเย
(ที่มา: http://teacher80std.blogspot.com/2012/06/101-learning-ecology.html)
2.2 องคประกอบที่สําคัญที่กอใหเกิดการเรียนรู
2.2.1 ผูเรียน ( Learner) มีระบบสัมผัสและระบบประสาทในการรับรู
2.2.2 สิ่งเรา ( Stimulus) คือ สถานการณตางๆ ที่เปนสิ่งเราใหผูเรียนเกิดการเรียนรู
2.2.3 การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู
2.2.4 การสอนดวยสื่อตามแนวคิดของกาเย
2.2.5 เราความสนใจ มีโปรแกรมที่กระตุนความสนใจของผูเรียน เชน ใช การตูน หรือ
กราฟกที่ดึงดูดสายตา
2.2.6 ความอยากรูอยากเห็นจะเปนแรงจูงใจใหผูเรียนสนใจในบทเรียน การตั้งคําถามก็
เปนอีกสิ่งหนึ่ง
2.2.7 บอกวัตถุประสงค ผูเรียนควรทราบถึงวัตถุประสงค ใหผูเรียนสนใจในบทเรียน
เพื่อใหทราบวาบทเรียนเกี่ยวกับอะไร
2.2.8 กระตุนความจําผูเรียน สรางความสัมพันธในการโยงขอมูลกับความรูที่มีอยูกอน
เพราะสิ่งนี้สามารถทําใหเกิดความทรงจําในระยะยาวไดเมื่อไดโยงถึงประสบการณ
ผูเรียน โดยการตั้งคําถาม เกี่ยวกับแนวคิด หรือเนื้อหานั้นๆ
23
2.2.9 เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเปนการอธิบายเนื้อหาใหกับผูเรียน โดยใชสื่อชนิดตางๆ
ในรูป กราฟก หรือ เสียง วิดีโอ
2.2.10 การยกตัวอยาง การยกตัวอยางสามารถทําไดโดยยกกรณีศึกษา การเปรียบเทียบ
เพื่อใหเขาใจไดซาบซึ้ง
2.2.11 การฝกปฏิบัติ เพื่อใหเกิดทักษะหรือพฤติกรรม เปนการวัดความเขาใจวาผูเรียนได
เรียนถูกตอง เพื่อใหเกิดการอธิบายซ้ําเมื่อรับสิ่งที่ผิด
2.2.12 การใหคําแนะนําเพิ่มเติม เชน การทําแบบฝกหัด โดยมีคําแนะนํา
2.2.13 การสอบ เพื่อวัดระดับความเขาใจ
2.2.14 การนําไปใช กับงานที่ทําในการทําสื่อควรมี เนื้อหาเพิ่มเติม หรือหัวขอตางๆ ที่ควร
จะรูเพิ่มเติม
2.3 การออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ
การออกแบบสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน โดยใหเนนการผสมผสานของกราฟก สี
ภาพ เคลื่อนไหว การเปรียบเทียบการใหตัวอยางที่เปนรูปธรรม การใหขอมูลปอนกลับที่เปนภาพ
ขั้นตอนการออกแบบนี้ถูกดัดแปลงมาจากกระบวนการเรียนรู 9 ขั้นของกาเย บริกส และ แวกเนอร
ดังนี้
2.3.1 การเราความสนใจใหพรอมที่จะเรียน (Gain Attention)
กอนที่จะเริ่มเรียนมีความจาเปนอยางยิ่งที่ผูเรียนควรจะไดรับแรงกระตุนและจูงใจใหอยากที่
จะเรียน ทาไดโดยการใชภาพ สี เสียงประกอบ ในการสรางไตเติล (Title) ใช กราฟกขนาดใหญ งาย
ไมซับซอน มีการเคลื่อนไหวที่สั้นและงาย ใชสีและเสียง เขาชวยใหสอดคลองกับกราฟก ภาพควรคาง
อยูที่จอภาพจนกวาผูเรียนจะเปลี่ยนภาพ ในกราฟกควรบอกชื่อเรื่องที่จะเรียน แสดงผลบนจอไดเร็ว
และควรเหมาะกับวัยของผูเรียนดวย
2.3.2 วัตถุประสงคของการเรียน (Specify Objective )
การบอกวัตถุประสงค ของการเรียนในสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษานั้น เพื่อใหผูเรียนรูลวงหนา
ถึงประเด็น สาคัญของเนื้อหา และเคาโครงเนื้อหาอยางกวางๆ เพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพ การ
บอกวัตถุประสงคนั้นทาไดหลายแบบ อาจบอกเปนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมหรือวัตถุประสงคทั่วไป
ซึ่งจะตองคานึงดวยวาควรใชถอยคางาย หลีกเลี่ยงคา ที่ยังไมเปนที่รูจักและเขาใจโดยทั่วไป ไมควรกา
หนดวัตถุประสงคหลายขอเกินไป ถาเปน บทเรียนใหญมีวัตถุประสงคกวางๆ ควรตอดวยเมนู (Menu)
แลวจึงมีวัตถุประสงคยอย ปรากฏบนจอ ทีละขอ โดยใชกราฟกงายๆ และการเคลื่อนไหวเขาชวย
2.3.3 ทบทวนความรูเดิม (Active Prior Knowledge)
กอนที่จะใหความรูใหม แกผูเรียน ซึ่งในสวนของเนื้อหาและแนวความคิดนั้นๆ ผูเรียนอาจไมมี
พื้นฐานมากอน มีความจาเปนอยางยิ่งที่ผูออกแบบโปรแกรมควรจะตองหาวิธีการประเมินความรูเดิม
ในสวนที่จาเปนกอนที่จะรับความรูใหม นอกจากจะเปนการเตรียมผูเรียน ใหพรอม ที่จะรับความรูใหม
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]
วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]

Contenu connexe

Tendances

การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นchaiwat vichianchai
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + VuforiaDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพApida Runvat
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นComcmpoly
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPointDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย VidinotiDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)Pitchayanida Khumwichai
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 

Tendances (20)

การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
การผลิตสื่อวิดีโอ (Video Production)
 
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว  (Motion Graphic)
การสร้างสื่อภาพกราฟิกเคลื่อนไหว (Motion Graphic)
 
แสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพแสงและองค์ประกอบของภาพ
แสงและองค์ประกอบของภาพ
 
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
การเขียนบทสำหรับงานวิดีโอ (Script Writing for Video Production)
 
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้นใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
ใบความรู้ที่ 1 หลักการสร้างหนังสั้น
 
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
เริ่มสร้างผลิตภัณฑ์ (Product Begining)
 
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforiaการสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
การสร้างสื่อ AR Augmented Reality ด้วย Unity + Vuforia
 
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
เทคโนโลยีเสมือนจริงและจักรวาลนฤมิตสำหรับงานไมซ์ (Virtual Reality and Metavers...
 
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพคำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
คำศัพท์ด้านการตัดต่อภาพ
 
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
เทคนิคการสร้างสื่อเพื่อการปฏิบัติงานในยุคดิจิทัล (Creating Techniques Media f...
 
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
เทคนิคการเล่าเรื่องดิจิทัล (Digital Storytelling Technique)
 
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
ระบบปฏิสัมพันธ์ในกระบวนการพัฒนาซอฟต์แวร์ (Interaction System in Software Deve...
 
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
ระบบนำทัวร์เสมือนจริง (Virtual Tour: VR Tour)
 
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
วิดีโอสำหรับมัลติมีเดีย (Video for Multimedia)
 
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้นแผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
แผนการสอนหลักสูตรระยะสั้น
 
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
6 ขั้นตอนอัดคลิปวิดีโอหน้าจอสอนออนไลน์ง่ายๆ ด้วย PowerPoint
 
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinotiสร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
สร้างสื่อ Augmented Reality ง่ายๆ ด้วย Vidinoti
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
การออกแบบคอมพิวเตอร์กราฟิก (Graphics Basic)
 
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบอินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
อินโฟกราฟิก (Infographic) และหลักการออกแบบ
 

En vedette

แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6พงศธร ภักดี
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียNalin K
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadกันต์ ตีห้า
 
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้นเอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้นKon Bannok
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียboonyarat thungprasert
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6บุญญรัตน์ ตั้งประเสริฐ
 
ขั้นตอนการใช้ Movie wizard ulead 11
ขั้นตอนการใช้ Movie wizard  ulead 11ขั้นตอนการใช้ Movie wizard  ulead 11
ขั้นตอนการใช้ Movie wizard ulead 11BussRa ThongThai
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอSamorn Tara
 
หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56Pakornkrits
 
กระบวนการออกแบบและการสร้างCai
กระบวนการออกแบบและการสร้างCaiกระบวนการออกแบบและการสร้างCai
กระบวนการออกแบบและการสร้างCaiPiyachat
 
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์Pakornkrits
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นB CH
 
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1Surapong Pool-im
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemguest2be5a70
 
สมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google driveสมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google drivePakornkrits
 
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์Pakornkrits
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1Knes Kantaporn
 

En vedette (20)

แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
 
Course Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดียCourse Syllabus มัลติมีเดีย
Course Syllabus มัลติมีเดีย
 
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepadโครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
โครงงาน สื่อมัลติมิเดีย เรื่อง การตัดเสียงโดยโปรแกรม Wavepad
 
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้นเอกสารประกอบการเรียน  ภาษา HTML เบื้องต้น
เอกสารประกอบการเรียน ภาษา HTML เบื้องต้น
 
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดียเล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
เล่ม1 สื่อมัลติมีเดีย
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับมัลติมีเดียและโปรแกรม Corel Video Studio Pro x6
 
