SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  76
พื้นที่ผิวและปริมาตร



โดย . . . ครูปราณี เสียงสนั่น
  โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน
ทบทวนสูตรพื้นที่รูปเรขาคณิตต่างๆ


                 สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = 1 × ฐาน × สูง
                                                2

                                                    3
                                                   _ × (ด้าน)2
            สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า = 4

สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใดๆ =           s( s  a )(s  b )(s  c )
   a                            เมื่อ s = a + b + c
             b                                 2
       c
สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส      = ด้าน × ด้าน

 สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า       = กว้าง × ยาว

 สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = 1 × ผลบวกของด้านคู่ขนาน × สูง
                                      2


 สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน = ฐาน × สูง

สูตร     พื้นทีสี่เหลี่ยมใด ๆ = 1 × ความยาวเส้นทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเส้นกิ่ง
               ่                2
ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง
                    รัศมีวงกลม =       2
            รัศมี (r)



รัศมี (r)
                  สูตร ความยาวเส้นรอบวงของวงกลม = 2r


                    สูตร พื้นที่วงกลม = r2
รัศมี (r)


ค่าของ                 1. ใช้ค่าเศษส่วนประมาณ 227
                         2. ใช้ทศนิยม ประมาณ 3.1416
ทบทวนสูตรที่เกี่ยวข้องกับการหาพื้นที่และปริมาตร
      พ.ท.ของ     = 1 x ฐาน x สูง
                     2
       พ.ท. ของ ผ = กว้าง x ยาว
       พ.ท. ของ จ = ด้าน x ด้าน
           พ.ท. ข = ฐาน x สูง
     พ.ท. ค = 1 x (ผลบวกของด้านคู่ขนาน)x สูง
               2
        พ.ท.ของ     = r2
           ปริมาตร = พ.ท.ฐาน x สูง
1.1 รูปเรขาคณิตสามมิติ
ในชีวิตประจาวันนักเรียนจะพบรูปทรงเรขาคณิตมากมาย เช่น
1. ปริซึม ( PRISM )
ปริซึม ( PRISM ) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็น
     รูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองนั้นอยู่บนระนาบ
     ที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
ปริซึมฐานสามเหลี่ยม              ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า                        ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมลูกบาศก์




           ปริซึมฐานห้าเหลี่ยม                               ปริซึมฐานหกเหลี่ยม
สารวจปริซึม
                    พิจารณารูปของปริซึมห้าเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ต่อไปนี้
    A
                    E
                                    1. ปริซึมมีทั้งหมดกี่หน้า ( 7 หน้า )
B               D                   2. รูปเหลี่ยมที่เป็นฐานของปริซึม มีกี่รูป ชื่ออะไร
        C
                                         ( 2 รูป คือ รูป ABCDE และรูป GHIJF )
                    G
                            F       3. รูปเหลี่ยมที่เป็นด้านข้างของปริซึม มีกี่รูป ( 5 รูป )
            H
                        I
                                J
                                    4. รูปเหลี่ยมที่เป็นด้านข้างของปริซึมเท่ากันทุกหน้าหรือไม่
                                                                               ( เท่ากัน )
                                    5. ส่วนสูงของปริซึมมีความยาวเท่ากันหรือไม่ ( เท่ากัน )

                                    6. ส่วนสูงของปริซึม คือส่วนของเส้นตรงใด
                                               (ส่วนของเส้นตรง AG , BH , CI , DJ , EF )
การคลี่รูปปริซึมห้าเหลียมด้านเท่ามุมเท่า ต่อไปนี้
                         ่




เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 5 รูป
                                 เป็นรูปห้าเหลี่ยม 2 รูป
ทาแบบฝึกหัดหน้า 5 – 7 ในหนังสือเรียน
 2. รูปคลี่ในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นรูปคลี่ของปริซึมชนิดใด
1)                                       3)




2)                                            4)
4. รูปในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นรูปของปริซึม จงระบุฐานทั้งสองของปริซึม
      ( วิธีวาดรูปของปริซึม ให้ใช้หลักเส้นขนาน )
1)
ทรงกระบอก ( cylinder ) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติทมีฐานทั้ง
                                              ี่
สองเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการ และอยู่บนระนาบที่ขนานกัน
และเมือตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะ
       ่
ได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกับฐานเสมอ เรียกรูป
เรขาคณิตสามมิตินั้นว่า “ ทรงกระบอก “
ส่วนต่างๆ ของทรงกระบอก

                               หน้าตัด หรือฐาน
                                แกน


                            ส่วนสูง
                               h
                         หน้าตัด หรือฐาน
     รัศมีฐาน
        r                ทรงกระบอกตรง
คลี่ส่วนของหน้าตัดออก
 รัศมีฐาน r
                             r
                                      ความยาวรอบฐาน 2r


                 ความสูง h


                                 r              คลี่ส่วนข้างออกมา
คลี่หน้าตัดออก
                                 สารวจทรงกระบอก หน้า 9- 10
ปริมาตรของทรงกระบอก คือ ความจุของทรงกระบอก หาได้จาก
 หน้าตัด หรือฐาน รัศมีฐาน r
                          สูตร ความยาวเส้นรอบวงของวงกลม = 2r
       แกน
ส่วนสูง h                     สูตร พื้นที่วงกลม = r2


    สูตร ปริมาตรของทรงกระบอก = r2 h
ข้อ 5. หน้า 31                รัศมีฐาน r = 10.5 ซม.



                                                                   เค้กหนา 5 ซม.


       ตัดเค้กออกให้มีมุมที่จุดศูนย์กลาง 60 องศา
  ตัดเค้กออกให้มีมุมที่จุดศูนย์กลาง 60 องศา คิดเป็น  60 = 1 เท่าของเค้กทั้งก้อน
                                                    360 6
                            1 r2 h ) = 1 (22 x 10.52 x 5 )
  ปริมาตรของเค้กที่ตัดออก = 6             6 7

  ปริมาตรของเค้กที่ตัดออก           = 288.75 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ข้อ 8. หน้า 32

รัศมีฐาน r                         รัศมีฐาน 2r
 ส่วนสูง 2h                          ส่วนสูง h

    ปริมาตรของทรงกระบอกใบสูง = (r)2 (2h) = 2r2h

   ปริมาตรของทรงกระบอกใบเตี้ย =           (2r)2 h    = 4r2h

   ปริมาตรของทรงกระบอกใบเตี้ย       = 2 เท่าของปริมาตรทรงกระบอกใบสูง
  น้้าพริกเผาขวดสูงราคาขวดละ 16 บาท ถ้าซื้อสองขวดราคา 16 x 2 = 32 บาท
  น้้าพริกเผาขวดเตี้ยราคาขวดละ 30 บาท ดังนั้นน้้าพริกเผาขวดเตี้ยราคาถูกกว่า
ข้อ 10. หน้า 32
                         ใส่ข้าวที่ผสมแล้วลงในกระบอก = 2 ใน 3 ของความยาวของกระบอก
                         กระบอกข้าวหลามมีเส้นผ่านศูนย์กลาง = 5 ซม.ดังนั้นรัศมี = 2.5 ซม.
                         กระบอกข้าวหลามมีความยาวภายในที่ใช้บรรจุ = 30 ซม.

