SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  49
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 2 Corporate Social Responsibility 
(CSR)
แนวคิด ความหมาย CSR 
มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความดูแล ช่วยเหลือ แบ่งปัน รักษา ใส่ใจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม 
จากเดิมที่นึกถึงแต่กาไร ยอดขาย หันมายึดหลักจริยธรรมในการ ดาเนินธุรกิจกับทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ ส่วนเสียกับองค์กร(stakeholders) 
แนวคิดด้าน องค์กร 
แนวคิดด้าน สังคม สิ่งแวดล้อม 
นามาสู่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เพิ่ม กาไร สร้างภาพลักษณ์ สร้างชื่อเสียงให้องค์กร
การประกอบธุรกิจโดยยึดหลักศีลธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล 
การปฎิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรอย่างมีคุณธรรม 
การเคารพสิทธิและปฎิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม 
การส่งเสริมให้พนักงานได้พัฒนาตนเอง (training courses) 
มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค 
การเข้าร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม 
การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม 
การจัดทารายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม 
แนวคิดหลักด้าน CSR
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร 
สื่อมวลชน 
พนักงาน&ครอบครัว 
องค์กร 
ลูกค้า 
ชุมชน สังคม 
ผู้ถือหุ้น 
คู่ค้า 
คู่แข่ง
ระดับของ CSR 
ระดับที่ 1 mandatory level 
องค์กรปฎิบัติตามข้อกาหนดของกฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่างๆ เช่น 
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษี กฎหมายด้าน สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างความรับผิดชอบภายในองค์กร ระหว่าง พนักงานด้วยกัน ระหว่างพนักงานกับงาน 
ระดับที่ 2 elementary level 
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่องค์กรให้แก่ผู้ถือหุ้น กาไรที่ได้ต้องไม่มาจาก การเบียดเบียนสังคม ขยายความรับผิดชอบไปยังลูกค้า ไม่เอาเปรียบ ผู้บริโภค ผลิตสินค้าที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน 
ระดับขั้นของ CSR
ระดับที่ 3 preemptive level 
จรรยาบรรณทางธุรกิจ องค์กรสร้างผลกาไรที่เหมาะสม และคานึงถึง ประโยชน์ของสังคมและประโยชน์ของชุมชนรอบตัวมากขึ้น เพิ่ม จิตสานึกของความรับผิดชอบ 
ระดับที่ 4 voluntary level 
องค์กรดาเนินธุรกิจควบคู่กับการดูแล รักษา สังคม ด้วยความสมัครใจ 
มุ่งสร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง 
ระดับของ CSR 
ระดับขั้นของ CSR
ISO 26000 
ทาไมต้องทา CSR ….ไม่ทาได้หรือไม่ 
กีดกันทางการค้า 
เลือกคู่ค้าที่CSR 
ปัญหากับชุมชน 
ผลกาไรลดลง 
เกณฑ์การกู้แบงค์ 
ยอดขายลดลง 
CSR-DIW 
ดังนั้น องค์กรต่างๆ และโรงงานอุตสาหกรรมจึงหันมาเดินหน้า เน้นสร้างคุณค่าขององค์กรด้วยการทา CSR กันอย่างจริงจัง จน CSR ได้กลายมาเป็นสิ่งจาเป็นและมีบทบาทในทุกองค์กร 
C S R
CSR-DIW 
โครงการส่งเสริมสถานประกอบการรวมพลังสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นสุขอย่างยั่งยืน 
Corporate Social Responsibility, Department of Industrial Works (CSR-DIW) 
วัตถุประสงค์ ส่งเสริมแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมแก่ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกกรมสามารถทางานร่วมกับ ชุมชนรอบข้างได้ดี และเพิ่มพูนขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างการเติบโต อย่างยั่งยืน
90% ต้องการให้องค์กรมุ่งช่วยสังคมบ้าง ไม่ใช่มุ่งแต่กาไรมากๆ 60% จะซื้อสินค้า&บริการจากธุรกิจที่รับผิดชอบต่อสังคม 
คานึงถึงหลักความปลอดภัยของพนักงานและลูกค้า 87% จะแนะนาสินค้าและบริการที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมให้ครอบครัว 84% ระบุว่า CSR ช่วยให้องค์กรมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น 
62% จะเปลี่ยนมาใช้บริการร้านค้าปลีกที่บริการสังคม 64% กิจกรรมที่มุ่งช่วยเหลือสังคมควรถือเป็นกิจกรรมตามปกติขององค์กร 
ผลการสารวจที่เกี่ยวข้องกับ CSR
กลุ่มคนต่างๆในสังคม (ลูกค้า พนักงาน ผู้ถือหุ้น คู่ค้า คู่แข่ง รัฐบาล สื่อมวลชน ประชาชนทั่วไป) ให้การยอมรับ 
องค์กรจะได้รับความเชื่อมั่นจากประชาชนแม้เกิดภาวะวิกฤต 
เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้แก่องค์กร 
สร้างจุดแข็งทางการตลาด สร้างภาพลักษณ์ ชื่อเสียงให้แก่องค์กร 
เพิ่มยอดขายและสัดส่วนทางการตลาดให้แก่องค์กร 
ประโยชน์ของการทา CSR 
ประโยชน์ของ CSR มีมากกว่าที่คิด
องค์กรมีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรฐานสาคัญๆของรัฐ 
สร้างแรงดึงดูดใจให้กับนักธุรกิจ นักลงทุน และนักการเงิน ลดค่าใช้จ่ายการดาเนินงานขององค์กร (ประหยัดน้า-ไฟ, รีไซเคิล) 
สามารถดึงดูด รักษา พนักงานที่มีคุณภาพให้อยู่กับองค์กรได้นาน 
สื่อมวลชนให้ความร่วมมือในการนาเสนอข่าวสารด้าน CSR 
ประโยชน์ของการทา CSR 
ประโยชน์ของ CSR มีมากกว่าที่คิด
Theme CSR กับการดาเนินธุรกิจขององค์กร 
CSR ของบริษัท Dell คอมพิวเตอร์ 
คอมพิวเตอร์ที่ใช้แล้วบริจาคให้หน่วยงานภาครัฐ ลดราคาสินค้าตัวใหม่ 10% เมื่อนาสินค้าตัวเก่ามาแลก รับบริจาค computer, printer เพื่อนามา recycle ใช้ใหม่ 
พนักงานร่วมบริจาคเงินโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ทุกเดือนก.ย พนักงาน Dell ทั่วโลก ร่วมทากิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม 
สร้างสรรค์โครงการการออกแบบสินค้าที่เน้นรักษาสิ่งแวดล้อม
Theme CSR กับการดาเนินธุรกิจขององค์กร 
CSR ของบริษัท McDonald’s 
ให้การสนับสนุนโครงการโอลิมปิคเยาวชน 
จัดรถ medical automobile ตรวจสุขภาพเด็กในชุมชน 
ร่วมมือกับภาคีต่างๆ ออกตรวจวัดสายตาให้แก่เด็กในชุมชน บ้าน Ronald McDonald เป็นที่พักแก่พ่อ-แม่ของเด็กที่ป่วยหนัก 
บริจาคเงินจากยอดขายสินค้าเข้ากองทุน เพื่อช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส 
จัดหาอาหารเลี้ยงให้แก่เจ้าหน้าที่กู้ภัยและอาสาสมัคร 
ลดการใช้บรรจุภัณฑ์ กระดาษ พลาสติก เลือก supplier ที่มีแนวทางการดาเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับแนวคิด CSR
