SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  94
Télécharger pour lire hors ligne
Ppt.ha
Ppt.ha
• Hospital Accreditation (HA)
– เป็นเสมือนกระบวนการส่องกระจก
– เพื่อการตรวจสอบและปรับปรุงตนเองของสถานพยาบาล
– อาศัยมาตรฐานและมุมมองของเพื่อนจากภายนอก (external
peer) เป็นเครื่องช่วยกระตุ้น
– มีการรับรองเป็นแรงจูงใจ
• มุ่งเน้นว่า HA เป็นกระบวนการเรียนรู้ มิใช่การตรวจสอบ
• มีการบูรณาการแนวคิดและข้อกําหนดต่างๆ เข้าด้วยกัน เช่น
– การสร้างเสริมสุขภาพ
– การบริหารองค์กรสู่ความเป็นเลิศตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
– การส่งเสริมให้นํามิติด้านจิตวิญญาณมาใช้ในการให้บริการที่มี
คุณภาพ
– ส่งเสริมการพัฒนาเป็นลําดับขั้น
– ส่งเสริมเครือข่ายที่ช่วยเหลือกันและกัน
• มีทิศทางในการพัฒนา เรียนรู้ ไม่หลงทาง สู่เป้าหมายที่ต้องการ
• องค์กรที่จะเข้าถึงคุณภาพแบบHA และได้ประโยชน์จากการใช้ HA
มากที่สุด
HA ไม่ใช่เป้าหมาย แต่เป็นเครื่องมือ
แผนที่เดินทาง หรือเข็มทิศ
 การมีมาตรฐานโรงพยาบาลที่ใช้เป็นกติการ่วมกัน เป็นมาตรฐานเชิง
ระบบที่ส่งเสริมการพัฒนา
 การที่โรงพยาบาลใช้มาตรฐานเพื่อการประเมินและพัฒนาตนเอง อย่าง
สอดคล้องกับบริบทของตน และมีหลักคิดหรือ core values ที่เหมาะสม
กํากับ
 การประเมินจากภายนอกในลักษณะของกัลยาณมิตร เพื่อยืนยันผลการ
ประเมินตนเอง เพื่อช่วยค้นหาจุดบอดที่ทีมงานมองไม่เป็น และเพื่อ
กระตุ้นให้เกิดมุมมองที่กว้างขวางขึ้น
 การยกย่องชื่นชมด้วยการมอบประกาศนียบัตรรับรอง หรือการมอบ
กิตติกรรมประกาศในความสําเร็จ
• ทํา HA เพื่อคุณภาพ มิได้มุ่งหวังแค่ใบรับรอง
• มีพลังสามัคคีสามประสาน คือ ผู้นํา ผู้หล่อเลี้ยง (facilitator)
ผู้ปฏิบัติ
• มีอิสระที่จะพัฒนาตามบริบทของตนเอง
• เน้นการเรียนรู้ผ่านการลงมือทําและใคร่ครวญในผลที่เกิดขึ้น
• ใช้มุมมองเชิงระบบมองอย่างเป็นองค์รวมและเห็นความสัมพันธ์ของ
องค์ประกอบต่างๆ ในระบบ/องค์กร
Ppt.ha
• Spirituality ฐานด้านจิตวิญญาณ:
– ใคร่ครวญความหมายและคุณค่าในทุกสิ่งที่ทําหรือผ่านเข้ามา
– นึกถึงช่วงเวลาที่เราดูแลผู้ป่วยด้วยจิตใจที่อ่อนโยนที่สุดและน้อม
นําเข้ามาอยู่ในจิตใจของเราบ่อยๆ
– ฝึกอยู่กับปัจจุบันและแบ่งปันพลังบวกให้ผู้ป่ วย
• Science ฐานด้านความรู้และวิชาการ:
– ทบทวนว่าเราและเพื่อนของเราสะสมความรู้เชิงปฏิบัติอะไรไว้บ้าง
มีการแบ่งปันกันหรือไม่ อย่างไร
– ทบทวนว่าข้อมูลวิชาการที่ทันสมัยได้รับการนํามาปฏิบัติอย่าง
เหมาะสมหรือไม่
– หมั่นตั้งคําถามหรือข้อสงสัยกับงานที่ทํากับข้อมูลที่มีอยู่ และพัฒนา
ความสามารถในการหาคําตอบ
• System ฐานด้านการออกแบบระบบงาน:
– ใช้visual management ออกแบบระบบงานที่ง่ายใน
การปฏิบัติ
– ใช้หลัก simplicity ออกแบบระบบงานให้เรียบง่าย ไม่
ซับซ้อน
– นําวิธีการทํางานใหม่ที่ได้จากการวิเคราะห์อุบัติการณ์ การพัฒนา
คุณภาพ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มาปรับคู่มือการปฏิบัติงานอยู่
ตลอดเวลา
Ppt.ha
“ง่าย”
–เกิดจากความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในสิ่งที่จะทํา
–เกาะกุมเป้าหมายไว้อย่างมั่นคง
–ใช้ความคิดสร้างสรรค์และจินตนาการเพื่อหลุดออก
จากกรอบเดิมๆ
“มัน”
–เกิดจากการที่ได้ทํางานที่เรารัก ทําใจให้รักในงานที่ทํา
–มีเพื่อนคู่คิดที่แบ่งปันเรื่องราวและความรู้สึกกันบ่อยๆ
–ได้ทําเรื่องที่ท้าทายแต่ไม่นํามาเป็นเดิมพันให้ตนเองถูก
กดดัน
“ดี”
–เกิดจากการหมุน PDCA อย่างต่อเนื่อง
–ทํา performance check บ่อยๆ ด้วยการรับฟัง
เสียงรอบข้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ที่เป็นผู้รับผลงาน
(voice of customer)
–ทํางานอย่างประณีตและปรับปรุงให้ประณีตยิ่งขึ้น
“มีสุข”
–ด้วยการถือว่าการทํางานคือการปฏิบัติธรรม
–หล่อเลี้ยงจิตใจด้วยประสบการณ์และความรู้สึกดีๆ ที่ผ่านเข้า
มาในชีวิต
–เตรียมใจพร้อมรับทุกสถานการณ์ที่เลวร้ายว่าเราอยู่กับมันได้
Ppt.ha
Ppt.ha
• การตอบสนองปัญหาอย่างมีคุณภาพ ควรพิจารณา
– การรับรู้เหตุการณ์ที่มีความไว เช่น กราฟบันทึกสัญญาณชีพที่มีสี โซนที่ต้อง
ระวังหรือลงมือปฏิบัติการบางอย่าง (early warning chart)
– การสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องรับรู้โดยเร็ว
– การเตรียมพร้อมและร่วมมือกันแก้ไขปัญหา
– การเก็บหลักฐานอย่างครบถ้วนเพื่อให้พิสูจน์ความจริงได้
– การขอโทษและเปิดเผยข้อมูล (open disclosure)
– การเยียวยาผู้เสียหาย
• ออกแบบงานให้ชัดเจนว่าในสถานการณ์ปกติทําอย่างไร ข้อมูลและ
ทรัพยากรที่ต้องใช้จะได้มาอย่างไร
• ออกแบบสําหรับช่วงเวลาที่มีความพร้อมลดลงหรือกรณีเกิดเหตุ ผิดปกติ
ให้มีความชัดเจนและปฏิบัติได้ทันทีว่าใครจะต้องทําอะไร อย่างไร
• ออกแบบโดยคํานึงถึงพื้นที่ปฏิบัติการอย่างครอบคลุมทุกระดับ-
หน่วยงาน, การดูแลผู้ป่วย, ระบบงานที่เกี่ยวข้อง, ภาพรวมระดับองค์กร
• ออกแบบโดยคํานึงถึงความง่ายในการนําไปปฏิบัติ การสื่อสารให้ความรู้
และการกํากับติดตาม
• ออกแบบโดยวิเคราะห์กระบวนการอย่างละเอียด แล้วพิจารณาโอกาส
พัฒนาอย่างรอบด้าน เช่น ใช้แนวคิด NEWS- Needs,
Evidence, Waste, Safety
• ถามคําถามหลักทั่วไป เช่น ทําไมต้องมีหน่วยงานของเรา เราทํางานกัน
อย่างไร
• ถามคําถามเชิงปฏิบัติในชีวิตประจําวัน เช่น จะทําให้งานของเราง่ายขึ้น
อย่างไร
• ถามคําถามตาม PDCA เช่น อะไรคือปัญหาสําคัญของเรา