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีมัลติมีเดียเทคโนโลยีมัลติมีเดีย
เทคโนโลยีมัลติมีเดีย
 
ขั้นตอนการใช้ Movie wizard ulead 11
ขั้นตอนการใช้ Movie wizard  ulead 11ขั้นตอนการใช้ Movie wizard  ulead 11
ขั้นตอนการใช้ Movie wizard ulead 11
 
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
ใบงานที่ 3.1 ความรู้เบื้องต้นวีดีโอ
 
หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56หลักสูตรสอบปี 56
หลักสูตรสอบปี 56
 
กระบวนการออกแบบและการสร้างCai
กระบวนการออกแบบและการสร้างCaiกระบวนการออกแบบและการสร้างCai
กระบวนการออกแบบและการสร้างCai
 
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
รู้จักวิทยากร ติวครูผู้ช่วย กูรูครูติวเตอร์
 
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้นการพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
การพัฒนาสื่อวีดิทัศน์เรื่อง การใช้โปรแกรม-Adobe-audition-เบื้องต้น
 
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
มคอ.2วิศวกรรมอิเล็กทรอนิกส์และโทรคมนาคม1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystemคู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
คู่มือการใช้งาน Cai Comsystem
 
สมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google driveสมัคร และการใช้งาน Google drive
สมัคร และการใช้งาน Google drive
 
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
การประดับแพรแถบย่อของเครื่องราชอิสริยาภรณ์
 
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม  1
แผนเรียนรู้วิชาพิมพ์ดีดไทยด้วยคอม 1
 

Similaire à วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาVisiene Lssbh
 
งาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณงาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณDexloei Prawza
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kittichai Pinlert
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
Exproject2
Exproject2Exproject2
Exproject2najak
 

Similaire à วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I] (20)

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหาบทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เนื้อหา
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
22222222222
2222222222222222222222
22222222222
 
งาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณงาน กนกวรรณ
งาน กนกวรรณ
 
งาน I pad
งาน I padงาน I pad
งาน I pad
 
5++++++555
5++++++5555++++++555
5++++++555
 
โอ๋1
โอ๋1โอ๋1
โอ๋1
 
โอ๋1
โอ๋1โอ๋1
โอ๋1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
Moodle - e-Learning
Moodle - e-LearningMoodle - e-Learning
Moodle - e-Learning
 
ส่วนนำ ทวีชัย
ส่วนนำ  ทวีชัยส่วนนำ  ทวีชัย
ส่วนนำ ทวีชัย
 
Flash for teacher
Flash for teacher Flash for teacher
Flash for teacher
 
Exproject2
Exproject2Exproject2
Exproject2
 
นคร อรอนงค์
นคร  อรอนงค์นคร  อรอนงค์
นคร อรอนงค์
 

Plus de Pakornkrits

เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองPakornkrits
 
คู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต
คู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตคู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต
คู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตPakornkrits
 
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่Pakornkrits
 
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความคู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความPakornkrits
 
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯPakornkrits
 
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556Pakornkrits
 
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุดแนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุดPakornkrits
 
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1Pakornkrits
 
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯการแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯPakornkrits
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีPakornkrits
 
คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2Pakornkrits
 
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2Pakornkrits
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ FacebookPakornkrits
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ TwitterPakornkrits
 
ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2Pakornkrits
 
7. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 27. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 2Pakornkrits
 
6. ความหมายของสี ชุด 1
6. ความหมายของสี ชุด 16. ความหมายของสี ชุด 1
6. ความหมายของสี ชุด 1Pakornkrits
 
4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสีPakornkrits
 

Plus de Pakornkrits (20)

เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมองเทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
เทคนิคการอ่านหนังสือ บำรุงสมอง
 
คู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต
คู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ตคู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต
คู่มือตั้งค่าการเชื่อมต่อระบบอินเทอร์เน็ต
 
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
การผูกผ้าพันคอสไตล์ใหม่
 
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความคู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
คู่มือภาษา HTML และการจัดข้อความ
 
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
15 วิธีผูกเชือกรองเท้าอย่างเทพฯ
 
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
รายชื่อเขตที่สอบครูผู้ช่วย 2556
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
ติวสอบครูผู้ช่วย 2556
 
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุดแนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
แนวปฏิบัต ว 30 ล่าสุด
 
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
หนังสือราชการ ว.๑๑ ครู คศ.1
 
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯการแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
การแทรกเลขหน้า MS-Word 2007 มืออาชีพขั้นสูงระดับเทพฯ
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2คู่มือ Twitter V2
คู่มือ Twitter V2
 
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2คู่มือ Facebook ฉบับ 2
คู่มือ Facebook ฉบับ 2
 
คู่มือ Facebook
คู่มือ Facebookคู่มือ Facebook
คู่มือ Facebook
 
คู่มือ Twitter
คู่มือ Twitterคู่มือ Twitter
คู่มือ Twitter
 
ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2ผลงาน 4.2
ผลงาน 4.2
 
7. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 27. ความหมายของสี ชุด 2
7. ความหมายของสี ชุด 2
 
6. ความหมายของสี ชุด 1
6. ความหมายของสี ชุด 16. ความหมายของสี ชุด 1
6. ความหมายของสี ชุด 1
 
4.โมเดลสี
4.โมเดลสี4.โมเดลสี
4.โมเดลสี
 

วิชาการผลิตมัลติมีเดีย 1 [Multimedia I]