สร้าง theme ที่โดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ 
ประเด็นปัญหาที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับธุรกิจขององค์กรหรือไม่ 
ประเด็นปัญหานั้นส่งผลดีต่อองค์กรในแง่ใดบ้าง เช่น ลดต้นทุน เลือกประเด็นปัญหาหลักที่องค์กรสนใจทาเพียง 2-3 ประเด็น 
ประเด็นปัญหานั้นทาให้ภาพขององค์กรเบี่ยงเบนจากธุรกิจหลักหรือไม่ 
ประเด็นปัญหานั้นจะส่งเสริมชื่อเสียง ภาพลักษณ์ขององค์กรได้อย่างไร 
แนวทางการสร้าง theme ของ CSR
แนวทางการสร้าง theme ของ CSR 
กลุ่มเป้าหมายหลัก-รอง คือกลุ่มใด ชุมชนรอบองค์กรหรือสังคมรวม 
กลุ่มหรือส่วนใดบ้างที่จะได้ประโยชน์จากประเด็นปัญหานั้น 
ประเด็นปัญหานั้นสาคัญมากหรือน้อยต่อสาธารณ โดดเด่นพอหรือไม่ 
พนักงานกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกับประเด็นดังกล่าวมากน้อยเพียงใด มีองค์กรภาครัฐ-เอกชน หยิบยกประเด็นนี้มาทา CSR อยู่หรือไม่
ถ้ามี องค์กรอื่นๆ เป็นพันธมิตรที่มีความเข้มแข็ง มีชื่อเสียงหรือไม่ ประเด็นปัญหานั้นคู่แข่งขององค์กรเคยหยิบยกมาทา CSR หรือไม่ 
ประเด็นปัญหานั้นอาจทาให้องค์กรถูกสังคมโจมตีได้หรือไม่ เป็นประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นเพียงช่วงระยะหนึ่ง (ไม่ถาวร) หรือไม่ 
ประเด็นปัญหานั้นจะส่งผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นขององค์กรหรือไม่ 
แนวทางการสร้าง theme ของ CSR
กิจกรน CSR 
กิจกรรมด้าน CSR แบ่งออกเป็น 5 ประเภทหลัก 
การส่งเสริมประเด็นสังคม 
การตลาดเพื่อสังคม 
การบริจาคโดยตรง 
อาสาสมัครช่วยเหลือชุมชน 
ข้อปฎิบัติทางธุรกิจเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม กิจกรรมด้าน CSR
การส่งเสริมประเด็นสังคม อาทิ 
ลดภาวะโลกร้อน 
สนับสนุนด้านการกีฬา 
ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส 
การสร้างสถานพยาบาล 
การช่วยเหลือสัตว์ การอนุรักษ์สัตว์ป่า 
การปลูกป่า การอนุรักษ์ธรรมชาติ แม่น้า ลาคลอง ประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพ (มะเร็งเต้านม หัวใจ สายตา บุหรี่ เหล้า การ ออกกาลัง) องค์กรอาจเป็นผู้ริเริ่มประเด็นทางสังคมนั้น หรือเข้าร่วม 
เป็นภาคีกับองค์กรอื่น 
กิจกรรมด้าน CSR
การตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) 
การหักเงินบางส่วนที่ได้จาการขายสินค้าหรือบริการเพื่อบริจาคให้ องค์กรการกุศล เช่น เติมน้ามันครบทุกๆ 100 บาท หัก 10 บาท เพื่อนาเงินเข้าการกุศล กิจกรรมในลักษณะนี้มักนามาใช้บางช่วงเวลา 
ใช้กับสินค้าบางตัว และเพื่อการกุศลบางโอกาส 
ข้อควรระวัง…ถ้ายอดรายได้การบริจาคน้อยเกินอาจดูไม่ดี ควรเปิดเผย ยอดบริจาคที่ได้ให้ชัดเจน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือขององค์กร กิจกรรมด้าน CSR
การบริจาคโดยตรง 
การบริจาคเป็นเงินสด 
จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือ 
การให้ทุนการศึกษา ทุนวิจัย 
การบริจาคสินค้า 
การบริจาคบริการ 
อนุญาติให้ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ 
กิจกรรมด้าน CSR
ขาดความเข้าใจมองว่า CSR เป็นหน้าที่ของรัฐ ไม่ใช่องค์กรธุรกิจ 
ทา CSR ไม่เต็มที่ ทาเพื่อให้ได้ภาพเล็กๆ น้อยๆ 
Theme ของ CSR ฉาบฉวย ไม่โดดเด่น ไม่โดน ทา CSR แนวกว้าง หลายประเด็น ไม่ลงลึก ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง 
ผู้บริหารไม่สนับสนุน มองเป็นต้นทุนเพิ่มขึ้น ไม่แน่ใจผลที่จะได้รับ 
ปัญหาและอุปสรรคของการทา CSR
Happy Workplace 
Happy Body 
ส่งเสริมสุขภาพแข็งแรง 
ตรวจสุขภาพประจาปี 
จัดให้มีห้องออกกาลังกาย 
รณรงค์งดสูบบุหรี่ 
Happy Heart 
ส่งเสริมให้เอื้อเฟื้อ ผูกพันกัน 
ช่วยเหลือพนักงานที่เจ็บป่วย 
ช่วยเหลือพนักงานที่ประสบอุบัติเหตุ 
Happy Relax 
จัดท่องเที่ยวประจาปี 
จัดแข่งขันกีฬา 
กิจกรรมเล่นเกมส์ชิงรางวัล 
Happy Brain 
อบรมเสริมความรู้ให้พนักงาน 
ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ 
จัดตั้งศูนย์อบรม สร้างระบบ KM
Happy Workplace 
Happy Soul 
ส่งเสริมการทางานควบคู่ศีลธรรม 
การร่วมทาบุญ กฐิน ผ้าป่า 
ส่งเสริมการทางานอย่างสุจริต 
Happy Money 
จัดตั้งชมรมออมทรัพย์ 
การให้ความรู้ด้านการออมเงิน 
พนักงานนาสินค้ามาขายในองค์กร 
Happy Family 
จัดโครงการเยี่ยมพนักงานที่บ้าน 
ให้ทุนการศึกษาแก่บุตรพนักงาน 
เยี่ยมเยียนพนักงานคลอดบุตร 
Happy Society 
ส่งเสริมให้พนักงานช่วยเหลือสังคม 
จัดตั้งชมรมบาเพ็ญประโยชน์ 
การปลูกป่าลดภาวะโลกร้อน
งบประมาณจึงไม่เพียงพอ (ควรมอง CSR เป็นวัฒนธรรมองค์กร) กิจกรรม CSR ขององค์กร ไม่ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเท่าที่ควร องค์กรส่วนมากทา CSR เน้นการบริจาค บริการ เป็น CSR ที่ไม่ยั่งยืน 
รูปแบบ CSR ควรเน้นที่การพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน 
ปัญหาและอุปสรรคของการทา CSR
ขาดการทา CSR กับพนักงานภายในองค์กร ทาให้พนักงานไม่ค่อยให้ ความร่วมมือในการทา CSR กับชุมชน สังคมภายนอก 
ขาดการสื่อสาร ทาความเข้าใจ อย่างเป็นระบบกับพนักงานภายในองค์กร ถึงแนวคิด วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของ CSR กิจกรรม CSR ไม่เชื่อมโยง product ไม่สะท้อนอัตลักษณ์องค์กร 
ปัญหาและอุปสรรคของการทา CSR
ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด 
ควรเริ่มกิจกรรม CSR จากภายในสู่ภายนอก Inner CSR 
ควรปลูกฝังค่านิยมเรื่องของการช่วยเหลือ การแบ่งปัน ความรับผิดชอบ ให้แก่พนักงานในองค์กรเพื่อสร้างคนที่มีจิตอาสา สร้างทีมงาน CSR ประกอบด้วยบุคคลากรจากหลายฝ่ายช่วยกัน เขียนแผนงานด้าน CSR อย่างเป็นขั้นตอน พร้อมกาหนดผู้รับผิดชอบ โดยตรง สามารถติดตามประเมินผลได้ ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด 
วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสขององค์กร เพื่อหาประเด็นทา CSR ควรสร้างประเด็น CSR ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับการดาเนินธุรกิจ 
ประเด็น CSR มีเพียง 2-4 ประเด็น ไม่กระจัดกระจาย สร้างกิจกรรม CSR กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆขององค์กร 
ระบุให้ชัดเจนว่ากิจกกรมนั้นมุ่ง target กลุ่มไหน 
ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด 