• ใช้การทบทวนเพื่อหาโอกาสพัฒนา เช่น การทบทวนข้างเตียง ทบทวน
เวชระเบียน ทบทวนตัวชี้วัด
• เรียนรู้จากอุบัติการณ์เพื่อนํามาสู่การปรับปรุงระบบ
• วัดผลลัพธ์ตามมิติคุณภาพที่เหมาะสมและวิเคราะห์เปรียบเทียบ
• เรียนรู้โดยการเทียบเคียงกับเพื่อน (benchmark)
• ใคร่ครวญถึงความหมายและคุณค่าในงานที่ทําและทุกสิ่งที่ผ่านเข้ามา
• ดูแลผู้ป่ วยด้วยความรักและใส่ใจ (humanized health care)
• ฝึกอยู่กับปัจจุบัน แบ่งปันพลังบวกให้ผู้ป่ วย
• บรูณาการงานกับชีวิต
• อยู่ร่วมกันเสมือนหนึ่งองค์กรที่มีชีวิต
• มีสติตื่นรู้ในทุกกิจที่ทํา (mindfulness) สร้างวัฒนธรรมความ
ปลอดภัย นําไปสู่ระบบบริการที่น่าไว้วางใจ
• ร่วมกันสร้างสิ่งแวดล้อมในที่ทํางานที่เอื้อต่อการมีสุขภาพดี สุนทรียภาพ
(healing environment)
• มองเห็นตัวเองในบริบทของเป้าหมายที่สูงขึ้น ทําอะไรได้มากขึ้น โดย
เป้าหมายสูงสุดคือ เพื่อยกระดับความเป็นมนุษย์ในตัวเองและสังคม
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
• Plan-Do-Check-Act หรือ Plan-Do-Study-Act
เป็นวงล้อแห่งการพัฒนา คุณภาพหรือวงล้อแห่งการเรียนรู้
• PDCA ในการดูแลผู้ป่ วย
– P คือการประเมิน การวินิจฉัยโรค และวางแผน การดูแล
– D คือการให้การดูแลตามแผน
– C คือการ monitor และประเมินซํ้า
– A คือการปรับแผนเมื่อผู้ป่วยยังไม่ดี หรือจําหน่ายเมื่อผู้ป่วยดีขึ้น
• PDCA ในการบริหารกลยุทธ์/โครงการ
• P คือ การวางแผนกลยุทธ์/ โครงการ
• D คือ การดําเนินการตามแผน
• C คือ การติดตามความก้าวหน้า
• A คือ การปรับแผนหรือส่งมอบเข้าเป็นงานปกติ
• 3P
– Purpose
– Process
– Performance
• การถามคําถามพื้นฐานว่า Why? How? How well?
ทําไปเพื่ออะไร ทําอย่างไรให้บรรลุเป้าหมาย ผลลัพธ์ใกล้กับเป้าหมาย
เพียงใด?
• Purpose ตามระดับชั้น อาจจะเป็นการตอบคําถามว่าทําไมต้องมี
เรา (เป้าหมายขององค์กร เป้าหมายของหน่วยงาน) หรือการตอบว่าเรา
กําลังทําสิ่งนี้ เพื่ออะไร (เป้าหมายของงาน เป้าหมายของการพัฒนา)
• Purpose ตามแนวคิด 3C-PDSA คือเอา 3C มาพิจารณา
ร่วมกัน ได้แก่
• Core values (ตามค่านิยมหลัก)
• Context (ตามบริบท)
• Criteria/Standards (ตามข้อกําหนด)
• Process การพิจารณากระบวนการว่าเหมาะสม หรือไม่
– ขั้นตอนที่สําคัญมีอะไรบ้าง แต่ละขั้นตอน มีเป้าหมายอะไร
– ประเด็นคุณภาพและความเสี่ยงที่สําคัญในแต่ละขั้นตอนมีอะไรบ้าง
– มีวิธีการอย่างไร เพื่อให้เกิดคุณภาพสูงสุดและปิดกั้นความเสี่ยงให้น้อยที่สุด
– เตรียมสิ่งสนับสนุนอย่างไรเพื่อให้มีการปฏิบัติตามแนวทางที่ต้องการ
– จัดทําแนวทางการปฏิบัติที่เป็นมาตรฐาน สื่อสารและให้ความรู้แก่ผู้เกี่ยวข้อง
อย่างไร