  • 1.
  • 2. คํานํา สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีขอตกลงความรวมมือกับ มหาวิทยาลัยพะเยา ภายใตโครงการปฏิรูปหลักสูตรการศึกษาแหงชาติ ไดใหมีการพัฒนาหลักสูตรและ แผนการสอน เอกสารประกอบการสอน คูมือครู ที่บูรณาการความรูดานเทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสารกับกลุมอาชีพ เพื่อใชประกอบการเรียนการสอนของสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ เอกสารประกอบการสอนรายวิชา การผลิตสื่อมัลติมีเดีย 1 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับแนวคิด เบื้องตนของการผลิตสื่อมัลติมีเดียแบบออฟไลน ศึกษาและปฏิบัติการเกี่ยวกับการผสมผสานอินเตอร แอคทีฟกับงานมัลติมีเดีย การออกแบบ การใชโปรแกรมประยุกตที่เกี่ยวของกับงานอินเตอรแอคทีฟ การสรางเทคนิคพิเศษ การใสเสียงประกอบ การใสภาพและการเพิ่มวิดีโอมาใชในงานมัลติมีเดีย การประยุกตใชงานนําเสนองานอินเตอรแอคทีฟ การนําเสนอผลงานมัลติมีเดีย การสรางแบบทดสอบ แบบฝกหัด การประเมินผล การออกรายงาน การใชโปรแกรมประยุกตรวมกับโปรแกรมอื่น และ การประยุกตใชสําหรับการผลิตสื่อมัลติมีเดียแบบออนไลน ผูจัดทําเอกสารประกอบการสอนหวังเปนอยางยิ่งวา เอกสารประกอบการสอนเลมนี้จะเปน ประโยชนตอผูเรียนและผูที่สนใจ เพื่อใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใชไดในอนาคต และ ขอขอบคุณ สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น พื้นฐาน (สพฐ.) และสถานศึกษาที่เขารวมโครงการ ผูจัดทํา ปรัชญา นวนแกว 2 มกราคม 2557
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา บทที่ 1 บทนํา 1.1 ความหมายของสื่อมัลติมีเดีย 1 1.2 แนวคิดการจัดการเรียนรู 5 1.3 สื่อการเรียนการสอน 7 1.4 บทบาทและคุณลักษณะของสื่อมัลติมีเดีย 9 บทที่ 2 หลักการและการออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 2.1 ทฤษฏีเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 19 2.1.1 ทฤษฎีการสื่อสาร 19 2.1.2 ทฤษฎีการเรียนรูพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) 20 2.1.3 ทฤษฎีการเรียนรูปญญานิยม (Cognitivism) 20 2.1.4 ทฤษฎีการสรางองคความรูดวยปญญา หรือ พุทธิปญญานิยม (Constructivism) 20 2.1.5 ทฤษฎีการเรียนรูของกาเย (Gagne) 20 2.2 องคประกอบที่สําคัญที่กอใหเกิดการเรียนรู 22 2.3 การออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 23 2.4 ขั้นตอนการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 25 2.5 การประยุกตใชทฤษฎีการเรียนรู 27 บทที่ 3 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 1 เริ่มใชงาน Adobe Captivate 3.1 คุณสมบัติเดนของโปรแกรม Adobe Captivate 29 3.2 สรุปคุณสมบัติเดนของโปรแกรม Adobe Captivate 29 3.3 ความตองการคุณสมบัติของฮารดแวร สําหรับโปรแกรม Adobe Captivate 30 3.4 หลักการทํางานของโปรแกรม 31 3.5 การดาวนโหลดโปรแกรม Adobe Captivate 32 3.6 การติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 37 3.7 ขอสังเกตเพิ่มเติมสําหรับการติดตั้งโปรแกรม Adobe Captivate 45 บทที่ 4 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 2 เครื่องมือพื้นฐานและการสรางโปรเจ็คเบื้องตน 4.1 การเรียกโปรแกรม Adobe Captivate 7 52
  • 4. สารบัญ หนา 4.2 เครื่องมือพื้นฐานในการใชงานโปรแกรม Adobe Captivate 7 53 4.3 สรางไฟลงาน Adobe Captive Project 73 4.4 รูปแบบของ Adobe Captive Project 74 4.5 การตั้งคาไฟล (Project Preferences) 78 บทที่ 5 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 3 การสรางโปรเจ็คและการนําเขาขอมูลจากโปรแกรมอื่น 5.1 การสรางโปรเจ็ครูปแบบตางๆ 83 5.2 การตั้งคาเครื่องคอมพิวเตอร จอภาพและการแสดงผล 83 5.3 Software Simulation 86 5.4 Video Demo 93 5.5 Blank Project 96 5.6 Form Microsoft® PowerPoint 98 5.7 Image Slideshow 101 5.8 Project Template 104 5.9 สไดลรูปแบบตางๆ และการกําหนดคุณสมบัติของสไลด 105 5.10 ประเภทของสไลด 105 5.11 การกําหนดคุณสมบัติของสไลด 106 5.12 การจัดการเกี่ยวกับสไลด 110 บทที่ 6 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 4 การบันทึกเสียงและการแทรกเสียง 6.1 เสียงคืออะไร 131 6.2 รูปแบบและลักษณะของเสียง 131 6.3 รูปแบบของเสียงที่ใชในสื่อมัลติมีเดีย 132 6.4 การตั้งคาการบันทึกเสียง (Audio Setting) 133 6.5 การบันทึกเสียงใหสไลด 135 6.6 การบันทึกเสียงลงสไลดมากกวา 1 สไลด 136 6.7 การบันทึกเสียงเปนเสียงพื้นหลัง 138 6.8 การบันทึกเสียงใหวัตถุ 139 6.9 การแทรกเสียงใหสไลด 140 6.10 การแทรกเสียงพื้นหลัง 142 6.11 การแทรกเสียงใหวัตถุ 143 6.12 การตกแตงไฟลเสียงใหสไลด 145
  • 5. สารบัญ หนา 6.13 การปรับแตงแกไขไฟลเสียงพื้นหลัง 146 6.14 การตกแตงแกไขไฟลเสียงใหวัตถุ 147 6.15 การปรับระดับเสียง 148 6.16 การเพิ่มปุมควบคุมใหบทบรรยาย 150 6.17 การลบไฟลเสียงออกจากสไลด 151 6.18 การลบไฟลเสียงพื้นหลัง 151 6.19 การลบไฟลเสียงออกจากวัตถุ 152 6.20 การแสดงรายละเอียดของไฟลเสียงในสไลด 153 6.21 การสงออกไฟลเสียง 153 บทที่ 7 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 5 ตัวแปรและแอคชั่น 7.1 ตัวแปรระบบ (System Variable) 157 7.2 ตัวแปรประเภท Movie Information 160 7.3 ตัวแปรประเภท Movie Control 161 7.4 ตัวแปรประเภท Movie MetaData 162 7.5 ตัวแปรประเภท Quizzing 164 7.6 ตัวแปรประเภท System Information 165 7.7 ตัวแปรยูสเซอร 166 7.8 การแทรกตัวแปรระบบเขามาใชงาน 169 7.9 การแทรกตัวแปรยูสเซอรเขามาใชงาน 171 7.10 การสรางเงื่อนไขและกําหนดตัวแปรขั้นสูง 175 7.11 การลบและแกไขตัวแปรขั้นสูง (Advance Action) 182 บทที่ 8 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 6 การสรางแบบทดสอบ 8.1 แบบทดสอบคืออะไร 187 8.2 ลักษณะและประเภทของแบบทดสอบ 187 8.3 ประเภทของแบบทดสอบสําหรับสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ ที่อยูภายในโปรแกรม Adobe Captivate 188 8.4 การตั้งคาแบบทดสอบ 189 8.5 การสรางแบบทดสอบแบบเลือกตอบ (Multiple Choice) 194 8.6 การสรางแบบทดสอบแบบถูกหรือผิด (True/False) 198 8.7 การสรางแบบทดสอบแบบเติมคําในชองวาง (Fill-In-The-Blank) 201
  • 6. สารบัญ หนา 8.8 การสรางแบบทดสอบแบบเติมคําหรือประโยคสั้นๆ (Short Answer) 205 8.9 การสรางแบบทดสอบแบบจับคู (Matching) 208 8.10 การสรางแบบทดสอบแบบชี้จุดตําแหนงหรือจับผิดภาพ (Hot Spot) 212 8.11 การสรางแบบทดสอบแบบเรียงลําดับกอนหลัง (Sequence) 216 8.12 การสรางแบบทดสอบแบบประเมินการใหคะแนน (Rating Scale : Likert) 220 8.13 การสรางแบบทดสอบแบบสุม (Random Questions) 223 บทที่ 9 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 7 การแกไขตกแตงโปรเจ็ค 9.1 การกําหนดรายละเอียดใหโปรเจ็ค 231 9.2 การกําหนดคุณภาพการแสดงโปรเจ็ค 232 9.3 การกําหนดคาการสงออกโปรเจ็ค 233 9.4 การกําหนดจุดเริ่มตนและสิ้นสุดของโปรเจ็ค 235 9.5 การกําหนดคาเริ่มตนใหกับสไลดและวัตถุ 236 9.6 การบันทึกคา Preferences เก็บไว 238 9.7 การนําคา Preferences ที่บันทึกไวมาใชงาน 239 9.8 การสรางแมแบบโปรเจ็ค (Template) 240 9.9 การบันทึกแมแบบโปรเจ็ค 242 9.10 การนําแมแบบมาใชงาน 243 9.11 การปรับแตง Skin (Playback Control) 244 9.12 การสรางตารางสารบัญ (TCC : Table Of Contents) 246 9.13 การกําหนดหัวขอหลักและหัวขอยอย 247 9.14 การปรับแตงตารางสารบัญ 249 9.15 การเพิ่มขอมูลโปรเจ็คในตารางสารบัญ 251 9.16 การรวบรวมโปรเจ็ค (Aggregator Project) 253 9.17 ขั้นตอนการรวบรวมโปรเจ็ค 253 9.18 ขั้นตอนการสงออกไฟล 256 บทที่ 10 การพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบปฏิสัมพันธ โดยใชโปรแกรมสําเร็จรูป ตอนที่ 8 การสงออกและการแกไขโปรเจ็ค 10.1 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบไฟล SWF และ HTML5 261 10.2 การตรวจสอบการสงออกไฟลแบบ HTML5 264 10.3 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบไฟล Executable 265 10.4 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบไฟล MP4 267