กาหนดวัตถุประสงค์ของการทา CSR ให้ชัดเจนและแจ้งให้พนักงาน ทราบเพื่อให้ได้ความร่วมมือจากพนักงาน ต้องเข้าใจแนวคิด CSR เข้าใจแก่น และเน้นทา CSR แบบยั่งยืน 
ควรทากิจกรรม CSR อย่างต่อเนื่อง ไม่ควรคิดทา CSR เพียงเพื่อต่อยอด สร้างแบรนด์เท่านั้น ควรทา CSR ในเชิงรุก (ไม่ใช่รอให้ปัญหาเกิดแล้วค่อยแก้ไข) 
ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด 
ไม่ประเมินความสาเร็จของ CSR จากจานวนคนที่เข้าร่วม แต่ต้อง คานึงถึงประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายจะได้รับ เข้าหา opinion leader ให้ชุมชนมีส่วนร่วมจัดทาแผน CSR 
ควรมีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างองค์กรกับชุมชน 
จัดสรรงบประมาณด้าน CSR ให้เหมาะสม 
ติดตามผลกิจกรรมที่ดาเนินอยู่ และประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
ตัวอย่างกิจกรรม CSR 
TOYOTA 
บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) 
พลิกใจให้พอเพียง 
บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) 
ธนาคารไทยพาณิชย์ 
บริษัท ผลิตไฟฟ้า จากัด (มหาชน)
โรงแรม ดุสิตดีทู บาราคูด้า พัทยา ได้รับรางวัลชนะเลิศ อาเซียนต้า อวอร์ด ปี2011 ประเภทส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมยอดเยี่ยม จากสมาคมการท่องเที่ยวอาเซียน ในโครงการที่ชื่อว่า “พานีโม่น้อยกลับบ้าน” ปัญหาของปลาการ์ตูนคือ เกิดเป็นธุรกิจจับปลาการ์ตูน จนมีแนวโน้มจะสูญพันธุ์ ดุสิตดีทู บาราคูด้า พัทยา และธุรกิจดาน้า ในพัทยา หยิบแนวคิดต่อชีวิตปลานีโม่ คืนสู่ทะเลจากการดาน้าลึก เป้าหมาย เพิ่มจานวนปลานีโม่ & ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม ตอบโจทย์ตัวตนองค์กรในเรื่องสีส้ม สีเดียวกับองค์กร ความหมายเดียวกับชื่อของโรงแรมซึ่งแปลว่าปลาสาก เป็นเรื่องทะเล ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของโรงแรมในเมืองพัทยา”
Product Development เน้น 4Ps สินค้าดีอย่างไร มีคุณภาพน่าเชื่อถือมากแค่ไหน ประโยชน์อย่างไร เน้นสร้างความต้องการใช้สินค้า ไม่สนใจว่าผู้บริโภคจะรู้สึกอย่างไร Product Oriented 
Marketing 1.0
Marketing 2.0 STP Segmentation คือการแบ่งตลาดเป็นส่วนๆ Targeting สุดท้ายคือการวางตาแหน่งครองใจลูกค้า Positioning เกิดแนวคิด CRM CEM เริ่มมี social media Customer Oriented เน้น emotion ของลูกค้า
บริษัทที่มุ่งหวัง แก้ไขปัญหา สังคมที่ยุ่งเหยิงมีแต่ความขัดแย้ง แก้ปัญหาความยากจน และความ เสื่อมโทรมของธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ทาให้ชีวิตประจาวัน ของคนดีขึ้น ผ่านพันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยมของบริษัท คุณค่าที่เน้น ในยุคนี้คือ Spiritual Value & Creative Value ให้กับ ลูกค้า เกิดแนวคิด CSR เพื่อสังคม อย่างแท้จริง และยั่งยืน ไม่ใช่เพื่อ ภาพลักษณ์องค์กรแต่อย่างเดียว
CRM 
CRM คือ การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยการใช้เทคโนโลยีและ บุคลากรอย่างมีกลยุทธ์ CRM ไม่ใช่แค่การบริการ แต่รวมถึงการเก็บข้อมูลทุกแง่มุมของลูกค้า และนาข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์เพื่อหาความต้องการที่แท้จริงของ ลูกค้า เปลี่ยนจากผู้บริโภคไปสู่การเป็นลูกค้าตลอดไป 
การแข่งขันทางการตลาดอย่างรุนแรงทาให้องค์กรไม่มองลูกค้าใน รูปของ Mass อีกต่อไป แต่จะหันไปให้ความสาคัญเฉพาะรายมากกว่า สร้างความสัมพันธ์แบบ One to One, Customization
Customer Touch Points กับ CRM 
Customer Touch Points คือ ช่องทางที่ลูกค้าสามารถติดต่อ หรือพบเห็นองค์กรได้ 
ประเภทของ Customer Touch Points 
ไม่ใช่บุคคล เช่น โลโก้ สี สโลแกน เครื่องแบบ นามบัตร โฆษณา Event, Web site, 
เป็นบุคคล เช่น พนักงานต้อนรับ พนักงานขาย รปภ., 
Call Center
เป้าหมายของ CRM 
เก็บรวบรวมข้อมูลและความต้องการของลูกค้า 
นาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ 
พัฒนาสินค้า บริการ ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า 
เป้าหมายคือ การเปลี่ยนจากผู้บริโภคไปสู่ ลูกค้าตลอดไป 
Customer Loyalty
ทาไมต้อง CRM 
เก็บรวบรวมข้อมูลของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ 
กาหนดแผนการโฆษณาและสื่อสารการตลาดได้อย่างเหมาะสม เข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ตรงตามความต้องการของลูกค้า 
เพิ่มลูกค้าใหม่และรักษาฐานลูกค้าเดิมไว้ได้อย่างเหนียวแน่น 
ลดค่าใช้จ่ายในการหาลูกค้าใหม่ 
ขยายโอกาสทางการแข่งขัน 
ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร 
สร้าง Brand Loyalty
ทาไมต้อง CRM 
สร้างความแตกต่าง 
สร้างการจดจา 
สร้างจุดขาย แข่งขันได้ 
สร้างชื่อเสียง ภาพลักษณ์ 
สร้างแบรนด์ โดดเด่น 
สร้างฐานลูกค้าถาวร 
สร้างผลกาไรระยะยาว
Relaxed Atmosphere ตอบสนองความต้องการของลูกค้า
CRM
ทาอย่างไรให้ CRM สาเร็จ 
ผู้บริหารระดับสูงต้องสนับสนุน 
กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน ประเมินได้ สร้างความรู้ ความเข้าใจกับพนักงาน ว่าเรากาลังจะทาอะไร 
กาหนดกลุ่มลูกค้า และคู่แข่งขันให้ชัดเจน 
เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน จนน่าเบื่อ 
แต่ บุคลกรในองค์กร ก็คือหัวใจหลักของ CRM 
Happy Workplace กับพนักงานจึงสาคัญ
ทาอย่างไรให้ CRM สาเร็จ 
Update ข้อมูล ไม่ปล่อยให้เป็น dated data 
นาก้อนข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ สังเคราะห์เป็นกลยุทธ์ CRM 
ประเมินด้วยว่า Customers’ Demand คืออะไร ประเมินองค์กรว่า ควรสร้างกลยุทธ์ CRM ในรูปแบบใด 
ดูแลเอาใจใส่ทุก Customer Touch Points 
Evaluation อย่างสม่าเสมอ
เครื่องกีดขวาง CRM 
ผู้บริหารองค์กร 
นโยบายองค์กร 
บุคลากรในองค์กร 
วัฒนธรรมองค์กร 
เทคโนโลยีขององค์กร
การบูรณาการ 4C
Practical Workshop : Strategic CSR 
กาหนดชื่อกลุ่ม 
กาหนดชื่อกิจกรรม CSR 
กาหนด theme CSR 
รูปแบบ/ลักษณะของกิจกรรม CSR 
กาหนดกลุ่มเป้าหมายหลัก-รอง 
วิธีการดาเนินงาน ขั้นตอน เพื่อให้ประสบผลสาเร็จ 
จุดเด่นของกิจกรรม CSR 
เหตุผลที่เลือกกลยุทธ์ หรือ theme นี้ ทา CSR 
กลยุทธ์ CSR นี้ เชื่อมโยงกับองค์กรอย่างไร 
PR เผยแพร่กิจกรรม CSR นี้ อย่างไร สร้างสรรค์กลยุทธ์ด้าน CRM ที่เหมาะกับองค์กรมา 1 กลยุทธ์
บทที่ 2 corporate social responsibility