– มีระบบกํากับติดตามอย่างไร เพื่อรับรู้ปัญหาและมั่นใจว่ามีการปฏิบัติตาม
แนวทางที่ออกแบบไว้
• Performance
– การรับรู้ performance อาจรับรู้ได้ทั้งในเชิง subjective
และ objective
– การรับรู้ performance ควรสัมพันธ์กับ purpose เมื่อ
เป้าหมายชัด ก็วัดผล ได้ง่าย
– การข้ามไปสู่ KPI โดยไม่คุยกันถึงเป้าหมายให้ชัด ทําให้ติดกับตัว
วัดที่ไม่ตรงความต้องการที่แท้จริง
Ppt.ha
• เน้นการมีเป้าหมายของงาน
• ทบทวนปัญหา/ความเสี่ยงการให้บริการและการดูแลผู้ป่ วย
• หามาตรการป้องกัน
• ดําเนินการต่อเนื่องอย่างน้อย 6 เดือน
• ต้องไม่มีความเสี่ยงด้านโครงสร้างกายภาพและกําลังคนที่ชัดเจน
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
• เชื่อมโยง การบริหารความเสี่ยง การประกันคุณภาพ และการ
พัฒนาคุณภาพอย่างต่อเนื่อง เข้าด้วยกัน ในทุกระดับ
• เน้นการนาข้อมูลวิชาการและมาตรฐานวิชาชีพมาสู่การปฏิบัติ
• ติดตามเครื่องชี้วัด โดยเฉพาะทางคลินิก
• บริการที่เน้นผู้ป่ วยเป็นศูนย์กลางอย่างเป็นรูปธรรม
• ทีมระหว่างวิชาชีพ
Ppt.ha
• ปฏิบัติตามมาตรฐาน HA ครบถ้วน
• มีรูปธรรมของการพัฒนาที่ชัดเจน
• เกิดวัฒนธรรมคุณภาพในองค์กร
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
• ทําไมต้องพิจารณาการพัฒนาคุณภาพในลักษณะ 4 วง
• วงกลมที่ซ้อนกันสื่อให้เราต้องพิจารณาในเรื่องอะไร
• 4 วงมีความสัมพันธ์กับทีมงานที่รับผิดชอบอย่างไร
• 4 วงมีความสัมพันธ์กับมาตรฐาน HA อย่างไร
• ใครควรเป็นผู้ monitor ความก้าวหน้าของการพัฒนาทั้ง4 วงใน
ภาพรวม
• โรงพยาบาลมักให้ความสําคัญกับวงไหน และวงไหนที่ได้รับความสําคัญ
น้อยกว่าที่ควร
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
• เพื่อมีแนวทางเดินที่ชัดเจนในการพัฒนา
• เพื่อให้เห็นจุดเริ่ม การเติบโต และการเชื่อมโยง อย่างเป็นขั้นตอน
• เพื่อมิให้การพัฒนาหยุดชะงักอยู่ที่จุดใดจุดหนึ่ง
Ppt.ha
Ppt.ha
• พรุ่งนี้จะทําอะไรให้ดีขึ้น
(continuous improvement)
• จะทําให้งานง่ายขึ้นอย่างไร
• จะทําให้เพื่อนของเราทางานง่ายขึ้นอย่างไร
(internal customer)
• จะเพิ่มคุณค่าให้ผู้รับผลงานของเราอย่างไร
(external customer)
• เราทําหน้าที่ตามเป้าหมายของหน่วยงานสมบูรณ์หรือยัง
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
• ขั้นตอนที่มีโอกาสปรับเปลี่ยนการกระทําหรือการตัดสินใจ
• มุมมองของผู้เกี่ยวข้องเมื่อมองย้อนหลัง และผู้อยู่ในเหตุการณ์
• มาตรการที่จะช่วยให้เกิดการกระทําหรือการตัดสินใจตามที่คาดหวัง
– โดยใช้แนวคิด Visual Management
– โดยใช้แนวคิด Human Factor Engineering
 เป็นการใช้แนวคิดการมุ่งปรับปรุงระบบมากกว่าที่ตัวคน
 ช่วยให้คนทํางาน ทําในสิ่งที่ได้รับการคาดหวัง ด้วยวิธีที่ง่ายและ