                         ปริมาตรของข้าวหลาม 1 กระบอก  r 2 h  3.14 2.5  2.5 30

                                                         = 588.75 ลบ.ซม.
ดังนั้น ข้าวหลาม 100 กระบอก มีปริมาตร   = 100 x 588.75         = 58,875 ลบ.ซม.
                                          58875         ลิตร     = 58.875 ลิตร.
                                        
                                          1000

ข้าวหลาม 100 กระบอก มีข้าวเหนียวขาว 1 ส่วน และ ข้าวเหนียวด้า 4 ส่วน
                          58.875     ลิตร = 11.775 ลิตร.
ดังนั้นมี ข้าวเหนียวขาว 
                           5
และมี ข้าวเหนียวด้า    = 4 x 11.775 ลิตร. = 47.1 ลิตร.
พื้นที่และปริมาตร
        พีระมิด( PYRAMID )
       รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอด
แหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็น
รูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า
พีระมิด ( PYRAMID )
พีระมิด


                 แท่งพีระมิด
           ฐาน


แผ่นคลี่
พีระมิด




           ฐาน             แท่งพีระมิด
แผ่นคลี่
พีระมิด




           ฐาน       แท่งพีระมิด

แผ่นคลี่
ส่วนประกอบพีระมิด
              ยอด
                    สัน
สูงเอียง
                     สูงเอียง
    ส่วนสูง


ด้านฐาน       ฐาน
                     ความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน
มุมมองจากบน 5 รูป




มุมมอง
จากล่าง
การเรียกชื่อพีระมิด
                   เรียก ตามลักษณะรูปเหลี่ยมของฐาน




พีระมิด               พีระมิด          พีระมิด       พีระมิด
สี่เหลี่ยมผืนผ้า      หกเหลี่ยม        สามเหลี่ยม    ห้าเหลี่ยม
พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานสามเหลี่ยม มี 3 ด้าน
พ.ท.ผิวข้าง
              พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม มี 4 ด้าน
              พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานห้าเหลี่ยม มี 5 ด้าน

              พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานหกเหลี่ยม มี 6 ด้าน
เรียกว่า “ สูงตรง “
    เรียกว่า “ สัน “
    เรียกว่า “ สูงเอียง “
พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1 x ความยาวรอบรูปของฐาน x สูงเอียง
                         2




                                สารวจพีระมิด หน้า 12 - 14
แบบฝึกหัด 1.2 ก
     1. จงหาปริมาตรของปริซึมต่อไปนี้ (ความยาวที่กาหนดให้มีหน่วยเป็นเซนติเมตร)

1)
                             ปริมาตร   =   พ.ท.ฐาน x สูง
                      6
                             ปริมาตร   = (3
                                              1x
                                              2    4)x 6

                  4
          3   1              ปริมาตร   = 3.5 x 4 x 6               ลูกบาศก์เซนติเมตร
              2
                             ปริมาตร   = 84                        ลูกบาศก์เซนติเมตร

                                                                                Ans.
2)
                               ปริมาตรส่วนล่าง    =   พ.ท.ฐาน x สูง
                   8
                       12
                                ปริมาตรส่วนล่าง   = 12 x 16 x 4           ลบ.ซม.
                   4
                                ปริมาตรส่วนล่าง   = 768                   ลบ.ซม.
              16
     4
                            ปริมาตรรูปทรงส่วนบน   =   1 (12 x   16 x 8)    ลบ.ซม.
         12                                           2
                    ปริมาตรของรูปทรงส่วนบน        =    768      ลบ.ซม.

              ดังนัน ปริมาตรของรูปทรงทั้งหมด
                   ้                              =    768 + 768      ลบ.ซม.
                                                  =     1,536             ลบ.ซม.

                                                                   Ans.
6)
                                    ปริมาตรส่วนที่แรเงา       =       พ.ท.ฐาน x สูง

                                        ปริมาตรส่วนที่แรเงา       =    3   1   x 6   1x   15
            3
                        15
                                                                           2         2
                    3
                                            ปริมาตรส่วนที่แรเงา =       3.5 x 6.5 x 15
       4                        1
                            3
                                2   6   1
                                        2      ปริมาตรส่วนที่แรเงา =           341.25
                4
                        6   1
                            2
     ปริมาตรส่วนที่ไม่แรเงา =       2 x (3 x 4 x 6.5)

     ปริมาตรส่วนที่ไม่แรเงา =       156

     ปริมาตรทั้งหมด             = 341.5 + 156         = 497.5          ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                                                                 Ans.
ข้อ 10 หน้า 26
                      12 ซม.
                                       ปริมาตรของเสาทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากทั้งต้น = พ.ท.ฐาน x สูง

                               5 ซม.                                                  = (1.5 x 100 ) x 20 x 20


                 12 ซม.
                                         ปริมาตรของเสาทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉากทั้งต้น   = 60,000    ลูกบาศก์เซนติเมตร
        8 ซม
                          20 ซม.
                                            ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านขวา        = 5 x 20 x 12
20 – 12 – 5 = 3 ซม.
                                            ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านขวา        = 1,200 ลูกบาศก์เซนติเมตร
1.5   เมตร
                                            ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านซ้าย        = 3 x 20 x 8

        20 ซม.                              ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านซ้าย        = 480     ลูกบาศก์เซนติเมตร

       เมื่อตัดเสาแล้วเสาต้นนี้มีปริมาตร          = 60,000 – 1,200 - 480             ลูกบาศก์เซนติเมตร

       เมื่อตัดเสาแล้วเสาต้นนี้มีปริมาตร          = 58,320                           ลูกบาศก์เซนติเมตร
ตัวอย่าง จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดฐานสี่เหลียมจัตุรัส ซึ่งมี
                                           ่
ฐานยาวด้านละ 14 เซนติเมตร และสูง 24 เซนติเมตร
                                   ABCD        เป็นฐานของพีระมิด
                             มีความยาวด้านละ 14 เซนติเมตร
                             VX เป็นส่วนสูงของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม
            24
                             จัตุรัส ซึ่งมีความยาว 24 เซนติเมตร
                             VY เป็นส่วนสูงเอียงของพีระมิด
       D                 C
           X
                 7   Y
 A     14        B            XY   ตั้งฉากกับ VX ที่จุด X
4/ 144 )  จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีด้านประกอบมุม
ฉากยาว 32 เซนติเมตรและ 10 เซนติเมตร และมีความสูง 12 เซนติเมตร
                   A

                                           ในสามเหลี่ยม ABC มุม C เป็นมุมฉาก
                                                ดังนั้น AB2 = AC2 + BC2
                       12
                                                     AB2 = 122 + 162
                                                     AB2 = 144 + 256
                       C          B                  AB2 = 400
                            16        10
                   5
                                                     AB = 20

               D
             32
การหา ความสูงเอียง กรณีมีความยาวสัน
A
            พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านฐานยาวด้านละ 6 นิ้ว
            สันยาว 5 นิ้ว จงหาความสูงเอียง
     5    ให้ AC เป็นสัน ยาว 5 นิ้ว และ AB เป็นความสูงเอียง
          BC เป็นความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน ยาว คือ 6 2 = 3 นิ้ว
             ตามทฤษฎีปีทาโกรัส ใน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC
B 3C
6                AB2 + 32 = 52
                  AB2 = 25 - 9
                  AB2 = 16
                  AB2 = 4 x 4
                    AB = 4                ตอบ สูงเอียง 4 นิ้ว
การหาความสูงเอียง กรณีมีส่วนสูง
     A
              พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านฐานยาวด้านละ 10 นี้ว
12            ส่วนสูงยาว 12 นิ้ว จงหาความสูงเอียง
              ให้ AC เป็นส่วนสูง ยาว 12 นิ้ว และ AB เป็นความสูงเอียง
C 5      B BC เป็นความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน ยาว คือ 10 2 = 5 นิ้ว

              ตามทฤษฎีปีทาโกรัส ใน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC
                 AB2      = 122 + 52
                  AB2     = 144 + 25
                   AB2 = 169
                  AB2      = 13 x 13
                   AB      = 13
                                          ตอบ สูงเอียง 13 นิ้ว
การหาความสูง กรณีมสูงเอียง
                          ี
    A        พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านฐานยาวด้านละ 10 นี้ว
             สูงเอียงยาว 13 นิ้ว จงหาความสูง
            ให้ AB เป็นความสูงเอียง AC เป็นส่วนสูง
C       B BC เป็นความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน ยาว คือ 10 2 = 5 นิ้ว
         ตามทฤษฎีปีทาโกรัส ใน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC
            AC2 + 52 = 132
            AC2          = 169 – 25
             AC2         = 144
                   AC    = 12          ตอบ ส่วนสูง 12 นิ้ว
การหาปริมาตรพีระมิด
               ให้นักเรียนทดลอง จากกล่อง ทรงปริซึม
              จากสูตร ปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง

                    เมื่อ พีระมิดที่มีส่วนสูงและฐานเท่ากับปริซึม
เมื่อท้าการตวง จะได้ 3 ปริมาตรพีระมิด เท่ากับ 1 ปริมาตรปริซึม

สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นที่ฐาน x สูง
                         3
ตัวอย่างที่ 1) จงหาปริมาตรของพีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านฐานยาว
ด้านละ 22 เซนติเมตร ส่วนสูง 15 เซนติเมตร

   สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นทีฐาน x สูง
                                      ่
                            3
  สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x (ด้าน x ด้าน) x สูง
                            3
  สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x ( 22 x 22) x 15
                           3
ดังนั้น ปริมาตรของพีระมิดนี้ = 2,420 ลูกบาศก์เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 2 จงหาปริมาตรของพีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านฐานยาว
ด้านละ 14 เซนติเมตร ส่วนสูง 24 เซนติเมตร
         A
                  สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นทีฐาน x สูง
                                           3         ่
    24                                     1
                    ปริมาตรของพีระมิดนี้ = 3 x ( ด้าน x ด้าน ) x สูง
    C        14
   14                            = 1 x ( 14 x 14 ) x 24
                                   3                      ลูกบาศก์เซนติเมตร


                                  = 1,568 ลูกบาศก์เซนติเมตร
(ข้อ 4 หน้า 40 )
 แก้วอันหนึ่งมีลักษณะเป็นพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสสองอันประกบกันและบรรจุอยู่ใน
กล่องทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ยาวด้านละ 10 เซนติเมตร โดยจุดยอดทั้งหกของแก้วสัมผัส
กล่องที่จุดกึ่งกลางของแต่ละหน้า ดังรูป ปริมาตรของแก้วนี้เป็นเท่าใด
ภาพตัดขวาง                 จากทฤษฎีบทของพีธากอรัส จะได้ a  5  5
                                                         2   2   2

                   5
                       5                                a 2  25  25  50
           a
   a
                                                          a  50  5 2
       a       a


                           a5 2
       5                                                   1
                           ปริมาตรของแก้วทรงพีระมิด 2 ชิ้น   2  (a  a)  5
                                                           3
                                         1
                                          2  50  5  166.66     ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                         3
ข้อ 5 หน้า 40)
           ขนมเทียนมีฐานยาวด้านละ 4 ซม. สูง 3 ซม. จ้านวน 100 ห่อ
                    ปริมาตรของขนม100 ห่อ =100 ( 1 พื้นที่ฐาน x สูง)
                                                 x
                                                 3
                                                1
       3            ปริมาตรของขนมนี้ = 100 x 3 x 4 x 4 x 3

                4                      = 1600      ลูกบาศก์เซนติเมตร

   4
ใช้แป้ง 2/3 ของเนื้อขนม = 2/3 x (1,600) ลูกบาศก์เซนติเมตร

                             = 1066.66 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1.06 ลิตร
กรวย ( CONE)
   รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่บน
ระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดและจุดใดๆบนขอบของ
ฐานเป็นส่วนของเส้นตรงเรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินี้ว่า กรวย




                                                   ฐานรูปวงกลม
การวาดกรวย

  เริ่มวาดฐาน                     ลากส่วนสูง
  ในแนววงรี                        ในแนวดิ่ง
                                       หรือ
                               ที่ตั้งฉากกับฐาน

เริ่มวาดฐาน                     ลากส่วนสูง
ในแนววงรี                        ในแนวดิ่ง
                                     หรือ
                             ที่ตั้งฉากกับฐาน
ยอด
          ส่วนสูงเอียง 
           ส่วนสูง h                       h

           ฐานรูปวงกลม     r
กรวยตรง    รัศมีฐาน r          กรวยเอียง
ความสัมพันธ์ r , h , 
                 ยอด             ตามทฤษฎีบทปีทาโกรัส

                ส่วนสูงเอียง 
                 ส่วนสูง h

                 ฐานรูปวงกลม            h
                                    r
รัศมีฐาน r

กรวยตรง                            2 = h2 + r2
             สารวจทรงกรวย หน้า 15 - 17
พื้นที่ผิวกรวย                                       ส่วนของฐาน
                       
                                              พื้นที่ฐานเป็นรูปวงกลม
                   r                                    = r2

                            2r           
   ส่วนของข้างกรวย
  พื้นที่ผิวข้างของกรวย
                  = r                  
     พื้นที่ผิวของกรวย = พื้นที่ผิวข้างของกรวย + พื้นที่ฐานรูปวงกลม
สูตร พื้นที่ผิวของกรวย = r  + r2
         h
    r
    2
     = h2 + r
                    2

        สูตร พื้นที่ผิวข้างของกรวย     = r 

        สูตร พื้นที่ฐานกรวย =        r2

        สูตร พื้นที่ผิวของกรวย = r  + r2
ตัวอย่างที่ 1 แท่งไม้รูปร่างเป็นกรวยอันหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว
 12 เซนติเมตร ความสูง 8 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผิวกรวยนี้
  แนวคิด ต้องหา รัศมี และสูงเอียง
วิธีท้า กรวยมีรัศมียาว = เส้นผ่านศูนย์กลางหารด้วย 2
                       กรวยมีรัศมี = เส้นผ่า2นศูนย์กลาง
       h =8                       = 12  2
              r =6                 = 6
                      ให้ ความสูงเอียง เป็น 
                            2
ตามทฤษฎีบทปีทาโกรัส         = h2 + r
                          2
                               = 82 + 2 2
                                       6
                           2
                               = 100
   = 10
                                     =    10
          h =8

                 r =6

      สูตร พื้นที่ผิวของกรวย = r  + r2
                               =  r ( + r )
แทนค่าสูตร พื้นที่ผิวของกรวย   = 22 × 6 × ( 10 + 6 )
                                  7
                               = 132 × ( 16 )
                                     7
                               = 2112
                                    7
         พื้นที่ผิวของกรวย     = 301.71         ตารางเซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 2 ต้องการท้ากรวยจากกระดาษให้มีรัศมีปากกรวยยาว 21 เซนติเมตร
ความสูงเอียง 35 เซนติเมตร กรวยนี้ไม่มีฐาน จงหาพื้นที่กระดาษที่จะใช้ท้ากรวย
วิธีท้า สูตร พื้นที่ผิวข้างของกรวย =  r 
                                                5
แทนค่า ได้ พื้นที่ผิวข้างของกรวย = 22 × 21 × 35
                                      7
                                      1
                                   = 22 × 21 × 5
                                   = 2310


       ใช้กระดาษมีพื้นที่   2310      ตารางเซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 3 จงหาพื้นที่ผิวข้าง พื้นที่ฐาน พื้นที่ผิวทั้งหมด

                     รูป           พื้นที่ผิวข้าง    พื้นที่ฐาน    พื้นที่ผิวทั้งหมด

                               l      rl                r   2   พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐาน
           h6                                                     63.248  28.285
                                    22                22
                                     3  45          32
                     r 3           7                 7
                                                                    91.533
                                    63.248              22
          l r h
           2     2         2                               9
                                                         7
          l 2  32  62
                                                      28.285
          l 2  9  36
          l 2  45
           l  45
ปริมาตรของกรวย
          ทรงกระบอกมีรัศมีฐานยาว r หน่วย และสูง h หน่วย
           ทรงกระบอกมีปริมาตร = r2h