  • 7. สารบัญ หนา 10.5 การสงออกโปรเจ็คผาน E-Mail 269 10.6 การสงออกโปรเจ็คเขาเซิรฟเวอรโดยใช FTP 273 10.7 การสงออกโปรเจ็คในรูปแบบ Microsoft Word 275 10.8 วิธีการสงออกโปรเจ็คในรูปแบบ Microsoft Word 280 10.9 การสงออกโปรเจ็คสําหรับ Reviews 281 10.10 การกําหนดคา Preferences ใหโฟลเดอร Comments 283 บรรณานุกรม ดัชนีรูปภาพ ดัชนีตาราง
  • 8. บทที่ 1 บทนํา ปจจุบันมีการพัฒนารูปแบบของมัลติมีเดียใหสอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูมากมาย สําหรับ มัลติมีเดียเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เปนสวนหนึ่งของรูปแบบบทเรียนที่อํานวยความสะดวกใหกับ ผูเรียนและผูสอน นอกจากนั้นยังรวบรวม เนื้อหา คําถาม คําตอบ กระบวนการเรียน สื่อตางๆ ที่มี ความนาสนใจ ดึงดูดผูเรียนใหอยูกับเนื้อหาที่เขาใจยาก ชวยอธิบายสิ่งที่ไมสามารถสัมผัสหรือมองดวย สายตาปกติได และเปนการกระตุนใหผูเรียนเกิดการอยากสํารวจ คิดคน สืบคน รูจักสรางและ ออกแบบรูปแบบการเรียนของตนเองตามความสนใจ ซึ่งแนวคิดเหลานี้ตางสอดคลองกับทฤษฎีการ เรียนรูของนักปรัชญามากมาย 1.1 ความหมายของสื่อมัลติมีเดีย สื่อมัลติมีเดีย (Multimedia) ตามพจนานุกรมศัพทคอมพิวเตอรฉบับราชบัณฑิตยสถาน แปลวา สื่อประสม หรือ สื่อหลายแบบ หมายถึง การนําสื่อหรืออุปกรณหลาย ๆ ประเภท เชน ขอความ รูปภาพ เสียง วิดีโอ มาใชรวมกัน เพื่อเสริมใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการทํางาน ตอมา เมื่อคอมพิวเตอรถูกนํามาใชมากขึ้น ทําใหความสามารถในการนําเสนอ ทั้งภาพนิ่ง เสียง ขอความ ภาพเคลื่อนไหว วิดีโอ อินเทอรเน็ต สังคมออนไลน มีความหลากหลาย สงผลใหความหมายของสื่อ ประสมเปลี่ยนแปลงตามไป นอกจากนี้การใชคอมพิวเตอรควบคุมอุปกรณอื่น เชน เครื่องเลนวิดีโอ เทปเสียง ซีดีรอม กลองดิจิตอล โทรทัศน ใหทํางานรวมกัน จําเปนตองอาศัยโปรแกรมคอมพิวเตอร (Software) และ อุปกรณ (Hardware) ประกอบกัน หรืออาจเรียกวา “สถานีปฏิบัติการมัลติมีเดีย (Multimedia workstation)” รูปที่ 1.1 สวนประกอบของสื่อมัลติมีเดีย (ที่มา: http://fungbintwo.blogspot.com/2009/11/multimedia.html)
  • 9. 2 นักการศึกษาและความหมายของสื่อมัลติมีเดีย พิสุทธา อารีราษฏร (2551) กลาววา การพัฒนาซอฟตแวรทางการศึกษา โดยทั่วไป เปนการ พัฒนาบทเรียนเพื่อนําไปใชในการเรียนการสอน เนื่องจากบทเรียนเปนสื่อที่นําไปใชในการสอนจริง แทนครูผูสอน ดังนั้นบทเรียนที่พัฒนาขึ้นจะตองเปนบทเรียนที่มีคุณภาพ มีประสิทธิภาพ มีเนื้อหา ครบถวนและสอดคลองกับวัตถุประสงคของบทเรียน รูปที่ 1.2 สื่อมัลติมีเดีย (ที่มา: http://jatupo5604music.blogspot.com) ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2550) กลาววา การกาวเขาสูยุคแหงสารสนเทศ ทําใหเกิดความ จําเปนในการปรับเปลี่ยนรูปแบบและวิธีการในการศึกษา การเรียนการสอน การเรียนรูของคนใน สังคม เพื่อใหเทาทันตอการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น ซึ่งรูปแบบและวิธีการ จะมีลักษณะที่แตกตางจาก เดิม เรียกวา Unconventional Education หรือ การศึกษาที่แตกตาง การเรียนรูจะไมใชแคการ จดจํา เขาใจเนื้อหา หรือการทําขอสอบไดดี หากจุดมุงเนน ไดแก การที่ผูเรียนมีความสามารถในการ เขาใจวิธีการเรียนรู (learning how to learn) ของตนเองไดอยางมีประสิทธิภาพ และอยางตอเนื่อง ตลอดชีวิต รูปที่ 1.3 สื่อมัลติมีเดียสมัยใหม (ที่มา: http://mindcater.com/new-hi-technical-computer-technology-2014)
  • 10. 3 ดิเรก ธีระภูธร (2545) คอมพิวเตอรชวยสอนเปนกระบวนการเรียนการสอน โดยใช สื่อคอมพิวเตอร ในการนําเสนอเนื้อหาเรื่องราวตางๆ มีลักษณะเปนการเรียนโดยตรง และเปนการ เรียน แบบมีปฏิสัมพันธ (Interactive) คือ สามารถโตตอบระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอรได เชนเดียวกับการสอนระหวางครูกับนักเรียนที่อยูในหองตามปกติ คอมพิวเตอรชวยสอนมีหลาย ประเภทตามวัตถุประสงคที่จะใหนักเรียนไดเรียน กลาวคือ ประเภทติวเตอร ประเภทแบบฝกหัด ประเภทการจําลอง ประเภทเกม ประเภทแบบทดสอบซึ่งในแตละประเภทก็มีจุดมุงหมายในการให ความรูแกผูเรียนแตวิธีการที่แตกตางกันไป ขอดีของการใชคอมพิวเตอรชวยสอนคือชวยลดความ แตกตางระหวางผูเรียน เชน ผูที่มีผลการเรียนต่ํา ก็สามารถชดเชยโดยการเรียนจากบทเรียน คอมพิวเตอรชวยสอนได และสําหรับผูมีผลการเรียนสูงก็สามารถเรียนเสริมบทเรียนหรือเรียนลวงหนา กอนที่ผูสอนจะทําการสอนก็ได รูปที่ 1.4 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน (ที่มา: http://www.vcharkarn.com/vblog/35660) บุปผชาติ ทัฬหิกรณ (2544) กลาววา เพื่อใหการพัฒนาสื่อมีประสิทธิภาพมากขึ้น ผูสอนควร พัฒนาคุณลักษณะสื่อใหสามารถเรียนรูไดบนเครือขาย ซึ่งสื่อบนเครือขายเปนสื่อที่มีศักยภาพในการ สื่อสารสูง และรวดเร็วมีลักษณะเปนขอความหลายมิติ (Hypertext) และมีการเชื่อมโยงขอมูลซึ่งกัน และกัน ที่เรียกวา การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) ทําใหผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธกับบุคคลอื่น มีการสื่อสารกันสองทางระหวางผูเรียนกับสื่อการเรียนรู ผูเรียนกับผูเรียน ผูเรียนกับผูสอน และบุคคล อื่นที่เกี่ยวของอีกดวย
  • 11. 4 รูปที่ 1.5 การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) (ที่มา: http://withfriendship.com/user/kethan123/hyperlink.php) รูปที่ 1.6 Cloud Computing การเชื่อมโยงกลุมเมฆ (ที่มา: http://www.uni.net.th/backend/uninews/print.php?name=2012111122) จากความหมายที่หลากหลายของนักการศึกษา สามารถสรุปไดวา การนําสื่อมัลติมีเดียไป ประยุกตใชกับการเรียนการสอนนั้น สิ่งที่สําคัญประกอบดวย ผูเรียน ผูสอน บทเรียน เครื่องมือ และ กระบวนการจัดการเรียนการสอน การพัฒนาสื่อมัลติมีเดีย นอกจากจะตองคํานึงถึงประสิทธิภาพแลว ยังตองประยุกตใหเขากับเหตุการณ สังคมโลก พฤติกรรมผูเรียน การมีปฏิสัมพันธ การโตตอบระหวาง ผูเรียนกับคอมพิวเตอร กลายเปนเครือขายสังคมและการเรียนรู หรือการเชื่อมโยงหลายมิติ
  • 12. 5 1.2 แนวคิดการจัดการเรียนรู 1.2.1 แนวคิดการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ สํานักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ (2542) ไดสรุปแนวคิดการ จัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญวา มีทักษะการแสวงหาความรูและสามารถนํา ความรูไปประยุกตใชในชีวิตจริงได รูปที่ 1.7 การจัดการเรียนรูตามแนวคิดแบบมอนเตสเซอรี่ (ที่มา: http://www.dusitcenter.org/dusitwebs/plan/news.php?id=1973) 1.2.2 หลักการในการจัดการเรียนรูที่ยึดเปนเรียนเปนสําคัญ ประกอบดวย 1.2.2.1 ผูเรียนทุกคนสามารถเรียนรูและพัฒนาได 1.2.2.2 เปาหมายการเรียนรู เพื่อพัฒนาผูเรียนใหเปนมนุษยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม 1.2.2.3 ใหผูเรียนเรียนรูในสิ่งที่มีความหมาย สามารถนําไปใชประโยชนได 1.2.2.4 การเรียนรูเกิดขึ้นไดทุกที ทุกเวลา และตอเนื่องตลอดชีวิต 1.2.2.5 ใหผูเรียน เรียนรูจากการไดคิด ปฏิบัติ และสรุปความดวยตนเอง รูปที่ 1.8 การเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ (ที่มา: http://www.gotoknow.org/posts/412318)