Contenu connexe

Tendances

2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketinghalato
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างTeetut Tresirichod
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการThamonwan Theerabunchorn
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptSuppanut Wannapong
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์Teetut Tresirichod
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri nokpackkreem
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจCherie Pink
 

Tendances (20)

2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
บทที่ 6 พฤติกรรมมนุษย์ในองค์การสมัยใหม่
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 3 วิธีจัดซื้อจัดจ้าง
 
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่ายบทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
บทที่7ช่องทางการจัดจำหน่าย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัดตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
ตัวอย่างแผนธุรกิจบริษัทเสียงดีจำกัด
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการบทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
บทที่ 2 การเป็นผู้ประกอบการ
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning  (Ch 4) for IMC student ClassBranding&Positioning  (Ch 4) for IMC student Class
Branding&Positioning (Ch 4) for IMC student Class
 
แผน Imc
แผน Imcแผน Imc
แผน Imc
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.ppt
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
บทที่ 2 การจัดซื้อกับโลจิสติกส์
 
Case Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu ThailandCase Study : Serksu Thailand
Case Study : Serksu Thailand
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
Car 1 SupawadeeMaetasiri
Car 1  SupawadeeMaetasiri Car 1  SupawadeeMaetasiri
Car 1 SupawadeeMaetasiri
 
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
ตัวอย่างบทสรุปผู้บริหารโครงการบ่มเพาะธุรกิจ
 

Similaire à บทที่ 2 corporate social responsibility

เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยsomsak kathong
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)Pongsa Pongsathorn
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5Vivace Narasuwan
 
งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1
งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1
งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1pattaranan
 
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมการอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมDental Faculty,Phayao University.
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Chanchot Jombunud
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Chanchot Jombunud
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Chanchot Jombunud
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
Green post office
Green post officeGreen post office
Green post officeTanin Tumth
 

Similaire à บทที่ 2 corporate social responsibility (20)

Csr
CsrCsr
Csr
 
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัยเทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
เทคนิคการทำงานแบบมีส่วนร่วม Eco School กิติชัย
 
Corporate Social Responsibility (CSR)
Corporate Social Responsibility  (CSR)Corporate Social Responsibility  (CSR)
Corporate Social Responsibility (CSR)
 
Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122Csr พงศธร550122
Csr พงศธร550122
 
TEAMGroup CSR
TEAMGroup CSRTEAMGroup CSR
TEAMGroup CSR
 
TEAM Group CSR
TEAM Group CSRTEAM Group CSR
TEAM Group CSR
 
Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013
Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013
Forging Synergy For TEAM GROUP CSR 2013
 
Prและสังคม5
Prและสังคม5Prและสังคม5
Prและสังคม5
 
Learning Organization
Learning OrganizationLearning Organization
Learning Organization
 
งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1
งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1
งานนำเสนอผู้มีหัวใจพัฒนาตนเอง1
 
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคมการอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
การอบรมเชิงปฏิบัติการ สุนทรียปรัศนี นวัตกรสังคม
 
Story nok
Story nokStory nok
Story nok
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
 
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
Ihdc profile and roadmap 2016-2019 jan.25,2560
 
High performance culture
High performance cultureHigh performance culture
High performance culture
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
Green post office
Green post officeGreen post office
Green post office
 
Sub report update 2560
Sub report update 2560 Sub report update 2560
Sub report update 2560
 
Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560Sustainable Report 2560
Sustainable Report 2560
 

Plus de Rungnapa Rungnapa

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานRungnapa Rungnapa
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยRungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 

Plus de Rungnapa Rungnapa (20)

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch7
Ch7Ch7
Ch7
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 

บทที่ 2 corporate social responsibility

  • 1. บทที่ 2 Corporate Social Responsibility (CSR)
  • 2. แนวคิด ความหมาย CSR มีความรับผิดชอบต่อสังคม ให้ความดูแล ช่วยเหลือ แบ่งปัน รักษา ใส่ใจ สังคม ชุมชน และสิ่งแวดล้อม จากเดิมที่นึกถึงแต่กาไร ยอดขาย หันมายึดหลักจริยธรรมในการ ดาเนินธุรกิจกับทุกฝ่ายที่มีส่วนได้ ส่วนเสียกับองค์กร(stakeholders) แนวคิดด้าน องค์กร แนวคิดด้าน สังคม สิ่งแวดล้อม นามาสู่ การพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน เพิ่ม กาไร สร้างภาพลักษณ์ สร้างชื่อเสียงให้องค์กร
  • 3. การประกอบธุรกิจโดยยึดหลักศีลธรรม จริยธรรม ธรรมาภิบาล การปฎิบัติต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียขององค์กรอย่างมีคุณธรรม การเคารพสิทธิและปฎิบัติต่อแรงงานอย่างเป็นธรรม การส่งเสริมให้พนักงานได้พัฒนาตนเอง (training courses) มีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค การเข้าร่วมพัฒนาชุมชนและสังคม การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม การจัดทารายงานด้านสังคมและสิ่งแวดล้อม แนวคิดหลักด้าน CSR
  • 4. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับองค์กร สื่อมวลชน พนักงาน&ครอบครัว องค์กร ลูกค้า ชุมชน สังคม ผู้ถือหุ้น คู่ค้า คู่แข่ง
  • 5. ระดับของ CSR ระดับที่ 1 mandatory level องค์กรปฎิบัติตามข้อกาหนดของกฎหมาย และกฎเกณฑ์ต่างๆ เช่น กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค กฎหมายแรงงาน กฎหมายภาษี กฎหมายด้าน สิ่งแวดล้อม รวมทั้งสร้างความรับผิดชอบภายในองค์กร ระหว่าง พนักงานด้วยกัน ระหว่างพนักงานกับงาน ระดับที่ 2 elementary level ประโยชน์ทางเศรษฐกิจที่องค์กรให้แก่ผู้ถือหุ้น กาไรที่ได้ต้องไม่มาจาก การเบียดเบียนสังคม ขยายความรับผิดชอบไปยังลูกค้า ไม่เอาเปรียบ ผู้บริโภค ผลิตสินค้าที่ปลอดภัยได้มาตรฐาน ระดับขั้นของ CSR
  • 6. ระดับที่ 3 preemptive level จรรยาบรรณทางธุรกิจ องค์กรสร้างผลกาไรที่เหมาะสม และคานึงถึง ประโยชน์ของสังคมและประโยชน์ของชุมชนรอบตัวมากขึ้น เพิ่ม จิตสานึกของความรับผิดชอบ ระดับที่ 4 voluntary level องค์กรดาเนินธุรกิจควบคู่กับการดูแล รักษา สังคม ด้วยความสมัครใจ มุ่งสร้างประโยชน์ให้แก่ชุมชนและสังคมอย่างแท้จริง ระดับของ CSR ระดับขั้นของ CSR
  • 7. ISO 26000 ทาไมต้องทา CSR ….ไม่ทาได้หรือไม่ กีดกันทางการค้า เลือกคู่ค้าที่CSR ปัญหากับชุมชน ผลกาไรลดลง เกณฑ์การกู้แบงค์ ยอดขายลดลง CSR-DIW ดังนั้น องค์กรต่างๆ และโรงงานอุตสาหกรรมจึงหันมาเดินหน้า เน้นสร้างคุณค่าขององค์กรด้วยการทา CSR กันอย่างจริงจัง จน CSR ได้กลายมาเป็นสิ่งจาเป็นและมีบทบาทในทุกองค์กร C S R
  • 8. CSR-DIW โครงการส่งเสริมสถานประกอบการรวมพลังสร้างความรับผิดชอบต่อสังคม เป็นสุขอย่างยั่งยืน Corporate Social Responsibility, Department of Industrial Works (CSR-DIW) วัตถุประสงค์ ส่งเสริมแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมแก่ผู้ประกอบการ อุตสาหกรรม สนับสนุนให้ผู้ประกอบการอุตสาหกกรมสามารถทางานร่วมกับ ชุมชนรอบข้างได้ดี และเพิ่มพูนขีดความสามารถในการแข่งขัน สร้างการเติบโต อย่างยั่งยืน