 สร้าง กรวยแต่ละอันมีรัศมียาว r หน่วย ให้เท่ากับรัศมีฐานทรงกระบอก
 และสูง h หน่วยเท่ากับรัศมีส่วนสูงทรงกระบอก
   ตวงทราย 3 กรวยใส่ได้เต็มทรงกระบอกพอดี
        ปริมาตรกรวย =         1 r2h
                              3
สูตรปริมาตรกรวย = 1 r2h
                      3


r                  r แทนรัศมีฐานกรวย

    h              h แทนความสูงของกรวย
ตัวอย่างที่ 3 กรวยใส่ขนมมีเส้นผ่านศูนย์กลางของปากกรวยยาว
3 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร จงหาความจุของกรวยนี้
วิธีท้า ใช้รัศมีกรวย = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง
                                     2
                       = 3
                           2
         สูตร ปริมาตรกรวย = 1  r2 h
                                 3
แทนค่า    ได้ ปริมาตรกรวย = 1 × 22 × [ 3 ]2 × 10
                            3 7        2
                            = 1 × 22 × 3 × 3 × 10
                              3 7 2 2
                            = 11 × 3 × 5
                                   7
         ปริมาตรกรวย        = 35.57      ลูกบาศก์เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 4 กรวยใบตองจ้านวน 150 ชิ้น ใส่ขนมกล้วยได้ 1,100 ลูกบาศก์
เซนติเมตร และกรวยสูง 7 เซนติเมตร จงหาว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของฐาน
กรวยจะยาวเท่าใด
วิธีท้า กรวย 150 ชิ้นจุได้ 1,100 ลูกบาศก์เซนติเมตร
         กรวย 1 ชิ้นจุได้ 1100 150 = 22 ลูกบาศก์เซนติเมตร
                                        3
           ให้ r แทนรัศมีของกรวย
       สูตร ปริมาตรกรวย = 1  r2 h
                          3           1
    แทนค่า         22 = 1 × 22 × r2 × 7
                    3       3 7
                                 1
               22 × 3 = r2
                3 22
r2 = 1
        ได้     r = 1
    ได้ รัศมีกรวยยาว = 1
เส้นผ่านศูนย์กลางยาว =     1× 2

                    = 2 เซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 5 กรวยอันหนึ่งสูงเอียง 17 เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลางของฐาน
ยาว 16 เซนติเมตร จงหาปริมาตรกรวย
วิธีท้า
                        = 17   สูตร ปริมาตรกรวย = 1  r2 h
                                                   3
            สูง =h

                r =8        ใช้รัศมีกรวย = ความยาวเส้2 ผ่านศูนย์กลาง
                                                     น
                                         = 16
                                             2
                                         = 8
          จะต้องหาส่วนสูง        ให้สูง = h
                                     2
   จากรูป ตามทฤษฎีปีทาโกรัส           = h2 + r
                                   17 = h
                                     2    2 + 282
172 =  h2 + 82
         172 - 82 =    h2
       289 - 64 =       h2
              225 =     h2
              15 =      h
สูตร ปริมาตรกรวย =   1 r2 h
                     3                  5
  ปริมาตรกรวย      = 3 1 × 3.14 × 82 × 15
                       1
                   = 3.14 × 64 × 5
  ปริมาตรกรวย      = 1,004.8 ลูกบาศก์เซนติเมตร
Sphere)


  ทรงกลม (sphere) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ
  ที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้ง
  อยู่ห่างจากจุดคงที่เป็นระยะเท่ากัน
  เรียกว่า จุดศูนย์กลาง (center) ของทรงกลม
  และระยะทางคงที่เรียกว่า รัศมี (radius) ของ
  ทรงกลม
1) นาระนาบมาตัดทรงกลม แล้วหน้าตัดเป็นรูปอะไร

                            ตอบ เป็นรูปวงกลม
2) รูปหน้าตัดทีได้มีขนาดเท่ากันหรือไม่
               ่
                              ตอบ ไม่เท่ากัน

             3) วงกลมใหญ่ของทรงกลมนี้ มีกี่วง

                           ตอบ มีหลายวงนับไม่ถ้วน
สูตร พื้นที่ผิวทรงกลม   =   4r2



(r)
รัศมี = r

     รัศมี = r                     ทรงกระบอกสูง
                                      = 2r




จากการใช้ทรงกลมแทนที่น้าในทรงกระบอก
 ถ้าน้าเต็มทรงกระบอกเป็น 3 ส่วน
 น้าจะล้นออกมา 2 ส่วน
ดังนั้นปริมาตรของทรงกลม = 2 ใน 3 ของทรงกระบอก
ปริมาตรทรงกระบอก = r  (2r )
                      2



                  2r    3



                  2
ปริมาตรทรงกลม      (2r 3 )
                  3

                  4 3
ปริมาตรทรงกลม     r
                  3
4 3
 r
 3
 4
  3.14  9  9  9
 3
4 3
                 r
                 3




รัศมี = r = 2
1
                    2(  (12  4) 15)
                       2
              12
                    240

4        15

    12




                       a
8
a
        a 2  82  152
    4
        a 2  64  225  289

         a  17
8
           2Rh  2  3.14  6  23  866.64

23
           2rh  2  3.14  4  23  577.76


           R 2  r 2  (3.14  6  6)  (3.14  4  4)

     12    113.04  50.24  62.8
1
สูตรพื้นทีผิวของรูปเรขาคณิต
          ่
             พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม   = 1 × ฐาน × สูง
                                         2
       พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า = 4
                                           3
                                           _ × (ด้าน)2

          พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใดๆ = s( s  a )(s  b )(s  c )
                      a
                              b         เมื่อ s = a + b + c
                          c                           2
        สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส    = ด้าน × ด้าน
        สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า    = กว้าง × ยาว
      พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู     = 1 × ผลบวกของด้านคู่ขนาน × สูง
                                          2
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน = ฐาน × สูง
                                     1
              พื้นทีสี่เหลี่ยมใด ๆ = 2 × ความยาวเส้นทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเส้นกิ่ง
                    ่

                  รัศมีวงกลม =      ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง
                                                2
                สูตร ความยาวเส้นรอบวงของวงกลม = 2r
                                   สูตร พื้นที่วงกลม = r2
รัศมี ( r )

                 สูตรปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิต
               ปริมาตรของปริซึม = พ.ท.ฐาน x สูง
              ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นทีฐาน x สูง
                                            ่
                                  3
รัศมีหน้าตัด r

ส่วนสูง h                   ค่าของ  ใช้ค่าเศษส่วนประมาณ 22 หรือ 3.1416
                                                          7
                          พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = 2r ( r + h )
                         ปริมาตรของทรงกระบอก = r2 h
                                 พื้นที่ผิวของกรวย =  r  + r2
            r
                                 ปริมาตรของกรวย = 1 r2h
                                                     3

                                      พื้นที่ผวทรงกลม
                                              ิ         = 4r2

                                      ปริมาตรทรงกลม  4 r 3
                                                          3
                    (r)
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfssusera0c3361
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรamnesiacbend
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละApirak Potpipit
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4KruGift Girlz
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนWichai Likitponrak
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองsawed kodnara
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สองSathuta luamsai
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณRock Rockie
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิตkanjana2536
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นY'Yuyee Raksaya
 

Tendances (20)

สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdfบทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
บทที่ 3 กราฟและความสัมพันธ์เชิงเส้น.pdf
 
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
49 ตรีโกณมิติ ตอนที่6_กฎของไซน์และโคไซน์
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
3.โจทย์ปัญหาร้อยละ
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4เลขยกกำลังม.4
เลขยกกำลังม.4
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียนกิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
กิจกรรมการคิดเกมค่ายนักเรียน
 
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสองบทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
บทที่ 1 การแยกตัวประกอบและการแก้สมการพหุนามดีกรีสอง
 
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สองแบบทดสอบหน่วยที่ 1  กรณฑ์ที่สอง
แบบทดสอบหน่วยที่ 1 กรณฑ์ที่สอง
 
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริงแบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
แบบทดสอบ เรื่อง จำนวนจริง
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
4ใบความรู้ เรื่องพื้นฐานทางเรขาคณิต
 
ฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้นฟังก์ชันเชิงเส้น
ฟังก์ชันเชิงเส้น
 
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
09 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่3_สัจนิรันดร์และการอ้างเหตุผล
 

Similaire à พื้นที่ผิวและปริมาตร

คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32krookay2012
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)mickytanawin
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวTutor Ferry
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรkrookay2012
 
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1Sarayut Lawilai
 
Original sv [compatibility mode]
Original sv  [compatibility mode]Original sv  [compatibility mode]
Original sv [compatibility mode]Laongphan Phan
 
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3micnattawat
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรguestc1bd78
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4Krumatt Sinoupakarn
 