  • 13. 6 1.2.3 วิธีการจัดการเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ ประกอบดวย การศึกษาผูเรียนเปนรายบุคคล เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนา ผูเรียน ใหเต็มศักยภาพ โดยพิจารณาในเรื่องตอไปนี้ 1.2.3.1 วุฒิภาวะทางอารมณ 1.2.3.2 พหุปญญา 1.2.3.3 พัฒนาการและศักยภาพดานตางๆ 1.2.3.4 วิธีการเรียนรูของแตละคน 1.2.3.5 ความสนใจและความถนัด 1.2.3.6 สภาพความเปนอยูและครอบครัว 1.2.3.7 ปญหา ขอจํากัด 1.2.3.8 ความตองการในการพัฒนา รูปที่ 1.9 การเรียนรูจาการจัดกิจกรรมโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ (ที่มา: http://www.gotoknow.org/posts/412318) 1.2.4 การจัดการเรียนรูใหผูเรียนไดพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ มีวิธีการดังตอไปนี้ 1.2.4.1 จัดหลักสูตรที่สนองความตองการ เชื่อมโยงกับชีวิตจริงของผูเรียน 1.2.4.2 ออกแบบการจัดการเรียนรูใหผูเรียนพัฒนาเต็มศักยภาพและใหสอดคลอง กับการเรียน 5 ลักษณะ ประกอบดวย การเรียนรูอยางมีความสุข การ เรียนรูจากการคิดและปฏิบัติจริง การเรียนรูรวมกับบุคคลอื่น การเรียนรู แบบองครวม และการเรียนรูกระบวนการจัดการเรียนรูของตนเอง 1.2.4.3 จัดการเรียนรูใหผูเรียนไดเรียนรูอยางครบวงจร 1.2.4.4 ใชแหลงการเรียนรูที่หลากหลาย เหมาะกับธรรมชาติของผูเรียน 1.2.4.5 ประเมินผูเรียนจากพัฒนาการ พฤติกรรมตามสภาพความจริงดวยวิธีการ และเครื่องมือที่หลากหลาย 1.2.4.6 ใชกระบวนการวิจัยเปนเครื่องมือหนึ่งของกระบวนการเรียนรู 1.2.4.7 จัดการเรียนรูอยางเปนระบบ ดวยรูปแบบ วิธีการ เทคนิคการจัดการเรียน การสอนอยางหลากหลาย เหมาะสมกับผูเรียน
  • 14. 7 1.2.5 รูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ มีดังนี้ 1.2.5.1 การเรียนรูแบบสืบสวนสอบสวน 1.2.5.2 การเรียนรูแบบการใชเหตุผลเชิงจริยธรรม 1.2.5.3 การเรียนรูแบบมีสวนรวม 1.2.5.4 การเรียนรูโดยใชแผนการออกแบบประสบการณ 1.2.5.5 การเรียนรูแบบโครงงาน 1.2.5.6 การเรียนรูการคิดเชิงอุปนัย 1.2.5.7 การเรียนรูแบบคนควาเปนกลุม 1.2.5.8 การเรียนรูแบบความคิดรวบยอด 1.2.5.9 การเรียนรูแบบมุงประสบการณ 1.2.5.10 การเรียนรูโดยการคนพบ 1.2.5.11 การเรียนรูที่บาน รูปที่ 1.10 รูปแบบการเรียนรูแบบโครงงาน (ที่มา: http://www.panaya-kindergarten.com/education_patthanakan.html) 1.3 สื่อการเรียนการสอน ในการจัดการเรียนการสอน สิ่งสําคัญในการสื่อสาร ประกอบดวย ผูสง ผูรับ เนื้อหาบทเรียน (สาร) และชองทางในการสงสาร หรือ สื่อ นั้นเอง การจัดการเรียนการสอนในลักษณะเดิมที่เนนการ บรรยาย การอธิบายใหผูเรียนเขาใจ อาจสรางความเบื่อหนาย จําเจ การนําสื่ออื่น เชน ภาพ แผนภูมิ ขอความ เสียง จึงเปนเครื่องมือที่สําคัญในการดึงดูดความสนใจผูเรียน สื่อการเรียนการสอนในที่นี้จึงหมายถึง เครื่องมือ อุปกรณ หรือเทคโนโลยี ประกอบกับ รูปแบบวิธีการเรียนการสอน ผสานตัวกลางที่ชวยในการนําความรู จากผูสอนหรือแหลงเรียนรู สง ตอไปถึงผูเรียน เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูตามจุดประสงคที่กําหนดไวอยางถูกตองและมี ประสิทธิภาพ
  • 15. 8 การนําสื่อมัลติมีเดียเขามาใชในการเรียนการสอน เกิดจากการนําเนื้อหาบทเรียน เรื่องราว ตาง ๆ ที่จะใชสอนและบรรยายในชั้นเรียน สรางเปนบทเรียนโดยการใชภาพถาย ภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว เสียงบรรยาย และเสียงประกอบ บรรจุลงไปในบทเรียน ผูเรียนสามารถมีปฏิสัมพันธ กับบทเรียน สามารถเลือกเรียนเนื้อหาตามลําดับที่ตนตองการ รูปที่ 1.11 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน (ที่มา: http://www.fanmath.com/about/best-learning-system) รูปที่ 1.12 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน (ที่มา: http://www.fanmath.com/2012/12/fanmath-classroom)
  • 16. 9 1.4 บทบาทและคุณลักษณะสื่อมัลติมีเดีย 1.4.1 บทบาทของสื่อมัลติมีเดียในฐานะคอมพิวเตอรชวยสอน เทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเขามามีบทบาทตอชีวิตประจําวันมากขึ้น สังเกตไดตั้งแตตื่นนอน ตอนเชาจนเขานอนในตอนกลางคืน การใชเครื่องคอมพิวเตอรในสํานักงาน สถานที่ราชการ การ ควบคุมสัญญาไฟจราจร ระบบฐานขอมูล ประวัติการรักษาในโรงพยาบาล และอื่นๆมากมาย เทคโนโลยีสารสนเทศถูกนํามาประยุกตใชอยางแพรหลาย ในวงการการศึกษาก็เชนเดียวกัน มีการนํา เครื่องมือ และเทคโลยีตางๆ มาใช หรือที่คนทั่วไปรูจักคือ เทคโนโลยีทางการศึกษา หรือ นวัตกรรม ทางการศึกษา รูปที่ 1.13 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา (ที่มา: http://pathima0212.blogspot.com) เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา เปนผลของความเจริญในดานตางๆ ซึ่งเกิดจาก การศึกษา คนควา ทดลอง ประดิษฐคิดคนสิ่งตางๆ โดยอาศัยความรูทางวิทยาศาสตร มาประยุกตใช ในการพัฒนาที่เกี่ยวของกับการศึกษา ทั้งนี้พัฒนาการของเทคโนโลยีการศึกษานั้น มีความยาวนาน ตั้งแตสมัยของชาวกรีก แตไมวาจะยุคใดสมัยใด สิ่งที่เปนสวนสําคัญของเทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง การศึกษา ก็คือ สื่อการสอนนั้นเอง สื่อเพื่อการศึกษาสมัยใหมมีความหลากหลายและนาสนใจ หนึ่งในนั้นคือ สื่อมัลติมีเดีย หรือ สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา หมายถึง รูปแบบ หรือ โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ออกแบบสําหรับใชในการ เรียนการสอน โดยผูออกแบบ หรือกลุมพัฒนาไดบูรณาการเอาขอมูลตาง ๆ เชน ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง วิดีโอ และขอความ รวมเขาเปนองคประกอบ เพื่อสื่อสาร และสราง ประสบการณ เพื่อใหเกิดการเรียนรูมีประสิทธิภาพนั่นเอง
  • 17. 10 1.4.2 บทบาทของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา มี 2 ประเภท ดังนี้ 1.4.2.1 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอขอมูล นักจิตวิทยาที่มีชื่อเสียงที่สุดในกลุมนี้คือ สกินเนอร (B.F. Skinner) เชื่อวา การเรียนรูของ มนุษยเปนสิ่งที่สามารถสังเกตไดจากพฤติกรรมภายนอก และเชื่อในทฤษฎีการวางเงื่อนไข โดยมี แนวคิดเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งเรา และการตอบสนอง การใหการเสริมแรง ทฤษฎีนี้เชื่อวา การเรียนรูเกิดจากการที่มนุษยตอบสนองตอสิ่งเรา และพฤติกรรมการตอบสนองจะเขมขนขึ้นหาก ไดรับการเสริมแรงที่เหมาะสม เปนโปรแกรมคอมพิวเตอรที่ออกแบบ เพื่อใชในการนําเสนอขอมูลสื่อ มัลติมีเดียเพื่อการศึกษา โดยใชคอมพิวเตอรรวมเปนฐานในการนําเสนอขอมูลดวย เชน ควบคุมการ เสนอภาพสไลดมัลติวิชั่น ควบคุมการนําเสนอในรูปแบบของวิดีโอเชิงโตตอบ (Interactive Video) และเครื่องเลนซีดี-รอม ใหเสนอภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหว ตามเนื้อหาบทเรียนที่ปรากฏอยูบน จอคอมพิวเตอร สวนใหญจะอยูในรูปการสื่อสารทางเดียว รูปที่ 1.14 ตัวอยางสื่อมัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอขอมูล (ที่มา: http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/sproject/kit/index.html) 1.4.2.2 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง หรือแหลงเรียนรู หมายถึง โปรแกรมคอมพิวเตอรที่ ออกแบบ โดยใชคอมพิวเตอรเปนฐานในการผลิตแฟมสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา และนําเสนอแฟมที่ ผลิตแลวแกผูศึกษา ผูศึกษาก็เพียงแตเปดแฟมเพื่อเรียน หรือใชงาน ตามที่โปรแกรมสําเร็จรูปกําหนด ไว ก็จะไดเนื้อหาลักษณะตาง ๆ อยางครบถวน โดยการนําเสนอขอมูลของสื่อมัลติมีเดียนี้ จะเปนไปใน ลักษณะสื่อมัลติมีเดียเชิงปฎิสัมพันธ (Interactive)
