SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  39
Télécharger pour lire hors ligne
บทที่ 4 การวางแผนกาลังการผลิต
กาลังการผลิต คือความสามารถสูงสุดของหน่วย
ผลิตที่สามารถจะผลิต รองรับ หรือจัดเก็บได้ใน
หนึ่งช่วงเวลาที่กาหนดซึ่งแยกออกเป็น
2
ความหมายของกาลังการผลิต capacity
ความหมายของกาลังการผลิต capacity
3
กาลังการผลิตที่มีประสิทธิผลคือ กาลังผลิตที่องค์การ
คาดหวังจะผลิตสินค้าหรือบริการให้ได้ในระยะเวลาหนึ่ง
ภายใต้เงื่อนไขต่าง ๆ ที่เป็นข้อจากัดของกระบวนการ
กาลังการผลิตตามแผน คือความสามารถสูงสุดตามทฤษฎี
ที่ระบบได้ถูกออกแบบไว้เพื่อให้ได้ผลผลิตที่ต้องการต่อ
หนึ่งหน่วยเวลา
ระดับกาลังการผลิต
กาลังการผลิต
สูงสุด กาลังการผลิต
ตามแผน
กาลังการผลิตที่
มีประสิทธิผล
(ระดับที่คาดหวัง)
ระดับกาลังการผลิต
การหยุดพัก ซ่อมแซม
บารุงรักษา
การรองาน รอคน
ประสิทธิภาพของคน
กาลังการผลิต
ตามมาตรฐาน
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพของระบบ
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพของระบบ
อรรถประโยชน์ = ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง / กาลังการผลิตตามแผน
ประสิทธิภาพ = ผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง / กาลังการผลิตที่มี
ประสิทธิผล
5
ตัวอย่าง
โรงงานผลิตขนมปังได้ 148,000 ชิ้นโดยร้านได้กาหนดกาลังการผลิตที่
มีประสิทธิผลไว้เท่ากับ 175,000 ชิ้นโดยมีเวลาปฏิบัติงาน 7 วัน ต่อ
สัปดาห์ วันละ 3 กะ ๆ ละ 8 ชั่วโมง สายการผลิต 1,200 ชิ้นต่อชั่วโมง
จงคานวณหา
1. กาลังผลิตตามแผน
2. อรรถประโยชน์
3. ประสิทธิภาพในการผลิต
4. ถ้าประสิทธิภาพในการผลิตมีค่า 75% จงหาอัตราผลผลิตจริง
กาลังการผลิต
1. กาลังการผลิตตามแผน = (7 วัน*3กะ*8 ชม.) * (1,200 ชิ้นต่อชม.)
= 201,600 ชิ้นต่อสัปดาห์
2. อรรถประโยชน์ = อัตราผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
กาลังการผลิตตามแผน
= 148,000 = 0.734 or 73.4%
201,600
3. ประสิทธิภาพ = อัตราผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
กาลังการผลิตที่มีประสิทธิผล
= 148,000 = 0.846 or 84.6%
175,000
กาลังการผลิต
4. *ต้องการประสิทธิภาพการผลิต 75%
ประสิทธิภาพ = อัตราผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง
กาลังการผลิตที่มีประสิทธิผล
75 % = ?
175,000
อัตราผลผลิตที่เกิดขึ้นจริง = 175,000*75%
= 131,250 ชิ้นต่อสัปดาห์
การวัดกาลังการผลิต
• การวัดกาลังการผลิต สามารถวัดได้ 2 ทางคือ
1) วัดจากผลผลิต 2) วัดจากปัจจัยการผลิต
ระบบการผลิต
Inputs
(ปัจจัยนาเข้า)
Transformation Process
(กระบวนการแปลงสภาพ)
Outputs
(สินค้า/บริการ)
ผลย้อนกลับ (Feed Back)
ตัวอย่างการวัดกาลังการผลิต
วัดจากผลผลิต
โรงงานประกอบรถยนต์ จานวนรถยนต์ (คัน/ปี)
โรงงานผลิตเครื่องดื่ม ปริมาตรของเครื่องดื่ม (ลิตร/ปี)
โรงงานอาหารกระป๋ อง น้าหนักของอาหาร (ตัน/ปี)
โรงงานผลิตกระแสไฟฟ้ า กาลังไฟฟ้ า (กิโลวัตต์/ปี)
การเลี้ยงกุ้ง น้าหนักของกุ้ง (ตัน/ปี)
โรงสีข้าว น้าหนักของข้าว (ตัน/ปี)
ตัวอย่างการวัดกาลังการผลิต
วัดจากปัจจัยการผลิต
สายการบิน จานวนที่นั่ง