สูตรการหารพื้นที่
สูตรการหารพื้นที่สูตรการหารพื้นที่
สูตรการหารพื้นที่anuchit14thongkam
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1Manas Panjai
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมทับทิม เจริญตา
 

Similaire à พื้นที่ผิวและปริมาตร (20)

คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32คณิตศาสตร์ม.32
คณิตศาสตร์ม.32
 
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
พื้นที่และปริมาตร 1 (Area and volume 1)
 
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูปสรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
สรุปรวมสูตรการหาทั้ง5รูป
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิวคณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
คณิตศาสตร์ ม.3 เรื่องปริมาตรและพื้นที่ผิว
 
New open document text
New open document textNew open document text
New open document text
 
New open document text
New open document textNew open document text
New open document text
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตรเอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
เอกสารการสอนพื้นที่และปริมาตร
 
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
E0b89be0b8a3e0b8b4e0b8a1e0b8b2e0b895e0b8a3e0b89be0b8a3e0b8b4e0b88be0b8b6e0b8a1
 
Original sv [compatibility mode]
Original sv  [compatibility mode]Original sv  [compatibility mode]
Original sv [compatibility mode]
 
แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3 แผนคณิตม.3
แผนคณิตม.3
 
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3นายณัฐวัตร  ธรรมเที่ยง  563050356 3
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง 563050356 3
 
Sv Pyramid
Sv PyramidSv Pyramid
Sv Pyramid
 
พื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตรพื้นที่และปริมาตร
พื้นที่และปริมาตร
 
เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4เรขาคณิต มัทนา ป.4
เรขาคณิต มัทนา ป.4
 
สูตรการหารพื้นที่
สูตรการหารพื้นที่สูตรการหารพื้นที่
สูตรการหารพื้นที่
 
Matha15
Matha15Matha15
Matha15
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.6 ชุด 1
 
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึมตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
ตัวอย่างโจทย์พื้นที่ผิวปริซึม
 

Plus de Ritthinarongron School

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติRitthinarongron School
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงRitthinarongron School
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามRitthinarongron School
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นRitthinarongron School
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองRitthinarongron School
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นRitthinarongron School
 

Plus de Ritthinarongron School (12)

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริงความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจำนวนจริง
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
กราฟ
กราฟกราฟ
กราฟ
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
สถิติ
สถิติสถิติ
สถิติ
 
เศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนามเศษส่วนพหุนาม
เศษส่วนพหุนาม
 
ระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้นระบบสมการเชิงเส้น
ระบบสมการเชิงเส้น
 
ระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสองระบบสมการกำลังสอง
ระบบสมการกำลังสอง
 
พาราโบลา
 พาราโบลา พาราโบลา
พาราโบลา
 
ดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกายดัชนีมวลกาย
ดัชนีมวลกาย
 
ความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็นความน่าจะเป็น
ความน่าจะเป็น
 