  • 9. 90% ต้องการให้องค์กรมุ่งช่วยสังคมบ้าง ไม่ใช่มุ่งแต่กาไรมากๆ 60% จะซื้อสินค้า&บริการจากธุรกิจที่รับผิดชอบต่อสังคม คานึงถึงหลักความปลอดภัยของพนักงานและลูกค้า 87% จะแนะนาสินค้าและบริการที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อมให้ครอบครัว 84% ระบุว่า CSR ช่วยให้องค์กรมีภาพลักษณ์ที่ดีขึ้น 62% จะเปลี่ยนมาใช้บริการร้านค้าปลีกที่บริการสังคม 64% กิจกรรมที่มุ่งช่วยเหลือสังคมควรถือเป็นกิจกรรมตามปกติขององค์กร ผลการสารวจที่เกี่ยวข้องกับ CSR
  • 10. กลุ่มคนต่างๆในสังคม (ลูกค้า พนักงาน ผู้ถือหุ้น คู่ค้า คู่แข่ง รัฐบาล สื่อมวลชน ประชาชนทั่วไป) ให้การยอมรับ องค์กรจะได้รับความเชื่อมั่นจากประชาชนแม้เกิดภาวะวิกฤต เพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้แก่องค์กร สร้างจุดแข็งทางการตลาด สร้างภาพลักษณ์ ชื่อเสียงให้แก่องค์กร เพิ่มยอดขายและสัดส่วนทางการตลาดให้แก่องค์กร ประโยชน์ของการทา CSR ประโยชน์ของ CSR มีมากกว่าที่คิด
  • 11. องค์กรมีส่วนร่วมในการกาหนดมาตรฐานสาคัญๆของรัฐ สร้างแรงดึงดูดใจให้กับนักธุรกิจ นักลงทุน และนักการเงิน ลดค่าใช้จ่ายการดาเนินงานขององค์กร (ประหยัดน้า-ไฟ, รีไซเคิล) สามารถดึงดูด รักษา พนักงานที่มีคุณภาพให้อยู่กับองค์กรได้นาน สื่อมวลชนให้ความร่วมมือในการนาเสนอข่าวสารด้าน CSR ประโยชน์ของการทา CSR ประโยชน์ของ CSR มีมากกว่าที่คิด
  • 12. Theme CSR กับการดาเนินธุรกิจขององค์กร CSR ของบริษัท Dell คอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ที่ใช้แล้วบริจาคให้หน่วยงานภาครัฐ ลดราคาสินค้าตัวใหม่ 10% เมื่อนาสินค้าตัวเก่ามาแลก รับบริจาค computer, printer เพื่อนามา recycle ใช้ใหม่ พนักงานร่วมบริจาคเงินโครงการต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม ทุกเดือนก.ย พนักงาน Dell ทั่วโลก ร่วมทากิจกรรมด้านสิ่งแวดล้อม สร้างสรรค์โครงการการออกแบบสินค้าที่เน้นรักษาสิ่งแวดล้อม
  • 13. Theme CSR กับการดาเนินธุรกิจขององค์กร CSR ของบริษัท McDonald’s ให้การสนับสนุนโครงการโอลิมปิคเยาวชน จัดรถ medical automobile ตรวจสุขภาพเด็กในชุมชน ร่วมมือกับภาคีต่างๆ ออกตรวจวัดสายตาให้แก่เด็กในชุมชน บ้าน Ronald McDonald เป็นที่พักแก่พ่อ-แม่ของเด็กที่ป่วยหนัก บริจาคเงินจากยอดขายสินค้าเข้ากองทุน เพื่อช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส จัดหาอาหารเลี้ยงให้แก่เจ้าหน้าที่กู้ภัยและอาสาสมัคร ลดการใช้บรรจุภัณฑ์ กระดาษ พลาสติก เลือก supplier ที่มีแนวทางการดาเนินธุรกิจที่สอดคล้องกับแนวคิด CSR
  • 14. สร้าง theme ที่โดดเด่น และเป็นเอกลักษณ์ ประเด็นปัญหาที่สร้างขึ้นสอดคล้องกับธุรกิจขององค์กรหรือไม่ ประเด็นปัญหานั้นส่งผลดีต่อองค์กรในแง่ใดบ้าง เช่น ลดต้นทุน เลือกประเด็นปัญหาหลักที่องค์กรสนใจทาเพียง 2-3 ประเด็น ประเด็นปัญหานั้นทาให้ภาพขององค์กรเบี่ยงเบนจากธุรกิจหลักหรือไม่ ประเด็นปัญหานั้นจะส่งเสริมชื่อเสียง ภาพลักษณ์ขององค์กรได้อย่างไร แนวทางการสร้าง theme ของ CSR
  • 15. แนวทางการสร้าง theme ของ CSR กลุ่มเป้าหมายหลัก-รอง คือกลุ่มใด ชุมชนรอบองค์กรหรือสังคมรวม กลุ่มหรือส่วนใดบ้างที่จะได้ประโยชน์จากประเด็นปัญหานั้น ประเด็นปัญหานั้นสาคัญมากหรือน้อยต่อสาธารณ โดดเด่นพอหรือไม่ พนักงานกระตือรือร้นที่จะเข้าร่วมกับประเด็นดังกล่าวมากน้อยเพียงใด มีองค์กรภาครัฐ-เอกชน หยิบยกประเด็นนี้มาทา CSR อยู่หรือไม่
  • 16. ถ้ามี องค์กรอื่นๆ เป็นพันธมิตรที่มีความเข้มแข็ง มีชื่อเสียงหรือไม่ ประเด็นปัญหานั้นคู่แข่งขององค์กรเคยหยิบยกมาทา CSR หรือไม่ ประเด็นปัญหานั้นอาจทาให้องค์กรถูกสังคมโจมตีได้หรือไม่ เป็นประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้นเพียงช่วงระยะหนึ่ง (ไม่ถาวร) หรือไม่ ประเด็นปัญหานั้นจะส่งผลกระทบต่อผู้ถือหุ้นขององค์กรหรือไม่ แนวทางการสร้าง theme ของ CSR
  • 17. กิจกรน CSR กิจกรรมด้าน CSR แบ่งออกเป็น 5 ประเภทหลัก การส่งเสริมประเด็นสังคม การตลาดเพื่อสังคม การบริจาคโดยตรง อาสาสมัครช่วยเหลือชุมชน ข้อปฎิบัติทางธุรกิจเพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม กิจกรรมด้าน CSR
  • 18. การส่งเสริมประเด็นสังคม อาทิ ลดภาวะโลกร้อน สนับสนุนด้านการกีฬา ช่วยเหลือเด็กด้อยโอกาส การสร้างสถานพยาบาล การช่วยเหลือสัตว์ การอนุรักษ์สัตว์ป่า การปลูกป่า การอนุรักษ์ธรรมชาติ แม่น้า ลาคลอง ประเด็นเกี่ยวกับสุขภาพ (มะเร็งเต้านม หัวใจ สายตา บุหรี่ เหล้า การ ออกกาลัง) องค์กรอาจเป็นผู้ริเริ่มประเด็นทางสังคมนั้น หรือเข้าร่วม เป็นภาคีกับองค์กรอื่น กิจกรรมด้าน CSR
  • 19. การตลาดเพื่อสังคม (Social Marketing) การหักเงินบางส่วนที่ได้จาการขายสินค้าหรือบริการเพื่อบริจาคให้ องค์กรการกุศล เช่น เติมน้ามันครบทุกๆ 100 บาท หัก 10 บาท เพื่อนาเงินเข้าการกุศล กิจกรรมในลักษณะนี้มักนามาใช้บางช่วงเวลา ใช้กับสินค้าบางตัว และเพื่อการกุศลบางโอกาส ข้อควรระวัง…ถ้ายอดรายได้การบริจาคน้อยเกินอาจดูไม่ดี ควรเปิดเผย ยอดบริจาคที่ได้ให้ชัดเจน เพื่อสร้างความน่าเชื่อถือขององค์กร กิจกรรมด้าน CSR