สะดวกที่สุด
 ใช้การจดจําน้อยที่สุด Visual Management เป็น
ส่วนหนึ่งของ HFE
Ppt.ha
• เพื่อคัดกรองเวชระเบียนที่มีโอกาสพบ AE มาทบทวน ให้มีโอกาสได้รับ
รู้และเรียนรู้ AE มากที่สุดอาจนําไปสู่การคํานวณอัตราการเกิด
AE/1000 วันนอน ซึ่งเป็นตัวชี้วัดความปลอดภัยที่มองใน
ภาพรวม
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
 คิดถึงเป้าหมายของมาตรฐานเรื่องที่จะตามรอย
 คิดถึง object หรือข้อมูล หรือเนื้อหาที่สามารถใช้เป็นตัวเชื่อมโยง หรือ
ตามรอยได้ (ถ้ามี) เช่น ผู้ป่ วย ยา ข้อมูลข่าวสาร
 คิดถึงหน่วยงาน/ บุคคลที่เกี่ยวข้องตั้งแต่ต้นทางถึงปลายทาง (ผู้
วางแผน ผู้ปฏิบัติ ผู้รับผลงาน)
 คิดถึงประเด็นสําคัญที่ควรใส่ใจในแต่ละจุด
 เป้าหมาย คุณภาพ ความเสี่ยง
 การต่อเชื่อมกับขั้นตอนหรือจุดบริการอื่น
 คิดถึงวิธีการที่จะรับรู้ข้อมูลในประเด็นสําคัญดังกล่าว (สัมภาษณ์ สังเกต
ศึกษาข้อมูล)
 คิดถึงระบบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง และสามารถตามรอยดูได้
Ppt.ha
• เพื่อทบทวน ใคร่ครวญการทํางานและการพัฒนาที่ผ่านมา
• เพื่อให้มั่นใจว่ามีการปฏิบัติในสิ่งที่คาดหวังหรือปรับระบบไว้
• เพื่อค้นหาโอกาสพัฒนาในขั้นต่อไป
• เพื่อสื่อสารผลงานกับผู้เยี่ยมสํารวจ
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
Ppt.ha
วัตถุประสงค์
1. เรียนรู้วิธีการในการจัดทําแผนกลยุทธ์ของโรงพยาบาล เพื่อให้
สอดคล้องกับบริบท รวมทั้งนําข้อมูลต่างๆ มาวิเคราะห์ เพื่อกําหนด
วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์ และการจัดทําแผนปฏิบัติการ
2. เรียนรู้ปัญหาอุปสรรคในการนําแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการ
นําไปสู่การปฏิบัติ
3. เรียนรู้วิธีการติดตามความก้าวหน้าและการบรรลุวัตถุประสงค์
 ระบุความท้าทายขององค์กรชัดเจนหรือไม่
 แผนกลยุทธ์มีการจัดระบบและหมวดหมู่ มีลําดับชั้นของวัตถุประสงค์
และกําหนดความคาดหวังของวัตถุประสงค์ชัดเจนหรือไม่
 วัตถุประสงค์เชิงกลยุทธ์สอดคล้องกับความท้าทายหรือไม่ ครอบคลุม
ความท้าทายสําคัญหรือไม่
 มีตัวชี้วัดที่วัดการบรรลุวัตถุประสงค์แต่ละระดับหรือไม่
 มีการกําหนดวิธีการประเมินการบรรลุวัตถุประสงค์อื่นๆ หรือไม่
Ppt.ha
Ppt.ha
 สามารถแสดงให้เห็นการบรรลุเป้าประสงค์ขององค์กร
 สามารถแสดงให้เห็นผลลัพธ์ที่ดีขึ้น โดยเฉพาะ clinical outcome
 มีการประเมินประสิทธิภาพของระบบหลักๆ
 มีการใช้นวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์
 มีวัฒนธรรมคุณภาพ ความปลอดภัย การเรียนรู้
 มีบูรณาการของการพัฒนา
 มีการพัฒนาที่สามารถใช้เป็นแบบอย่างให้แก่รพ.อื่น
07/08/58 94