พื้นที่ผิวและปริมาตร

  • 1. พื้นที่ผิวและปริมาตร โดย . . . ครูปราณี เสียงสนั่น โรงเรียนฤทธิณรงค์รอน
  • 2. ทบทวนสูตรพื้นที่รูปเรขาคณิตต่างๆ สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = 1 × ฐาน × สูง 2 3 _ × (ด้าน)2 สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า = 4 สูตร พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใดๆ = s( s  a )(s  b )(s  c ) a เมื่อ s = a + b + c b 2 c
  • 3. สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน × ด้าน สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง × ยาว สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = 1 × ผลบวกของด้านคู่ขนาน × สูง 2 สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน = ฐาน × สูง สูตร พื้นทีสี่เหลี่ยมใด ๆ = 1 × ความยาวเส้นทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเส้นกิ่ง ่ 2
  • 4. ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง รัศมีวงกลม = 2 รัศมี (r) รัศมี (r) สูตร ความยาวเส้นรอบวงของวงกลม = 2r สูตร พื้นที่วงกลม = r2 รัศมี (r) ค่าของ  1. ใช้ค่าเศษส่วนประมาณ 227 2. ใช้ทศนิยม ประมาณ 3.1416
  • 5. ทบทวนสูตรที่เกี่ยวข้องกับการหาพื้นที่และปริมาตร พ.ท.ของ = 1 x ฐาน x สูง 2 พ.ท. ของ ผ = กว้าง x ยาว พ.ท. ของ จ = ด้าน x ด้าน พ.ท. ข = ฐาน x สูง พ.ท. ค = 1 x (ผลบวกของด้านคู่ขนาน)x สูง 2 พ.ท.ของ = r2 ปริมาตร = พ.ท.ฐาน x สูง
  • 7. 1. ปริซึม ( PRISM ) ปริซึม ( PRISM ) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานทั้งสองเป็น รูปเหลี่ยมที่เท่ากันทุกประการ ฐานทั้งสองนั้นอยู่บนระนาบ ที่ขนานกัน และด้านข้างแต่ละด้านเป็นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน
  • 8. ปริซึมฐานสามเหลี่ยม ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า ปริซึมฐานสี่เหลี่ยมลูกบาศก์ ปริซึมฐานห้าเหลี่ยม ปริซึมฐานหกเหลี่ยม
  • 9. สารวจปริซึม พิจารณารูปของปริซึมห้าเหลี่ยมด้านเท่ามุมเท่า ต่อไปนี้ A E 1. ปริซึมมีทั้งหมดกี่หน้า ( 7 หน้า ) B D 2. รูปเหลี่ยมที่เป็นฐานของปริซึม มีกี่รูป ชื่ออะไร C ( 2 รูป คือ รูป ABCDE และรูป GHIJF ) G F 3. รูปเหลี่ยมที่เป็นด้านข้างของปริซึม มีกี่รูป ( 5 รูป ) H I J 4. รูปเหลี่ยมที่เป็นด้านข้างของปริซึมเท่ากันทุกหน้าหรือไม่ ( เท่ากัน ) 5. ส่วนสูงของปริซึมมีความยาวเท่ากันหรือไม่ ( เท่ากัน ) 6. ส่วนสูงของปริซึม คือส่วนของเส้นตรงใด (ส่วนของเส้นตรง AG , BH , CI , DJ , EF )
  • 10. การคลี่รูปปริซึมห้าเหลียมด้านเท่ามุมเท่า ต่อไปนี้ ่ เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า 5 รูป เป็นรูปห้าเหลี่ยม 2 รูป
  • 11. ทาแบบฝึกหัดหน้า 5 – 7 ในหนังสือเรียน 2. รูปคลี่ในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นรูปคลี่ของปริซึมชนิดใด 1) 3) 2) 4)
  • 13. ทรงกระบอก ( cylinder ) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติทมีฐานทั้ง ี่ สองเป็นรูปวงกลมที่เท่ากันทุกประการ และอยู่บนระนาบที่ขนานกัน และเมือตัดรูปเรขาคณิตสามมิตินั้นด้วยระนาบที่ขนานกับฐานแล้ว จะ ่ ได้หน้าตัดเป็นวงกลมที่เท่ากันทุกประการกับฐานเสมอ เรียกรูป เรขาคณิตสามมิตินั้นว่า “ ทรงกระบอก “
  • 14. ส่วนต่างๆ ของทรงกระบอก หน้าตัด หรือฐาน แกน ส่วนสูง h หน้าตัด หรือฐาน รัศมีฐาน r ทรงกระบอกตรง
  • 15. คลี่ส่วนของหน้าตัดออก รัศมีฐาน r r ความยาวรอบฐาน 2r ความสูง h r คลี่ส่วนข้างออกมา คลี่หน้าตัดออก สารวจทรงกระบอก หน้า 9- 10
  • 16. ปริมาตรของทรงกระบอก คือ ความจุของทรงกระบอก หาได้จาก หน้าตัด หรือฐาน รัศมีฐาน r สูตร ความยาวเส้นรอบวงของวงกลม = 2r แกน ส่วนสูง h สูตร พื้นที่วงกลม = r2 สูตร ปริมาตรของทรงกระบอก = r2 h
  • 17. ข้อ 5. หน้า 31 รัศมีฐาน r = 10.5 ซม. เค้กหนา 5 ซม. ตัดเค้กออกให้มีมุมที่จุดศูนย์กลาง 60 องศา ตัดเค้กออกให้มีมุมที่จุดศูนย์กลาง 60 องศา คิดเป็น 60 = 1 เท่าของเค้กทั้งก้อน 360 6 1 r2 h ) = 1 (22 x 10.52 x 5 ) ปริมาตรของเค้กที่ตัดออก = 6 6 7 ปริมาตรของเค้กที่ตัดออก = 288.75 ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • 18. ข้อ 8. หน้า 32 รัศมีฐาน r รัศมีฐาน 2r ส่วนสูง 2h ส่วนสูง h ปริมาตรของทรงกระบอกใบสูง = (r)2 (2h) = 2r2h ปริมาตรของทรงกระบอกใบเตี้ย = (2r)2 h = 4r2h ปริมาตรของทรงกระบอกใบเตี้ย = 2 เท่าของปริมาตรทรงกระบอกใบสูง น้้าพริกเผาขวดสูงราคาขวดละ 16 บาท ถ้าซื้อสองขวดราคา 16 x 2 = 32 บาท น้้าพริกเผาขวดเตี้ยราคาขวดละ 30 บาท ดังนั้นน้้าพริกเผาขวดเตี้ยราคาถูกกว่า
  • 19. ข้อ 10. หน้า 32 ใส่ข้าวที่ผสมแล้วลงในกระบอก = 2 ใน 3 ของความยาวของกระบอก กระบอกข้าวหลามมีเส้นผ่านศูนย์กลาง = 5 ซม.ดังนั้นรัศมี = 2.5 ซม. กระบอกข้าวหลามมีความยาวภายในที่ใช้บรรจุ = 30 ซม. ปริมาตรของข้าวหลาม 1 กระบอก  r 2 h  3.14 2.5  2.5 30 = 588.75 ลบ.ซม. ดังนั้น ข้าวหลาม 100 กระบอก มีปริมาตร = 100 x 588.75 = 58,875 ลบ.ซม. 58875 ลิตร = 58.875 ลิตร.  1000 ข้าวหลาม 100 กระบอก มีข้าวเหนียวขาว 1 ส่วน และ ข้าวเหนียวด้า 4 ส่วน 58.875 ลิตร = 11.775 ลิตร. ดังนั้นมี ข้าวเหนียวขาว  5 และมี ข้าวเหนียวด้า = 4 x 11.775 ลิตร. = 47.1 ลิตร.
  • 20. พื้นที่และปริมาตร พีระมิด( PYRAMID ) รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปเหลี่ยมใดๆ มียอด แหลมที่ไม่อยู่บนระนาบเดียวกันกับฐาน และหน้าทุกหน้าเป็น รูปสามเหลี่ยมที่มีจุดยอดร่วมกันที่ยอดแหลมนั้น เรียกว่า พีระมิด ( PYRAMID )
  • 21. พีระมิด แท่งพีระมิด ฐาน แผ่นคลี่
  • 22. พีระมิด ฐาน แท่งพีระมิด แผ่นคลี่
  • 23. พีระมิด ฐาน แท่งพีระมิด แผ่นคลี่
  • 24. ส่วนประกอบพีระมิด ยอด สัน สูงเอียง สูงเอียง ส่วนสูง ด้านฐาน ฐาน ความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน
  • 26. การเรียกชื่อพีระมิด เรียก ตามลักษณะรูปเหลี่ยมของฐาน พีระมิด พีระมิด พีระมิด พีระมิด สี่เหลี่ยมผืนผ้า หกเหลี่ยม สามเหลี่ยม ห้าเหลี่ยม
  • 27. พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานสามเหลี่ยม มี 3 ด้าน พ.ท.ผิวข้าง พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม มี 4 ด้าน พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานห้าเหลี่ยม มี 5 ด้าน พ.ท. ผิวข้างของพีระมิดฐานหกเหลี่ยม มี 6 ด้าน
  • 28. เรียกว่า “ สูงตรง “ เรียกว่า “ สัน “ เรียกว่า “ สูงเอียง “
  • 29. พื้นที่ผิวข้างของพีระมิด = 1 x ความยาวรอบรูปของฐาน x สูงเอียง 2 สารวจพีระมิด หน้า 12 - 14
  • 30. แบบฝึกหัด 1.2 ก 1. จงหาปริมาตรของปริซึมต่อไปนี้ (ความยาวที่กาหนดให้มีหน่วยเป็นเซนติเมตร) 1) ปริมาตร = พ.ท.ฐาน x สูง 6 ปริมาตร = (3 1x 2 4)x 6 4 3 1 ปริมาตร = 3.5 x 4 x 6 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2 ปริมาตร = 84 ลูกบาศก์เซนติเมตร Ans.