  • 18. 11 รูปที่ 1.15 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง (ที่มา: http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=92706) 1.4.3 ลักษณะของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา แบงเปน 3 ลักษณะ 1.4.3.1 คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI ) คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction : CAI ) เปนสื่อมัลติมีเดียที่เนน การใชงานในเครื่องเดี่ยว (Stand Alone) โดยมีการออกแบบใหมีกิจกรรมในรูปแบบตาง ๆ ที่เนน ให ผูเรียนมีปฏิสัมพันธ (Interaction) กับบทเรียน พรอมทั้งไดรับผลยอนกลับ (Feedback) อยาง ทันทีทันใด รวมทั้งสามารถประเมิน และตรวจสอบความเขาใจของผูเรียนไดตลอดเวลา โดยมี เปาหมายสําคัญ ในการเปนบทเรียนที่ชวยใหผูเรียน เกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถ ดึงดูดความสนใจของผูเรียน และกระตุนใหผูเรียนอยากเรียนรูซึ่งสวนใหญแลวรูปแบบการเรียนนี้ มักจะไดรับการบันทึกไวบนแผนซีดีรอม รูปที่ 1.16 คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI) (ที่มา: http://www.cai-dd.com)
  • 19. 12 1.4.3.2 การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย (Web Based Instruction : WBI) การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย หรือการสอนบนเว็บ (Web Based Instruction : WBI) เปนสื่อมัลติมีเดียที่เนนการใชงานในระบบเครือขายอินเทอรเน็ต หรืออินทราเน็ต เปนการ ผสมผสานระหวางเทคโนโลยีกับกระบวนการออกแบบการเรียนการสอน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ ทางการเรียนรู และแกปญหาในเรื่องขอจํากัดดานสถานที่และเวลา โดยการสอนบนเว็บจะประยุกตใช คุณสมบัติและทรัพยากรของเวิลด ไวด เว็บ ในการจัดการสภาพแวดลอมที่สงเสริมและสนับสนุนการ เรียนการสอน ซึ่งการเรียนการสอนที่จัดผานเว็บนี้ อาจเปนบางสวนหรือทั้งหมดของกระบวนการเรียน การสอนก็ได รูปที่ 1.17 การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย หรือการสอนบนเว็บ (ที่มา: https://www.khanacademy.org) 1.4.3.3 E–Learning E–Learning คือ การเรียนการสอนในลักษณะ หรือรูปแบบใดก็ได ซึ่งใชการถายทอดเนื้อหา ผานทางอุปกรณอิเล็กทรอนิกส ไมวาจะเปน คอมพิวเตอร เครือขายอินเทอรเน็ต อินทราเน็ต เอ็กซทราเน็ต หรือ ทางสัญญาณโทรทัศน หรือ สัญญาณดาวเทียม (Satellite) ก็ได ซึ่งเนื้อหา สารสนเทศอาจอยูในรูปแบบการเรียนที่เราคุนเคยกันมาพอสมควร เชน คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer-Assisted Instruction) การสอนบนเว็บ (Web-Based Instruction) การเรียนออนไลน (On-line Learning) การเรียนทางไกลผานดาวเทียม หรือ อาจอยูในลักษณะที่ยังไมคอยเปนที่ แพรหลายนัก เชน การเรียนจากวิดีทัศน ตามอัธยาศัย (Video On-Demand) เปนตน
  • 20. 13 รูปที่ 1.18 ระบบ E-Leaning มหาวิทยาลัยพะเยา (ที่มา: http://www.lms.up.ac.th) ในปจจุบันคนสวนใหญเมื่อกลาวถึง e-Learning จะหมายเฉพาะถึงการเรียนเนื้อหาหรือ สารสนเทศ ซึ่งออกแบบมาสําหรับการสอนหรือการอบรม ซึ่งใชเทคโนโลยีของเว็บ (Web Technology) ในการถายทอดเนื้อหา และเทคโนโลยีระบบการจัดการคอรส (Course Management System) ในการบริหารจัดการงานสอนดานตางๆ โดยผูเรียนที่เรียนจาก e-Learning นี้สามารถศึกษาเนื้อหาในลักษณะออนไลน หรือจากแผนซีดี-รอม ก็ได นอกจากนี้ เนื้อหาสารสนเทศ ของ e-Learning สามารถนําเสนอโดยอาศัยเทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) และ เทคโนโลยีเชิงโตตอบ (Interactive Technology)
  • 21. 14 1.4.4 คุณลักษณะของสื่อมัลติมีเดีย คุณลักษณะสําคัญ 4 ประการของสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเองที่สมบูรณ ไดแก 1.4.4.1 สารสนเทศ (Information) สารสนเทศ (Information) หมายถึง เนื้อหาสาระ (content) ที่ไดรับการเรียบเรียงแลวเปน อยางดี ซึ่งทําใหผูเรียนเกิดการเรียนรูหรือไดรับทักษะอยางหนึ่งอยางใดที่ผูสรางไดกําหนดวัตถุประสงค ไว โดยอาจจะนําเสนอเนื้อหาในลักษณะทางตรงหรือทางออมก็ได รูปที่ 1.19 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology) (ที่มา: http://www.123rf.com/photo_11983586) 1.4.4.2 ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) ความแตกตางระหวางบุคคล (Individualization) การตอบสนองความแตกตางระหวาง บุคคลทั้งจากบุคลิกภาพ สติปญญา ความสนใจ พื้นฐานความรู คือลักษณะสําคัญของคอมพิวเตอร ชวยสอน โดยผูเรียนจะมีอิสระในการควบคุมการเรียนของตนเอง รวมทั้งการเลือกรูปแบบที่เหมาะสม กับตนเองได เชน สามารถควบคุมเนื้อหา ควบคุมลําดับของการเรียน ควบคุมการฝกปฏิบัติ หรือการ ทดสอบ เปนตน 1.4.4.3 การมีปฏิสัมพันธ (Interaction) เนื่องจากผูเรียนจะเกิดการเรียนรูไดอยางมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น หากไดมีการโตตอบหรือ ปฏิสัมพันธกับผูสอน ดังนั้น สื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษาที่ออกแบบมาเปนอยางดีจะเอื้ออํานวยใหเกิด การโตตอบระหวางผูเรียนกับคอมพิวเตอรชวยสอนอยางตอเนื่องและตลอดทั้งบทเรียน การอนุญาตให ผูเรียนเพียงแตคลิ๊กเปลี่ยนหนาจอไปเรื่อยๆทีละหนา ไมถือวาเปนปฏิสัมพันธที่เพียพอสําหรับการ เรียนรู แตตองมีการใหผูเรียนไดใชเวลาในสนของการคิดวิเคราะหและสรางสรรคเพื่อใหไดมาซึ่ง กิจกรรมการเรียนนั้นๆ
  • 22. 15 รูปที่ 1.20 การมีปฏิสัมพันธตอผูเรียน (ที่มา: http://www.thehindu.com/metroplus/bridging-the-divide/article5003379.ece) 1.4.4.4 ผลปอนกลับโดยทันที (Immediate Feedback) การใหผลปอนกลับนี้เปนสิ่งที่ทําใหคอมพิวเตอรชวยสอนแตกตางไปจากมัลติมีเดีย-ซีดีรอม สวนใหญ ซึ่งไดมีการนําเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับเรื่องราวของสิ่งตางๆ แตไมไดมีการประเมินความเขาใจ ของผูเรียน ไมวาจะอยูในรูปแบบของการทดสอบ แบบฝกหัด หรือการตรวจสอบความเขาใจใน รูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง จึงทําใหมัลติมีเดีย-ซีดีรอมเหลานั้น ถูกจัดวาเปน มัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอ ขอมูล (Presentation Media) ไมใชคอมพิวเตอรชวยสอน รูปที่ 1.21 การเสริมแรงผูเรียนโดยการใหผลปอนกลับโดยทันที (ที่มา: http://yesican-specializedacademicsupport.blogspot.com/2013/11)
  • 23. 16 เอกสารอางอิง กิดานันท มลิทอง. (2548). ไอซีทีเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ. คณะกรรมการการประถมศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2542). กลุมพลังการเรียนแบบรวมมือ. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา ลาดพราว. คณะกรรมการการศึกษาแหงชาติ, สํานักงาน. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. กรุงเทพมหานคร : สํานัก นายกรัฐมนตรี. ดิเรก ธีระภูธร. (2545). การใชคอมพิวเตอรในวงการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ ถนอมพร เลาหจรัสแสง.(2550). รายงานวิจัยเรื่องการบูรณาการเทคโนโลยี e-Learning ประเภท เกมในชั้นเรียน. สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2545). Design e-Learning: หลักการออกแบบและการสรางเว็บเพื่อ การเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร : อรุณการพิมพ. ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2543). คอมพิวเตอรชวยสอน. กรุงเทพมหานคร : วงศกมลโพรดักชั่น. ทิศนา แขมมณี. (2546). รูปแบบการเรียนการสอน : ทางเลือกที่หลากหลาย. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. บุปผชาติ ทัฬหิกรณ และคณะ. (2544). ความรูเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ศูนยพัฒนาหนังสือ พิสุทธา อารีราษฎร. (2551). การพัฒนาซอฟแวรทางการศึกษา. มหาสารคาม : อภิชาตการพิมพ ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุคสพับลิเคชั่นส. อางอิงรูปภาพ รูปที่ 1.1 สวนประกอบของสื่อมัลติมีเดีย, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://fungbintwo.blogspot.com/2009/11/multimedia.html) รูปที่ 1.2 สื่อมัลติมีเดีย, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://jatupo5604music.blogspot .com) รูปที่ 1.3 สื่อมัลติมีเดียสมัยใหม, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://mindcater.com/new-hi-technical-computer-technology-2014) รูปที่ 1.4 บทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.vcharkarn. com/vblog/3566) รูปที่ 1.5 การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hyperlink) , สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://withfriendship.com/user/kethan123/hyperlink.php) รูปที่ 1.6 Cloud Computing การเชื่อมโยงกลุมเมฆ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.uni.net.th/backend/uninews/print.php?name=2012111122) รูปที่ 1.7 การจัดการเรียนรูตามแนวคิดแบบมอนเตสเซอรี่, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.dusitcenter.org/dusitwebs/plan/news.php?id=1973)