  • 20. การบริจาคโดยตรง การบริจาคเป็นเงินสด จัดตั้งกองทุนเพื่อช่วยเหลือ การให้ทุนการศึกษา ทุนวิจัย การบริจาคสินค้า การบริจาคบริการ อนุญาติให้ใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ กิจกรรมด้าน CSR
  • 21. ขาดความเข้าใจมองว่า CSR เป็นหน้าที่ของรัฐ ไม่ใช่องค์กรธุรกิจ ทา CSR ไม่เต็มที่ ทาเพื่อให้ได้ภาพเล็กๆ น้อยๆ Theme ของ CSR ฉาบฉวย ไม่โดดเด่น ไม่โดน ทา CSR แนวกว้าง หลายประเด็น ไม่ลงลึก ไม่เห็นการเปลี่ยนแปลง ผู้บริหารไม่สนับสนุน มองเป็นต้นทุนเพิ่มขึ้น ไม่แน่ใจผลที่จะได้รับ ปัญหาและอุปสรรคของการทา CSR
  • 22. Happy Workplace Happy Body ส่งเสริมสุขภาพแข็งแรง ตรวจสุขภาพประจาปี จัดให้มีห้องออกกาลังกาย รณรงค์งดสูบบุหรี่ Happy Heart ส่งเสริมให้เอื้อเฟื้อ ผูกพันกัน ช่วยเหลือพนักงานที่เจ็บป่วย ช่วยเหลือพนักงานที่ประสบอุบัติเหตุ Happy Relax จัดท่องเที่ยวประจาปี จัดแข่งขันกีฬา กิจกรรมเล่นเกมส์ชิงรางวัล Happy Brain อบรมเสริมความรู้ให้พนักงาน ส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ จัดตั้งศูนย์อบรม สร้างระบบ KM
  • 23. Happy Workplace Happy Soul ส่งเสริมการทางานควบคู่ศีลธรรม การร่วมทาบุญ กฐิน ผ้าป่า ส่งเสริมการทางานอย่างสุจริต Happy Money จัดตั้งชมรมออมทรัพย์ การให้ความรู้ด้านการออมเงิน พนักงานนาสินค้ามาขายในองค์กร Happy Family จัดโครงการเยี่ยมพนักงานที่บ้าน ให้ทุนการศึกษาแก่บุตรพนักงาน เยี่ยมเยียนพนักงานคลอดบุตร Happy Society ส่งเสริมให้พนักงานช่วยเหลือสังคม จัดตั้งชมรมบาเพ็ญประโยชน์ การปลูกป่าลดภาวะโลกร้อน
  • 24. งบประมาณจึงไม่เพียงพอ (ควรมอง CSR เป็นวัฒนธรรมองค์กร) กิจกรรม CSR ขององค์กร ไม่ได้รับความร่วมมือจากชุมชนเท่าที่ควร องค์กรส่วนมากทา CSR เน้นการบริจาค บริการ เป็น CSR ที่ไม่ยั่งยืน รูปแบบ CSR ควรเน้นที่การพัฒนาเพื่อสร้างความยั่งยืน ปัญหาและอุปสรรคของการทา CSR
  • 25. ขาดการทา CSR กับพนักงานภายในองค์กร ทาให้พนักงานไม่ค่อยให้ ความร่วมมือในการทา CSR กับชุมชน สังคมภายนอก ขาดการสื่อสาร ทาความเข้าใจ อย่างเป็นระบบกับพนักงานภายในองค์กร ถึงแนวคิด วัตถุประสงค์ และประโยชน์ของ CSR กิจกรรม CSR ไม่เชื่อมโยง product ไม่สะท้อนอัตลักษณ์องค์กร ปัญหาและอุปสรรคของการทา CSR
  • 26. ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด ควรเริ่มกิจกรรม CSR จากภายในสู่ภายนอก Inner CSR ควรปลูกฝังค่านิยมเรื่องของการช่วยเหลือ การแบ่งปัน ความรับผิดชอบ ให้แก่พนักงานในองค์กรเพื่อสร้างคนที่มีจิตอาสา สร้างทีมงาน CSR ประกอบด้วยบุคคลากรจากหลายฝ่ายช่วยกัน เขียนแผนงานด้าน CSR อย่างเป็นขั้นตอน พร้อมกาหนดผู้รับผิดชอบ โดยตรง สามารถติดตามประเมินผลได้ ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
  • 27. ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสขององค์กร เพื่อหาประเด็นทา CSR ควรสร้างประเด็น CSR ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับการดาเนินธุรกิจ ประเด็น CSR มีเพียง 2-4 ประเด็น ไม่กระจัดกระจาย สร้างกิจกรรม CSR กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆขององค์กร ระบุให้ชัดเจนว่ากิจกกรมนั้นมุ่ง target กลุ่มไหน ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
  • 28. ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด กาหนดวัตถุประสงค์ของการทา CSR ให้ชัดเจนและแจ้งให้พนักงาน ทราบเพื่อให้ได้ความร่วมมือจากพนักงาน ต้องเข้าใจแนวคิด CSR เข้าใจแก่น และเน้นทา CSR แบบยั่งยืน ควรทากิจกรรม CSR อย่างต่อเนื่อง ไม่ควรคิดทา CSR เพียงเพื่อต่อยอด สร้างแบรนด์เท่านั้น ควรทา CSR ในเชิงรุก (ไม่ใช่รอให้ปัญหาเกิดแล้วค่อยแก้ไข) ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
  • 29. ขับเคลื่อน CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด ไม่ประเมินความสาเร็จของ CSR จากจานวนคนที่เข้าร่วม แต่ต้อง คานึงถึงประโยชน์ที่กลุ่มเป้าหมายจะได้รับ เข้าหา opinion leader ให้ชุมชนมีส่วนร่วมจัดทาแผน CSR ควรมีการแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างองค์กรกับชุมชน จัดสรรงบประมาณด้าน CSR ให้เหมาะสม ติดตามผลกิจกรรมที่ดาเนินอยู่ และประเมินผลเมื่อเสร็จสิ้นกิจกรรม CSR อย่างไรไม่ให้สะดุด
  • 30. ตัวอย่างกิจกรรม CSR TOYOTA บริษัท ปตท. จากัด (มหาชน) พลิกใจให้พอเพียง บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จากัด (มหาชน) ธนาคารไทยพาณิชย์ บริษัท ผลิตไฟฟ้า จากัด (มหาชน)
  • 31.
  • 32.