  • 31. 2) ปริมาตรส่วนล่าง = พ.ท.ฐาน x สูง 8 12 ปริมาตรส่วนล่าง = 12 x 16 x 4 ลบ.ซม. 4 ปริมาตรส่วนล่าง = 768 ลบ.ซม. 16 4 ปริมาตรรูปทรงส่วนบน = 1 (12 x 16 x 8) ลบ.ซม. 12 2 ปริมาตรของรูปทรงส่วนบน = 768 ลบ.ซม. ดังนัน ปริมาตรของรูปทรงทั้งหมด ้ = 768 + 768 ลบ.ซม. = 1,536 ลบ.ซม. Ans.
  • 32. 6) ปริมาตรส่วนที่แรเงา = พ.ท.ฐาน x สูง ปริมาตรส่วนที่แรเงา = 3 1 x 6 1x 15 3 15 2 2 3 ปริมาตรส่วนที่แรเงา = 3.5 x 6.5 x 15 4 1 3 2 6 1 2 ปริมาตรส่วนที่แรเงา = 341.25 4 6 1 2 ปริมาตรส่วนที่ไม่แรเงา = 2 x (3 x 4 x 6.5) ปริมาตรส่วนที่ไม่แรเงา = 156 ปริมาตรทั้งหมด = 341.5 + 156 = 497.5 ลูกบาศก์เซนติเมตร Ans.
  • 33. ข้อ 10 หน้า 26 12 ซม. ปริมาตรของเสาทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากทั้งต้น = พ.ท.ฐาน x สูง 5 ซม. = (1.5 x 100 ) x 20 x 20 12 ซม. ปริมาตรของเสาทรงสีเ่ หลี่ยมมุมฉากทั้งต้น = 60,000 ลูกบาศก์เซนติเมตร 8 ซม 20 ซม. ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านขวา = 5 x 20 x 12 20 – 12 – 5 = 3 ซม. ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านขวา = 1,200 ลูกบาศก์เซนติเมตร 1.5 เมตร ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านซ้าย = 3 x 20 x 8 20 ซม. ปริมาตรของเสาส่วนที่หายไปด้านซ้าย = 480 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อตัดเสาแล้วเสาต้นนี้มีปริมาตร = 60,000 – 1,200 - 480 ลูกบาศก์เซนติเมตร เมื่อตัดเสาแล้วเสาต้นนี้มีปริมาตร = 58,320 ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • 34. ตัวอย่าง จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดฐานสี่เหลียมจัตุรัส ซึ่งมี ่ ฐานยาวด้านละ 14 เซนติเมตร และสูง 24 เซนติเมตร ABCD เป็นฐานของพีระมิด มีความยาวด้านละ 14 เซนติเมตร VX เป็นส่วนสูงของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยม 24 จัตุรัส ซึ่งมีความยาว 24 เซนติเมตร VY เป็นส่วนสูงเอียงของพีระมิด D C X 7 Y A 14 B XY ตั้งฉากกับ VX ที่จุด X
  • 35. 4/ 144 ) จงหาพื้นที่ผิวของพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งมีด้านประกอบมุม ฉากยาว 32 เซนติเมตรและ 10 เซนติเมตร และมีความสูง 12 เซนติเมตร A ในสามเหลี่ยม ABC มุม C เป็นมุมฉาก ดังนั้น AB2 = AC2 + BC2 12 AB2 = 122 + 162 AB2 = 144 + 256 C B AB2 = 400 16 10 5 AB = 20 D 32
  • 36. การหา ความสูงเอียง กรณีมีความยาวสัน A พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านฐานยาวด้านละ 6 นิ้ว สันยาว 5 นิ้ว จงหาความสูงเอียง 5 ให้ AC เป็นสัน ยาว 5 นิ้ว และ AB เป็นความสูงเอียง BC เป็นความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน ยาว คือ 6 2 = 3 นิ้ว ตามทฤษฎีปีทาโกรัส ใน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC B 3C 6 AB2 + 32 = 52 AB2 = 25 - 9 AB2 = 16 AB2 = 4 x 4 AB = 4 ตอบ สูงเอียง 4 นิ้ว
  • 37. การหาความสูงเอียง กรณีมีส่วนสูง A พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านฐานยาวด้านละ 10 นี้ว 12 ส่วนสูงยาว 12 นิ้ว จงหาความสูงเอียง ให้ AC เป็นส่วนสูง ยาว 12 นิ้ว และ AB เป็นความสูงเอียง C 5 B BC เป็นความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน ยาว คือ 10 2 = 5 นิ้ว ตามทฤษฎีปีทาโกรัส ใน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC AB2 = 122 + 52 AB2 = 144 + 25 AB2 = 169 AB2 = 13 x 13 AB = 13 ตอบ สูงเอียง 13 นิ้ว
  • 38. การหาความสูง กรณีมสูงเอียง ี A พีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสมีด้านฐานยาวด้านละ 10 นี้ว สูงเอียงยาว 13 นิ้ว จงหาความสูง ให้ AB เป็นความสูงเอียง AC เป็นส่วนสูง C B BC เป็นความยาวครึ่งหนึ่งของด้านฐาน ยาว คือ 10 2 = 5 นิ้ว ตามทฤษฎีปีทาโกรัส ใน รูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC AC2 + 52 = 132 AC2 = 169 – 25 AC2 = 144 AC = 12 ตอบ ส่วนสูง 12 นิ้ว
  • 39. การหาปริมาตรพีระมิด ให้นักเรียนทดลอง จากกล่อง ทรงปริซึม จากสูตร ปริมาตรปริซึม = พื้นที่ฐาน x สูง เมื่อ พีระมิดที่มีส่วนสูงและฐานเท่ากับปริซึม เมื่อท้าการตวง จะได้ 3 ปริมาตรพีระมิด เท่ากับ 1 ปริมาตรปริซึม สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นที่ฐาน x สูง 3
  • 40. ตัวอย่างที่ 1) จงหาปริมาตรของพีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านฐานยาว ด้านละ 22 เซนติเมตร ส่วนสูง 15 เซนติเมตร สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นทีฐาน x สูง ่ 3 สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x (ด้าน x ด้าน) x สูง 3 สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x ( 22 x 22) x 15 3 ดังนั้น ปริมาตรของพีระมิดนี้ = 2,420 ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • 41. ตัวอย่างที่ 2 จงหาปริมาตรของพีระมิดตรงฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัส ด้านฐานยาว ด้านละ 14 เซนติเมตร ส่วนสูง 24 เซนติเมตร A สูตร ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นทีฐาน x สูง 3 ่ 24 1 ปริมาตรของพีระมิดนี้ = 3 x ( ด้าน x ด้าน ) x สูง C 14 14 = 1 x ( 14 x 14 ) x 24 3 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1,568 ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • 42. (ข้อ 4 หน้า 40 ) แก้วอันหนึ่งมีลักษณะเป็นพีระมิดฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสสองอันประกบกันและบรรจุอยู่ใน กล่องทรงสี่เหลี่ยมมุมฉากที่ยาวด้านละ 10 เซนติเมตร โดยจุดยอดทั้งหกของแก้วสัมผัส กล่องที่จุดกึ่งกลางของแต่ละหน้า ดังรูป ปริมาตรของแก้วนี้เป็นเท่าใด ภาพตัดขวาง จากทฤษฎีบทของพีธากอรัส จะได้ a  5  5 2 2 2 5 5 a 2  25  25  50 a a a  50  5 2 a a a5 2 5 1 ปริมาตรของแก้วทรงพีระมิด 2 ชิ้น   2  (a  a)  5 3 1   2  50  5  166.66 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3
  • 43. ข้อ 5 หน้า 40) ขนมเทียนมีฐานยาวด้านละ 4 ซม. สูง 3 ซม. จ้านวน 100 ห่อ ปริมาตรของขนม100 ห่อ =100 ( 1 พื้นที่ฐาน x สูง) x 3 1 3 ปริมาตรของขนมนี้ = 100 x 3 x 4 x 4 x 3 4 = 1600 ลูกบาศก์เซนติเมตร 4 ใช้แป้ง 2/3 ของเนื้อขนม = 2/3 x (1,600) ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1066.66 ลูกบาศก์เซนติเมตร = 1.06 ลิตร
  • 44. กรวย ( CONE) รูปเรขาคณิตสามมิติที่มีฐานเป็นรูปวงกลม มียอดแหลมที่ไม่อยู่บน ระนาบเดียวกันกับฐาน และเส้นที่ต่อระหว่างจุดยอดและจุดใดๆบนขอบของ ฐานเป็นส่วนของเส้นตรงเรียกรูปเรขาคณิตสามมิตินี้ว่า กรวย ฐานรูปวงกลม