  • 24. 17 อางอิงรูปภาพ รูปที่ 1.8 การเรียนรูที่ยึดผูเรียนเปนสําคัญ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.gotoknow.org/posts/412318) รูปที่ 1.9 การเรียนรูจาการจัดกิจกรรมโดยยึดผูเรียนเปนสําคัญ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.gotoknow.org/posts/412318) รูปที่ 1.10 รูปแบบการเรียนรูแบบโครงงาน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.panaya-kindergarten.com/education_patthanakan.html) รูปที่ 1.11 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.fanmath.com/about/best-learning-system) รูปที่ 1.12 ตัวอยางการนําสื่อมัลติมีเดียมาใชในการเรียนการสอน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.fanmath.com/2012/12/fanmath-classroom) รูปที่ 1.13 เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://pathima0212.blogspot.com) รูปที่ 1.14 ตัวอยางสื่อมัลติมีเดียเพื่อการนําเสนอขอมูล, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/sproject/kit/index.html) รูปที่ 1.15 สื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนรูดวยตนเอง, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=92706) รูปที่ 1.16 คอมพิวเตอรชวยสอน (Computer Assisted Instruction: CAI), สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.cai-dd.com) รูปที่ 1.17 การเรียนการสอนผานระบบเครือขาย หรือการสอนบนเว็บ, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (https://www.khanacademy.org) รูปที่ 1.18 ระบบ E-Leaning มหาวิทยาลัยพะเยา, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.lms.up.ac.th) รูปที่ 1.19 เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology), สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.123rf.com/photo_11983586) รูปที่ 1.20 การมีปฏิสัมพันธตอผูเรียน, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://www.thehindu.com/metroplus/bridging-the- divide/article5003379.ece) รูปที่ 1.21 การเสริมแรงผูเรียนโดยการใหผลปอนกลับโดยทันที, สืบคนเมื่อ 30 ธันวาคม 2556, จาก (http://yesican-specializedacademicsupport.blogspot.com/2013/11)
  • 25. 18
  • 26. บทที่ 2 หลักการและการออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ ในการพัฒนาสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธใหมีคุณภาพและประสิทธิภาพ จําเปนอยางยิ่งที่ ตองศึกษาหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวของ เพื่อใหสื่อมีความถูกตอง สอดคลองและตอเนื่อง การอาศัย ความรูเฉพาะดาน ทฤษฎีทางจิตวิทยา รูปแบบการเรียนรู ลักษณะเฉพาะของสื่อมัลติมีเดีย และทฤษฎี ที่นักการศึกษายอมรับ จะเปนสวนสําคัญที่ทําใหสื่อมัลติมีเดียมีความนาสนใจตอผูเรียน นอกจากนั้นการพัฒนาสื่อการเรียนรู โดยไรแนวทางหรือหลักการ ทําใหการวางแผน ระยะเวลาในการพัฒนาคลาดเคลื่อน หรือ ผิดพลาด อีกทั้งผลกระทบจากผลลัพธที่ไมเปนไปตาม วัตถุประสงคที่กําหนด อาจกอใหเกิดปญหากับผูเรียน อยางไรก็ตามกระบวนการพัฒนาสื่อการเรียนรู สามารถปรับปรุงแกไขได หากมีการวางโครงการหรือออกแบบสื่อไวอยางถูกตอง 2.1 ทฤษฏีเกี่ยวกับสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ 2.1.1 ทฤษฎีการสื่อสาร การสื่อสาร หรือ การสื่อความหมาย (Communication) หมายถึง การถายทอดเรื่องราว การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การแสดงออกของความคิดและความรูสึก เพื่อการติดตอสื่อสารขอมูลซึ่ง กันและกัน (กิดานันท มลิทอง, 2540) รูปแบบของการสื่อสาร แบงไดเปน 2 รูปแบบ คือ 2.1.1.1 การสื่อสารทางเดียว (One-Way Communication) การสื่อสารทางเดียวเปนการสงสารหรือสื่อความหมายไปยังผูรับเพียงฝายเดียว โดยที่ผูรับไม สามารถตอบสนองทันที (Immediate Response) กับผูสง แตอาจจะมีผลปอนกลับไปยังผูสงใน ภายหลังได การสื่อสารในรูปแบบนี้จึงเปนการที่ผูสงและผูรับไมสามารถมีปฏิสัมพันธแบบทันที 2.1.1.2 การสื่อสารสองทาง (Two-Way Communication) การสื่อสารสองทางเปนการสื่อสารหรือการสื่อความหมายที่ผูรับมีโอกาสตอบสนองมายังผูสง ไดในทันที โดยที่ผูสงและผูรับอาจจะอยูตอหนากันหรืออาจอยูคนละสถานที่ก็ได แตทั้งสองฝายจะ สามารถมีการเจรจาหรือการโตตอบกันไปมา โดยที่ตางฝายตางผลัดกันทําหนาที่เปนทั้งผูสงและผูรับ ในเวลาเดียวกัน ดังนั้น ในการที่จะเกิดการเรียนรูขึ้นไดนี้ พบวาตองอาศัยกระบวนการของการสื่อสารใน รูปแบบของการสื่อสารทางเดียวและสองทาง ในลักษณะของการใหสิ่งเราเพื่อกระตุนใหผูเรียนมีการ แปลความหมายของเนื้อหาบทเรียน และใหมีการตอบสนองเพื่อเกิดเปนการเรียนรู ลักษณะของสิ่งเรา และการตอบสนองในการสื่อสาร หมายถึง การที่ผูสอนใหสิ่งเราหรือสงแรงกระตุนไปยังผูเรียนเพื่อให ผูเรียนมีการตอบสนองออกมา โดยผูสอนอาจใชสื่อโสตทัศนูปกรณตาง ๆ เชน คอมพิวเตอร เปนผูสง เนื้อหาบทเรียน สวนการตอบสนองของผูเรียน ไดแก คําพูด การเขียน รวมถึงกระบวนการทางดาน ความคิด การเรียนรู ซึ่งอาศัยรูปแบบการสื่อสารที่เกี่ยวของกับการแปลความหมาย และการ ตอบสนอง
  • 27. 20 2.1.2 ทฤษฎีการเรียนรูพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) พฤติกรรมนิยมมองผูเรียนเหมือนกับกระดาษที่วางเปลา ผูสอนเตรียมประสบการณใหกับ ผูเรียน เพื่อสรางประสบการณใหมใหผูเรียน อาจกระทําซ้ําจนกลายเปนพฤติกรรม ผูเรียนทําในสิ่งที่ พวกเขาไดรับฟง 2.1.3 ทฤษฎีการเรียนรูปญญานิยม (Cognitivism) ปญญานิยมอยูบนฐานของกระบวนการคิดกอน แสดงพฤติกรรม การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม ที่จะถูกสังเกต สิ่งเหลานั้น มันก็เปนเพียงแตการบงชี้วาสิ่งนี้กําลังดําเนินตอไปในสมองของผูเรียน ทักษะใหมๆ ที่สะทอนสงออกมาเปนกระบวนการประมวลผลขอมูลทางสติปญญา 2.1.4 ทฤษฎีการสรางองคความรูดวยปญญา หรือ พุทธิปญญานิยม (Constructivism) การสรางสรรคความรูดวยปญญาอยูบนฐานของ การอางอิงหลักฐานในสิ่งที่พวกเราสรางขึ้น แสดงใหปรากฏแกสายตาของ เราดวยตัวของเราเอง และอยูบนฐานประสบการณของแตละบุคคล องคความรูจะถูกสรางขึ้นโดยผูเรียน และโดยเหตุผลที่ทุกคนตางมีชุดของประสบการณตางๆ ของการ เรียนรูจึงมีลักษณะเฉพาะตน และมี ความแตกตางกันไปในแตละคน ทั้งสามทฤษฏีตางมีความสําคัญเทาเทียมกัน เมื่อไดการตัดสินใจที่จะใชยุทธศาสตรนี้ มีสิ่งที่ สําคัญและจําเปนที่สุดของชีวิตที่ตองพิจารณาทั้งสองระดับ คือ ระดับองคความรูของนักเรียนของทาน และระดับการประมวลผลทางสติปญญาที่ ตองการในผลงานหรือภาระงานแหงการเรียนรู ระดับการ ประมวลผลทางสติปญญาที่ ตองการสรางผลงาน/ภาระงาน และระดับความชํานิชํานาญของนักเรียน ของเรานี้ การมองหาภาพทางทฤษฎี จะมีความเปนไปไดที่สนับสนุนการมีความ พยายามที่จะเรียนรู ทางยุทธวิธีบางทีก็มีความซับซอนและมีความเลื่อมล้ํากันอยูบาง และก็มีความจําเปนเหมือนๆ กัน ใน การวบรวมยุทธวิธีตาง ๆ จากความแตกตางที่เปนจริง ทางทฤษฎี เมื่อเรามีความตองการ 2.1.5 ทฤษฎีการเรียนรูของกาเย (Gagne) กาเยไดนําเอาแนวความคิดมาใชในการเรียนการสอนโดยยึดหลักการนําเสนอเนื้อหาและจัด กิจกรรมการเรียนรูจากการมีปฏิสัมพันธ ดังนี้ 2.1.5.1 เรงเราความสนใจ (Gain Attention) กระตุนหรือเราใหผูเรียนเกิดความสนใจกับบทเรียนและเนื้อหาที่จะเรียนการเราความสนใจ ผูเรียนนี้อาจทําไดโดย การจัดสภาพแวดลอมใหดึงดูดความสนใจ เชน การใชภาพกราฟก ภาพเคลื่อนไหว และ/หรือการใชเสียงประกอบบทเรียนในสวนบทนํา 2.1.5.2 บอกวัตถุประสงค (Specify Objective) การบอกวัตถุประสงคเปนการแจงใหผูเรียนทราบถึงจุดประสงคของบทเรียนนี้มีความสําคัญ เปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะการเรียนการสอนบนเว็บที่ผูเรียนสามารถควบคุมการเรียนของตนเองไดโดย การเลือกศึกษาเนื้อหาที่ตองการศึกษาไดเอง ดังนั้นการที่ผูเรียนไดทราบถึงจุดประสงคของบทเรียน ลวงหนาทําใหผูเรียนสามารถมุงความสนใจไปที่เนื้อหาบทเรียนที่เกี่ยวของ อีกทั้งยังสามารถเลือก