Contenu connexe

Tendances

ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงSuradet Sriangkoon
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet SriangkoonSuradet Sriangkoon
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPrachaya Sriswang
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ Utai Sukviwatsirikul
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sriSuradet Sriangkoon
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก RiskSuradet Sriangkoon
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)Aiman Sadeeyamu
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558Rachanont Hiranwong
 

Tendances (20)

Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
ผู้ประสานงานคุณภาพ ผู้นำการเปลี่ยนแปลง
 
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ  - Suradet Sriangkoon
12 กิจกรรมทบทวนภาคปฏิบัติ - Suradet Sriangkoon
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator3 p quality for facilitator
3 p quality for facilitator
 
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
QaพยาบาลเสนอจังหวัดQaพยาบาลเสนอจังหวัด
Qaพยาบาลเสนอจังหวัด
 
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการเกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
เกณฑ์การวัดสมรรถนะระดับปฏิบัติการ
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Riskความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
ความสำคัญของระดับความรุนแรงที่เกิดจาก Risk
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 

Similaire à Ppt.ha

Baldrige awareness series 11 core values
Baldrige awareness series    11 core valuesBaldrige awareness series    11 core values
Baldrige awareness series 11 core valuesmaruay songtanin
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practicevorravan
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellencemaruay songtanin
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)maruay songtanin
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพอัยเหี้ยม ยัยห้อย
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8jujudy
 
EdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentEdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentmaruay songtanin
 
นำเสอน Obec
นำเสอน Obecนำเสอน Obec
นำเสอน ObecNai Rattanapol
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of managementWatcharin Chongkonsatit
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
เอกลักษณ์ของ  HA  ไทยเอกลักษณ์ของ  HA  ไทย
เอกลักษณ์ของ HA ไทยSuradet Sriangkoon
 
Baldrige awareness series 8 management by fact
Baldrige awareness series 8   management by factBaldrige awareness series 8   management by fact
Baldrige awareness series 8 management by factmaruay songtanin
 

Similaire à Ppt.ha (20)

Baldrige awareness series 11 core values
Baldrige awareness series    11 core valuesBaldrige awareness series    11 core values
Baldrige awareness series 11 core values
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
Introduction to performance excellence
Introduction to performance excellenceIntroduction to performance excellence
Introduction to performance excellence
 
How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)How to write application report (part 1 of 4)
How to write application report (part 1 of 4)
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพหน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
หน่วยที่1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
EdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessmentEdPEx for internal assessment
EdPEx for internal assessment
 
นำเสอน Obec
นำเสอน Obecนำเสอน Obec
นำเสอน Obec
 
๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี
๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี
๒.๑ สมรรถนะ จักราวุธ คำทวี
 
L1
L1L1
L1
 
2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management2015 lesson 1 history and current concept of management
2015 lesson 1 history and current concept of management
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
เอกลักษณ์ของ  HA  ไทยเอกลักษณ์ของ  HA  ไทย
เอกลักษณ์ของ HA ไทย
 
14321
1432114321
14321
 
TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001TQAADLIwooddy2001
TQAADLIwooddy2001
 
Kung
KungKung
Kung
 
Tqa
TqaTqa
Tqa
 
Baldrige awareness series 8 management by fact
Baldrige awareness series 8   management by factBaldrige awareness series 8   management by fact
Baldrige awareness series 8 management by fact
 
Ha
HaHa
Ha
 

Plus de Prachaya Sriswang

Plus de Prachaya Sriswang (20)

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 
Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)Ppt. root cause analysis (1)
Ppt. root cause analysis (1)
 
Ppt. cqi
Ppt. cqiPpt. cqi
Ppt. cqi
 

Ppt.ha