  • 45. การวาดกรวย เริ่มวาดฐาน ลากส่วนสูง ในแนววงรี ในแนวดิ่ง หรือ ที่ตั้งฉากกับฐาน เริ่มวาดฐาน ลากส่วนสูง ในแนววงรี ในแนวดิ่ง หรือ ที่ตั้งฉากกับฐาน
  • 46. ยอด ส่วนสูงเอียง  ส่วนสูง h h ฐานรูปวงกลม r กรวยตรง รัศมีฐาน r กรวยเอียง
  • 47. ความสัมพันธ์ r , h ,  ยอด ตามทฤษฎีบทปีทาโกรัส ส่วนสูงเอียง  ส่วนสูง h ฐานรูปวงกลม h r รัศมีฐาน r กรวยตรง 2 = h2 + r2 สารวจทรงกรวย หน้า 15 - 17
  • 48. พื้นที่ผิวกรวย ส่วนของฐาน  พื้นที่ฐานเป็นรูปวงกลม r = r2 2r  ส่วนของข้างกรวย พื้นที่ผิวข้างของกรวย = r   พื้นที่ผิวของกรวย = พื้นที่ผิวข้างของกรวย + พื้นที่ฐานรูปวงกลม สูตร พื้นที่ผิวของกรวย = r  + r2
  • 49. h r 2  = h2 + r 2 สูตร พื้นที่ผิวข้างของกรวย = r  สูตร พื้นที่ฐานกรวย = r2 สูตร พื้นที่ผิวของกรวย = r  + r2
  • 50. ตัวอย่างที่ 1 แท่งไม้รูปร่างเป็นกรวยอันหนึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาว 12 เซนติเมตร ความสูง 8 เซนติเมตร จงหาพื้นที่ผิวกรวยนี้ แนวคิด ต้องหา รัศมี และสูงเอียง วิธีท้า กรวยมีรัศมียาว = เส้นผ่านศูนย์กลางหารด้วย 2 กรวยมีรัศมี = เส้นผ่า2นศูนย์กลาง h =8  = 12 2 r =6 = 6 ให้ ความสูงเอียง เป็น  2 ตามทฤษฎีบทปีทาโกรัส  = h2 + r 2  = 82 + 2 2 6 2  = 100
  • 51. = 10  = 10 h =8 r =6 สูตร พื้นที่ผิวของกรวย = r  + r2 =  r ( + r ) แทนค่าสูตร พื้นที่ผิวของกรวย = 22 × 6 × ( 10 + 6 ) 7 = 132 × ( 16 ) 7 = 2112 7 พื้นที่ผิวของกรวย = 301.71 ตารางเซนติเมตร
  • 52. ตัวอย่างที่ 2 ต้องการท้ากรวยจากกระดาษให้มีรัศมีปากกรวยยาว 21 เซนติเมตร ความสูงเอียง 35 เซนติเมตร กรวยนี้ไม่มีฐาน จงหาพื้นที่กระดาษที่จะใช้ท้ากรวย วิธีท้า สูตร พื้นที่ผิวข้างของกรวย =  r  5 แทนค่า ได้ พื้นที่ผิวข้างของกรวย = 22 × 21 × 35 7 1 = 22 × 21 × 5 = 2310 ใช้กระดาษมีพื้นที่ 2310 ตารางเซนติเมตร
  • 53. ตัวอย่างที่ 3 จงหาพื้นที่ผิวข้าง พื้นที่ฐาน พื้นที่ผิวทั้งหมด รูป พื้นที่ผิวข้าง พื้นที่ฐาน พื้นที่ผิวทั้งหมด l rl r 2 พื้นที่ผิวข้าง + พื้นที่ฐาน h6  63.248  28.285 22 22   3  45   32 r 3 7 7  91.533  63.248 22 l r h 2 2 2  9 7 l 2  32  62  28.285 l 2  9  36 l 2  45 l  45
  • 54. ปริมาตรของกรวย ทรงกระบอกมีรัศมีฐานยาว r หน่วย และสูง h หน่วย ทรงกระบอกมีปริมาตร = r2h สร้าง กรวยแต่ละอันมีรัศมียาว r หน่วย ให้เท่ากับรัศมีฐานทรงกระบอก และสูง h หน่วยเท่ากับรัศมีส่วนสูงทรงกระบอก ตวงทราย 3 กรวยใส่ได้เต็มทรงกระบอกพอดี ปริมาตรกรวย = 1 r2h 3
  • 55. สูตรปริมาตรกรวย = 1 r2h 3 r r แทนรัศมีฐานกรวย h h แทนความสูงของกรวย
  • 56. ตัวอย่างที่ 3 กรวยใส่ขนมมีเส้นผ่านศูนย์กลางของปากกรวยยาว 3 เซนติเมตร สูง 10 เซนติเมตร จงหาความจุของกรวยนี้ วิธีท้า ใช้รัศมีกรวย = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 = 3 2 สูตร ปริมาตรกรวย = 1  r2 h 3 แทนค่า ได้ ปริมาตรกรวย = 1 × 22 × [ 3 ]2 × 10 3 7 2 = 1 × 22 × 3 × 3 × 10 3 7 2 2 = 11 × 3 × 5 7 ปริมาตรกรวย = 35.57 ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • 57. ตัวอย่างที่ 4 กรวยใบตองจ้านวน 150 ชิ้น ใส่ขนมกล้วยได้ 1,100 ลูกบาศก์ เซนติเมตร และกรวยสูง 7 เซนติเมตร จงหาว่าเส้นผ่านศูนย์กลางของฐาน กรวยจะยาวเท่าใด วิธีท้า กรวย 150 ชิ้นจุได้ 1,100 ลูกบาศก์เซนติเมตร กรวย 1 ชิ้นจุได้ 1100 150 = 22 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3 ให้ r แทนรัศมีของกรวย สูตร ปริมาตรกรวย = 1  r2 h 3 1 แทนค่า 22 = 1 × 22 × r2 × 7 3 3 7 1 22 × 3 = r2 3 22
  • 58. r2 = 1 ได้ r = 1 ได้ รัศมีกรวยยาว = 1 เส้นผ่านศูนย์กลางยาว = 1× 2 = 2 เซนติเมตร
  • 59. ตัวอย่างที่ 5 กรวยอันหนึ่งสูงเอียง 17 เซนติเมตร มีเส้นผ่านศูนย์กลางของฐาน ยาว 16 เซนติเมตร จงหาปริมาตรกรวย วิธีท้า  = 17 สูตร ปริมาตรกรวย = 1  r2 h 3 สูง =h r =8 ใช้รัศมีกรวย = ความยาวเส้2 ผ่านศูนย์กลาง น = 16 2 = 8 จะต้องหาส่วนสูง ให้สูง = h 2 จากรูป ตามทฤษฎีปีทาโกรัส  = h2 + r 17 = h 2 2 + 282
  • 60. 172 = h2 + 82 172 - 82 = h2 289 - 64 = h2 225 = h2 15 = h สูตร ปริมาตรกรวย = 1 r2 h 3 5 ปริมาตรกรวย = 3 1 × 3.14 × 82 × 15 1 = 3.14 × 64 × 5 ปริมาตรกรวย = 1,004.8 ลูกบาศก์เซนติเมตร
  • 61. Sphere) ทรงกลม (sphere) คือ รูปเรขาคณิตสามมิติ ที่มีผิวโค้งเรียบ และจุดทุกจุดบนผิวโค้ง อยู่ห่างจากจุดคงที่เป็นระยะเท่ากัน เรียกว่า จุดศูนย์กลาง (center) ของทรงกลม และระยะทางคงที่เรียกว่า รัศมี (radius) ของ ทรงกลม
  • 62.
  • 63. 1) นาระนาบมาตัดทรงกลม แล้วหน้าตัดเป็นรูปอะไร ตอบ เป็นรูปวงกลม 2) รูปหน้าตัดทีได้มีขนาดเท่ากันหรือไม่ ่ ตอบ ไม่เท่ากัน 3) วงกลมใหญ่ของทรงกลมนี้ มีกี่วง ตอบ มีหลายวงนับไม่ถ้วน
  • 65. รัศมี = r รัศมี = r ทรงกระบอกสูง = 2r จากการใช้ทรงกลมแทนที่น้าในทรงกระบอก ถ้าน้าเต็มทรงกระบอกเป็น 3 ส่วน น้าจะล้นออกมา 2 ส่วน ดังนั้นปริมาตรของทรงกลม = 2 ใน 3 ของทรงกระบอก
  • 66. ปริมาตรทรงกระบอก = r  (2r ) 2  2r 3 2 ปริมาตรทรงกลม   (2r 3 ) 3 4 3 ปริมาตรทรงกลม  r 3
  • 67. 4 3  r 3 4   3.14  9  9  9 3
  • 68. 4 3  r 3 รัศมี = r = 2
  • 69. 1  2(  (12  4) 15) 2 12  240 4 15 12 a
  • 70. 8 a a 2  82  152 4 a 2  64  225  289 a  17
  • 71. 8  2Rh  2  3.14  6  23  866.64 23  2rh  2  3.14  4  23  577.76  R 2  r 2  (3.14  6  6)  (3.14  4  4) 12  113.04  50.24  62.8
  • 72. 1 สูตรพื้นทีผิวของรูปเรขาคณิต ่ พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยม = 1 × ฐาน × สูง 2 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่า = 4 3 _ × (ด้าน)2 พื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมใดๆ = s( s  a )(s  b )(s  c ) a b เมื่อ s = a + b + c c 2 สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส = ด้าน × ด้าน สูตร พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า = กว้าง × ยาว พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมคางหมู = 1 × ผลบวกของด้านคู่ขนาน × สูง 2
  • 73. พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน = ฐาน × สูง 1 พื้นทีสี่เหลี่ยมใด ๆ = 2 × ความยาวเส้นทแยงมุม × ผลบวกของความยาวของเส้นกิ่ง ่ รัศมีวงกลม = ความยาวเส้นผ่านศูนย์กลาง 2 สูตร ความยาวเส้นรอบวงของวงกลม = 2r สูตร พื้นที่วงกลม = r2 รัศมี ( r ) สูตรปริมาตรของรูปทรงเรขาคณิต ปริมาตรของปริซึม = พ.ท.ฐาน x สูง ปริมาตรของพีระมิด = 1 x พื้นทีฐาน x สูง ่ 3
  • 74. รัศมีหน้าตัด r ส่วนสูง h ค่าของ  ใช้ค่าเศษส่วนประมาณ 22 หรือ 3.1416 7 พื้นที่ผิวของทรงกระบอก = 2r ( r + h )  ปริมาตรของทรงกระบอก = r2 h พื้นที่ผิวของกรวย = r  + r2 r ปริมาตรของกรวย = 1 r2h 3 พื้นที่ผวทรงกลม ิ = 4r2 ปริมาตรทรงกลม  4 r 3 3 (r)