  • 33. โรงแรม ดุสิตดีทู บาราคูด้า พัทยา ได้รับรางวัลชนะเลิศ อาเซียนต้า อวอร์ด ปี2011 ประเภทส่งเสริมและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมยอดเยี่ยม จากสมาคมการท่องเที่ยวอาเซียน ในโครงการที่ชื่อว่า “พานีโม่น้อยกลับบ้าน” ปัญหาของปลาการ์ตูนคือ เกิดเป็นธุรกิจจับปลาการ์ตูน จนมีแนวโน้มจะสูญพันธุ์ ดุสิตดีทู บาราคูด้า พัทยา และธุรกิจดาน้า ในพัทยา หยิบแนวคิดต่อชีวิตปลานีโม่ คืนสู่ทะเลจากการดาน้าลึก เป้าหมาย เพิ่มจานวนปลานีโม่ & ตระหนักถึงสิ่งแวดล้อม ตอบโจทย์ตัวตนองค์กรในเรื่องสีส้ม สีเดียวกับองค์กร ความหมายเดียวกับชื่อของโรงแรมซึ่งแปลว่าปลาสาก เป็นเรื่องทะเล ซึ่งเป็นสถานที่ตั้งของโรงแรมในเมืองพัทยา”
  • 34. Product Development เน้น 4Ps สินค้าดีอย่างไร มีคุณภาพน่าเชื่อถือมากแค่ไหน ประโยชน์อย่างไร เน้นสร้างความต้องการใช้สินค้า ไม่สนใจว่าผู้บริโภคจะรู้สึกอย่างไร Product Oriented Marketing 1.0
  • 35. Marketing 2.0 STP Segmentation คือการแบ่งตลาดเป็นส่วนๆ Targeting สุดท้ายคือการวางตาแหน่งครองใจลูกค้า Positioning เกิดแนวคิด CRM CEM เริ่มมี social media Customer Oriented เน้น emotion ของลูกค้า
  • 36. บริษัทที่มุ่งหวัง แก้ไขปัญหา สังคมที่ยุ่งเหยิงมีแต่ความขัดแย้ง แก้ปัญหาความยากจน และความ เสื่อมโทรมของธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม ทาให้ชีวิตประจาวัน ของคนดีขึ้น ผ่านพันธกิจ วิสัยทัศน์ และค่านิยมของบริษัท คุณค่าที่เน้น ในยุคนี้คือ Spiritual Value & Creative Value ให้กับ ลูกค้า เกิดแนวคิด CSR เพื่อสังคม อย่างแท้จริง และยั่งยืน ไม่ใช่เพื่อ ภาพลักษณ์องค์กรแต่อย่างเดียว
  • 37. CRM CRM คือ การสร้างความสัมพันธ์กับลูกค้า โดยการใช้เทคโนโลยีและ บุคลากรอย่างมีกลยุทธ์ CRM ไม่ใช่แค่การบริการ แต่รวมถึงการเก็บข้อมูลทุกแง่มุมของลูกค้า และนาข้อมูลเหล่านั้นมาวิเคราะห์เพื่อหาความต้องการที่แท้จริงของ ลูกค้า เปลี่ยนจากผู้บริโภคไปสู่การเป็นลูกค้าตลอดไป การแข่งขันทางการตลาดอย่างรุนแรงทาให้องค์กรไม่มองลูกค้าใน รูปของ Mass อีกต่อไป แต่จะหันไปให้ความสาคัญเฉพาะรายมากกว่า สร้างความสัมพันธ์แบบ One to One, Customization
  • 38. Customer Touch Points กับ CRM Customer Touch Points คือ ช่องทางที่ลูกค้าสามารถติดต่อ หรือพบเห็นองค์กรได้ ประเภทของ Customer Touch Points ไม่ใช่บุคคล เช่น โลโก้ สี สโลแกน เครื่องแบบ นามบัตร โฆษณา Event, Web site, เป็นบุคคล เช่น พนักงานต้อนรับ พนักงานขาย รปภ., Call Center
  • 39. เป้าหมายของ CRM เก็บรวบรวมข้อมูลและความต้องการของลูกค้า นาข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ พัฒนาสินค้า บริการ ให้สอดคล้องกับความต้องการของลูกค้า เป้าหมายคือ การเปลี่ยนจากผู้บริโภคไปสู่ ลูกค้าตลอดไป Customer Loyalty
  • 40. ทาไมต้อง CRM เก็บรวบรวมข้อมูลของลูกค้าได้อย่างมีประสิทธิภาพ กาหนดแผนการโฆษณาและสื่อสารการตลาดได้อย่างเหมาะสม เข้าถึง กลุ่มเป้าหมาย ตรงตามความต้องการของลูกค้า เพิ่มลูกค้าใหม่และรักษาฐานลูกค้าเดิมไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ลดค่าใช้จ่ายในการหาลูกค้าใหม่ ขยายโอกาสทางการแข่งขัน ก่อให้เกิดภาพลักษณ์ที่ดีต่อองค์กร สร้าง Brand Loyalty
  • 41. ทาไมต้อง CRM สร้างความแตกต่าง สร้างการจดจา สร้างจุดขาย แข่งขันได้ สร้างชื่อเสียง ภาพลักษณ์ สร้างแบรนด์ โดดเด่น สร้างฐานลูกค้าถาวร สร้างผลกาไรระยะยาว
  • 43. CRM
  • 44. ทาอย่างไรให้ CRM สาเร็จ ผู้บริหารระดับสูงต้องสนับสนุน กาหนดวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ชัดเจน ประเมินได้ สร้างความรู้ ความเข้าใจกับพนักงาน ว่าเรากาลังจะทาอะไร กาหนดกลุ่มลูกค้า และคู่แข่งขันให้ชัดเจน เลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ไม่ยุ่งยาก ซับซ้อน จนน่าเบื่อ แต่ บุคลกรในองค์กร ก็คือหัวใจหลักของ CRM Happy Workplace กับพนักงานจึงสาคัญ
  • 45. ทาอย่างไรให้ CRM สาเร็จ Update ข้อมูล ไม่ปล่อยให้เป็น dated data นาก้อนข้อมูลนั้นมาวิเคราะห์ สังเคราะห์เป็นกลยุทธ์ CRM ประเมินด้วยว่า Customers’ Demand คืออะไร ประเมินองค์กรว่า ควรสร้างกลยุทธ์ CRM ในรูปแบบใด ดูแลเอาใจใส่ทุก Customer Touch Points Evaluation อย่างสม่าเสมอ
  • 46. เครื่องกีดขวาง CRM ผู้บริหารองค์กร นโยบายองค์กร บุคลากรในองค์กร วัฒนธรรมองค์กร เทคโนโลยีขององค์กร
  • 48. Practical Workshop : Strategic CSR กาหนดชื่อกลุ่ม กาหนดชื่อกิจกรรม CSR กาหนด theme CSR รูปแบบ/ลักษณะของกิจกรรม CSR กาหนดกลุ่มเป้าหมายหลัก-รอง วิธีการดาเนินงาน ขั้นตอน เพื่อให้ประสบผลสาเร็จ จุดเด่นของกิจกรรม CSR เหตุผลที่เลือกกลยุทธ์ หรือ theme นี้ ทา CSR กลยุทธ์ CSR นี้ เชื่อมโยงกับองค์กรอย่างไร PR เผยแพร่กิจกรรม CSR นี้ อย่างไร สร้างสรรค์กลยุทธ์ด้าน CRM ที่เหมาะกับองค์กรมา 1 กลยุทธ์