  • 28. 21 ศึกษาเนื้อหาเฉพาะที่ตนยังขาดความเขาใจที่จะชวยทําใหผูเรียนมีความรูความสามารถตรงตาม จุดประสงคของบทเรียนที่ไดกําหนดไว 2.1.5.3 ทบทวนความรูเดิม (Activate Prior Knowledge) การทบทวนความรูเดิมชวยกระตุนใหผูเรียนสามารถเรียนรูเนื้อหาใหมไดรวดเร็วยิ่งขึ้น รูปแบบการทบทวนความรูเดิมในบทเรียนบนเว็บทําไดหลายวิธี เชน กิจกรรมการถาม-ตอบคําถาม หรือการแบงกลุมใหผูเรียนอภิปรายหรือสรุปเนื้อหาที่ไดเคยเรียนมาแลว เปนตน 2.1.5.4 นําเสนอเนื้อหาใหม (Present New Information) การนําเสนอบทเรียนบนเว็บสามารถทําไดหลายรูปแบบดวยกัน คือ การนําเสนอดวยขอความ รูปภาพ เสียง วีดิทัศน สิ่งสําคัญที่ผูสอนควรใหความสําคัญก็คือผูเรียน ผูสอนควรพิจารณาลักษณะของ ผูเรียนเปนสําคัญเพื่อใหการนําเสนอบทเรียนเหมาะสมกับผูเรียนมากที่สุด 2.1.5.5 ชี้แนะแนวทางการเรียนรู (Guide Learning) การชี้แนวทางการเรียนรู หมายถึง การชี้แนะใหผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดเรียนใหม ผสมผสานกับความรูเกาที่เคยไดเรียนไปแลว เพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรูที่รวดเร็วและมีความแมนยํา มากยิ่งขึ้น 2.1.5.6 กระตุนการตอบสนองบทเรียน (Elicit Response) นักการศึกษาตางทราบดีวาการเรียนรูเกิดขึ้นจากการที่ผูเรียนไดมีโอกาสมีสวนรวมใน กระบวนการเรียนการสอนโดยตรง ดังนั้นในการจัดการเรียนการสอนบนเว็บจึงควรเปดโอกาสให ผูเรียนมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียน ซึ่งอาจทําไดโดยการจัดกิจกรรมการสนทนาออนไลนรูปแบบ Synchronous หรือการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผานเว็บบอรดในรูปแบบ Asynchronous เปนตน 2.1.5.7 ใหขอมูลยอนกลับ (Provide Feedback) ลักษณะเดนของการเรียนการสอนบนเว็บ คือ การที่ผูสอนสามารถติดตอสื่อสารกับผูเรียนได โดยตรง เนื่องจากบทบาทของผูสอนนั้นเปลี่ยนจากการเปนผูถายทอดความรู มาเปนผูใหคําแนะนํา และชวยกํากับการเรียนของผูเรียนรายบุคคล และดวยความสามารถของอินเทอรเน็ตที่ทําใหผูเรียน และผูสอนสามารถติดตอกันไดตลอดเวลา ทําใหผูสอนสามารถติดตามกาวหนาและสามารถใหผล ยอนกลับแกผูเรียนแตละคนไดดวยความสะดวก 2.1.5.8 ทดสอบความรูใหม (Assess Performance) การทดสอบความรูความสามารถผูเรียนเปนขั้นตอนที่สําคัญอีกขั้นตอนหนึ่ง เพราะทําใหทั้ง ผูเรียนและผูสอนไดทราบถึงระดับความรูความเขาใจที่ผูเรียนมีตอเนื้อหาในบทเรียนนั้นๆ การทดสอบ ความรูในบทเรียนบนเว็บสามารถทําไดหลายรูปแบบ ไมวาจะเปนขอสอบแบบปรนัยหรืออัตนัย การ จัดทํากิจกรรมการอภิปรายกลุมใหญหรือกลุมยอยเปนตน ซึ่งการทดสอบนี้ผูเรียนสามารถทําการ ทดสอบบนเว็บผานระบบเครือขายได 2.1.5.9 สรุปและนําไปใช (Review and Transfer) การสรุปและนําไปใช จัดวาเปนสวนสําคัญในขั้นตอนสุดทายที่บทเรียนจะตองสรุปมโนคติของ เนื้อหาเฉพาะประเด็นสําคัญ ๆ รวมทั้งขอเสนอแนะตาง ๆ เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียนไดมีโอกาสทบทวน ความรูของตนเองหลังจากศึกษาเนื้อหาผานมาแลว ในขณะเดียวกันบทเรียนตองชี้แนะเนื้อหาที่
  • 29. 22 เกี่ยวของหรือใหขอมูลอางอิงเพิ่มเติม เพื่อแนะแนวทางใหผูเรียนไดศึกษาตอในบทเรียนถัดไปหรือ นําไปประยุกตใชกับงานอื่นตอไป รูปที่ 2.1 ทฤษฎีการเรียนรูของกาเย (ที่มา: http://teacher80std.blogspot.com/2012/06/101-learning-ecology.html) 2.2 องคประกอบที่สําคัญที่กอใหเกิดการเรียนรู 2.2.1 ผูเรียน ( Learner) มีระบบสัมผัสและระบบประสาทในการรับรู 2.2.2 สิ่งเรา ( Stimulus) คือ สถานการณตางๆ ที่เปนสิ่งเราใหผูเรียนเกิดการเรียนรู 2.2.3 การตอบสนอง (Response) คือ พฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู 2.2.4 การสอนดวยสื่อตามแนวคิดของกาเย 2.2.5 เราความสนใจ มีโปรแกรมที่กระตุนความสนใจของผูเรียน เชน ใช การตูน หรือ กราฟกที่ดึงดูดสายตา 2.2.6 ความอยากรูอยากเห็นจะเปนแรงจูงใจใหผูเรียนสนใจในบทเรียน การตั้งคําถามก็ เปนอีกสิ่งหนึ่ง 2.2.7 บอกวัตถุประสงค ผูเรียนควรทราบถึงวัตถุประสงค ใหผูเรียนสนใจในบทเรียน เพื่อใหทราบวาบทเรียนเกี่ยวกับอะไร 2.2.8 กระตุนความจําผูเรียน สรางความสัมพันธในการโยงขอมูลกับความรูที่มีอยูกอน เพราะสิ่งนี้สามารถทําใหเกิดความทรงจําในระยะยาวไดเมื่อไดโยงถึงประสบการณ ผูเรียน โดยการตั้งคําถาม เกี่ยวกับแนวคิด หรือเนื้อหานั้นๆ
  • 30. 23 2.2.9 เสนอเนื้อหา ขั้นตอนนี้จะเปนการอธิบายเนื้อหาใหกับผูเรียน โดยใชสื่อชนิดตางๆ ในรูป กราฟก หรือ เสียง วิดีโอ 2.2.10 การยกตัวอยาง การยกตัวอยางสามารถทําไดโดยยกกรณีศึกษา การเปรียบเทียบ เพื่อใหเขาใจไดซาบซึ้ง 2.2.11 การฝกปฏิบัติ เพื่อใหเกิดทักษะหรือพฤติกรรม เปนการวัดความเขาใจวาผูเรียนได เรียนถูกตอง เพื่อใหเกิดการอธิบายซ้ําเมื่อรับสิ่งที่ผิด 2.2.12 การใหคําแนะนําเพิ่มเติม เชน การทําแบบฝกหัด โดยมีคําแนะนํา 2.2.13 การสอบ เพื่อวัดระดับความเขาใจ 2.2.14 การนําไปใช กับงานที่ทําในการทําสื่อควรมี เนื้อหาเพิ่มเติม หรือหัวขอตางๆ ที่ควร จะรูเพิ่มเติม 2.3 การออกแบบสื่อมัลติมีเดียแบบมีปฏิสัมพันธ การออกแบบสื่อมัลติมีเดียเพื่อการเรียนการสอน โดยใหเนนการผสมผสานของกราฟก สี ภาพ เคลื่อนไหว การเปรียบเทียบการใหตัวอยางที่เปนรูปธรรม การใหขอมูลปอนกลับที่เปนภาพ ขั้นตอนการออกแบบนี้ถูกดัดแปลงมาจากกระบวนการเรียนรู 9 ขั้นของกาเย บริกส และ แวกเนอร ดังนี้ 2.3.1 การเราความสนใจใหพรอมที่จะเรียน (Gain Attention) กอนที่จะเริ่มเรียนมีความจาเปนอยางยิ่งที่ผูเรียนควรจะไดรับแรงกระตุนและจูงใจใหอยากที่ จะเรียน ทาไดโดยการใชภาพ สี เสียงประกอบ ในการสรางไตเติล (Title) ใช กราฟกขนาดใหญ งาย ไมซับซอน มีการเคลื่อนไหวที่สั้นและงาย ใชสีและเสียง เขาชวยใหสอดคลองกับกราฟก ภาพควรคาง อยูที่จอภาพจนกวาผูเรียนจะเปลี่ยนภาพ ในกราฟกควรบอกชื่อเรื่องที่จะเรียน แสดงผลบนจอไดเร็ว และควรเหมาะกับวัยของผูเรียนดวย 2.3.2 วัตถุประสงคของการเรียน (Specify Objective ) การบอกวัตถุประสงค ของการเรียนในสื่อมัลติมีเดียเพื่อการศึกษานั้น เพื่อใหผูเรียนรูลวงหนา ถึงประเด็น สาคัญของเนื้อหา และเคาโครงเนื้อหาอยางกวางๆ เพื่อใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพ การ บอกวัตถุประสงคนั้นทาไดหลายแบบ อาจบอกเปนวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรมหรือวัตถุประสงคทั่วไป ซึ่งจะตองคานึงดวยวาควรใชถอยคางาย หลีกเลี่ยงคา ที่ยังไมเปนที่รูจักและเขาใจโดยทั่วไป ไมควรกา หนดวัตถุประสงคหลายขอเกินไป ถาเปน บทเรียนใหญมีวัตถุประสงคกวางๆ ควรตอดวยเมนู (Menu) แลวจึงมีวัตถุประสงคยอย ปรากฏบนจอ ทีละขอ โดยใชกราฟกงายๆ และการเคลื่อนไหวเขาชวย 2.3.3 ทบทวนความรูเดิม (Active Prior Knowledge) กอนที่จะใหความรูใหม แกผูเรียน ซึ่งในสวนของเนื้อหาและแนวความคิดนั้นๆ ผูเรียนอาจไมมี พื้นฐานมากอน มีความจาเปนอยางยิ่งที่ผูออกแบบโปรแกรมควรจะตองหาวิธีการประเมินความรูเดิม ในสวนที่จาเปนกอนที่จะรับความรูใหม นอกจากจะเปนการเตรียมผูเรียน ใหพรอม ที่จะรับความรูใหม