โรงพยาบาล จานวนเตียง
โรงภาพยนตร์ จานวนที่นั่ง
ร้านอาหาร จานวนโต๊ะ
มหาวิทยาลัย จานวนนักศึกษา
ห้างสรรพสินค้า จานวนพื้นที่
อู่ซ่อมรถ จานวนช่างซ่อม
การเลือกกาลังการผลิตที่เหมาะสม
1. พยากรณ์ความต้องการลูกค้า ต้องมีความแม่นยา มีการ
ประมาณการความต้องการในอนาคต
2. กาหนดทางเลือกของการเปลี่ยนแปลงกาลังการผลิต ต้อง
คานวณปริมาณการเพิ่ม/ลดที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับต้นทุนของการ
ลงทุน
3. เลือกกาลังการผลิตที่เหมาะสมที่สุด กาลังการผลิตที่ทาให้
ต้นทุนเหมาะสม
4. ปรับกาลังการผลิตให้มีความยืดหยุ่น สอดรับกับสถานการณ์
ที่เปลี่ยนแปลง
กลยุทธ์การขยายขนาดกาลังการผลิต
Units
Capacity
Time
Demand
การขยายการผลิตนา
Units
Capacity
Time
Demand
การขยายการผลิตตาม
ขยายกาลังการผลิตก่อนที่ความต้องการของลูกค้าจะ
เกิดขึ้น
รักษากาลังการผลิตให้น้อยกว่าความต้องการของ
ลูกค้าเสมอ รอจนความต้องการเพิ่มขึ้นอย่าง
แน่นอนจึงเพิ่มกาลังการผลิต
เทคนิคที่ใช้ในการวิเคราะห์และตัดสินใจเลือกกาลังการผลิต
•สถานการณ์ที่แน่นอน
•สถานการณ์ที่มีความ
เสี่ยง
•สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน
• เป็นการใช้สาหรับการตัดสินใจ
เพื่อผลลัพธ์ในระยะยาว
• ต้องมีข้อมูลเกี่ยวกับผลได้และ
ต้นทุนของแต่ละทางเลือก
• รู้ความน่าจะเป็นที่จะเกิด
เหตุการณ์ต่างๆ ขึ้น
• เกี่ยวข้องกับการ
กาหนดกาลังการผลิต
สินค้าที่เป็นตัวแปร 2
ตัวภายใต้ข้อจากัดของ
ทรัพยากรที่มีอยู่อย่าง
จากัด
1. ตารางการตัดสินใจ 2. แขนงการตัดสินใจ 3. โปรแกรมเชิงเส้น
ตารางการตัดสินใจ
• สถานการณ์ที่แน่นอน
ทางเลือก สูง ปานกลาง ต่า
โรงงานขนาดใหญ่ 20 9 (6)
โรงงานขนาดกลาง 15 11 4
โรงงานขนาดเล็ก 5 5 6
อุปสงค์สูงเลือกสร้างโรงงานขนาดใหญ่
อุปสงค์ปานกลางเลือกสร้างโรงงานขนาดกลาง
อุปสงค์ต่าเลือกสร้างโรงงานขนาดเล็ก
ในความเป็นจริงยากที่จะเกิดสถานการณ์ที่แน่นอนขึ้นในอนาคต
ตารางการตัดสินใจ
• สถานการณ์ที่มีความเสี่ยง ต้องพิจารณาผลตอบแทนของแต่ละทางเลือกแล้ว
พิจารณาทางเลือกที่ให้ผลตอบแทนสูงสุด
ทางเลือก สูง ปานกลาง ต่า
โรงงานขนาดใหญ่ 20 9 (6)
โรงงานขนาดกลาง 15 11 4
โรงงานขนาดเล็ก 5 5 6
ความน่าจะเป็น 0.3 0.4 0.3
โรงงานขนาดใหญ่ 0.3(20)+0.4(9)+0.3(-6) = 7.8
โรงงานขนาดกลาง 0.3(15)+0.4(11)+0.3(4) = 10.1
โรงงานขนาดเล็ก 0.3(5)+0.4(5)+0.3(6) = 5.3
ตารางการตัดสินใจ
• สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน วิธี maximin เลือกค่าตอบแทนสูงสุดจาก
ค่าตอบแทนต่าสุด
ทางเลือก สูง ปานกลาง ต่า ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
โรงงานขนาดใหญ่ 20 9 (6) (6)
โรงงานขนาดกลาง 15 11 4 4
โรงงานขนาดเล็ก 5 5 6 5 5
เลือกสร้างโรงงานขนาดเล็ก
ตารางการตัดสินใจ
• สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน วิธี maximax เลือกผลตอบแทนสูงสุดจาก
ค่าตอบแทนสูงสุด
ทางเลือก สูง ปานกลาง ต่า ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
โรงงานขนาดใหญ่ 20 9 (6) 20 20
โรงงานขนาดกลาง 15 11 4 15
โรงงานขนาดเล็ก 5 5 6 6
เลือกสร้างโรงงานขนาดใหญ่
ตารางการตัดสินใจ
• สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน วิธี laplace เลือกค่าตอบแทนสูงสุดจาก
ค่าตอบแทนเฉลี่ยของแต่ละทางเลือก
ทางเลือก สูง ปานกลาง ต่า ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
โรงงานขนาดใหญ่ 20 9 (6) 23/3 =7.65
โรงงานขนาดกลาง 15 11 4 30/3= 10 10
โรงงานขนาดเล็ก 5 5 6 16/3 =5.33
เลือกสร้างโรงงานขนาดกลาง
ตารางการตัดสินใจ
• สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน วิธี minimax regret เลือกทางเลือกที่มี
ค่าเสียโอกาสต่าสุดจากค่าเสียโอกาสสูงสุด
ทางเลือก สูง ปานกลาง ต่า ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2
ขนาดใหญ่ 20-20 =0 11-9=2 6-(-6) =12 12
ขนาดกลาง 20-15=5 11-11=0 6-4=2 5 5
ขนาดเล็ก 20-5=15 11-5=6 6-6=0 15
เลือกสร้างโรงงานขนาดกลาง
แขนงการตัดสินใจ
สี่เหลี่ยม แสดงถึง จุดที่ต้องมีการตัดสินใจ
เส้นตรง แสดงถึง ทางเลือกหรือสภาวการณ์ที่
เกิดขึ้น
วงกลม แสดงถึง จุดที่ระบุว่ามีสภาวการณ์ต่างๆเกิดขึ้น
สัญลักษณ์ที่ใช้
เครื่องมือที่ช่วยตัดสินใจเรื่องการขยายกาลังการผลิตในระยะยาว เช่น ซื้อเครื่องจักรเพิ่ม
ขยายโรงงาน สร้างโรงงานใหม่
หลังจุดตัดสินใจ จะเป็นทางเลือกต่างๆ ในขณะที่หลังเครื่องหมาย
จะเป็นสภาวการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
สภาวการณ์ที่ 1
สภาวการณ์ที่ 1
สภาวการณ์ที่ 1
สภาวการณ์ที่ 2
สภาวการณ์ที่ 2
สภาวการณ์ที่ 2
ทางเลือกที่ 2
ผลตอบแทน
ผลตอบแทน
ผลตอบแทน
ผลตอบแทน
ผลตอบแทน
ผลตอบแทน
ในการเขียนแขนงการตัดสินใจ
1.สร้างจากด้านซ้ายไปขวา
2.ทางเลือกต้องมากกว่า 1ทาง
3.สภาวการณ์ต้องเกิดอย่างน้อย 1 สภาวการณ์
โรงงานขนมปังต้องการขยายการผลิตโดยการสร้างโรงงานเพิ่มอีก 1
แห่งคาดว่าจะมีอายุการใช้งาน 5 ปีโรงงานกาลังตัดสินใจว่าจะสร้าง
โรงงานขนาดใหญ่หรือขนาดเล็ก โดยมีรายละเอียดการตัดสินใจดังนี้
ทางเลือก/
อุปสงค์
คชจ.ในการสร้าง
(ล้านบาท)
สูง
(ล้านบาท)
กลาง
(ล้านบาท)
ต่า
(ล้านบาท)
โรงงานขนาด
ใหญ่
2.8 1.3 0.6 - 0.2
โรงงานขนาด
เล็ก
1.5 0.2 0.4 0.5
ความน่าจะเป็น 0.3 0.4 0.3
ตัวอย่างการวิเคราะห์แบบแขนงการตัดสินใจ
หลังจุดตัดสินใจ จะเป็นทางเลือกต่างๆ ในขณะที่หลังเครื่องหมาย
จะเป็นสภาวการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น
อุปสงค์สูง P=0.3
อุปสงค์กลาง P=0.4
อุปสงค์ต่า P=0.3
อุปสงค์กลาง P=0.4
อุปสงค์สูง P=0.3
อุปสงค์ต่า P=0.3
5(1.3*0.3) = 1.95 ล้านบาท
5(0.6*0.4) = 1.2 ล้านบาท
5(-0.2*0.3) = - 0.3 ล้านบาท
รวม = 2.85 ล้านบาท
2.85
1.85
5(0.2*0.3) = 0.3 ล้านบาท
5(0.4*0.4) = 0.8 ล้านบาท
5(0.5*0.3) = - 0.75 ล้านบาท
รวม = 1.85 ล้านบาท
ลงทุน
2.80
ลงทุน
1.50
ถ้าสร้างโรงงานขนาดใหญ่ จะมีผลตอบแทน
= 2.85 - 2.8 = 0.05 ล้านบาท
ถ้าสร้างโรงงานขนาดเล็ก จะมีผลตอบแทน
= 1.85 – 1.5 = 0.35 ล้านบาท
ดังนั้นจึงควรตัดสินใจสร้างโรงงานขนาดเล็กเพราะมีผลตอบแทนสูง
กว่าสร้างโรงงานขนาดใหญ่
สรุปจากโจทย์ตัวอย่าง
โปรแกรมเชิงเส้น (Linear Programming)
ใช้สาหรับแก้ปัญหาการจัดทรัพยากรซึ่งมีอยู่อย่างจากัด โดยสามารถใช้ให้เกิด
ประโยชน์สูงสุด โดยประเมินกาลังการผลิตในระยะสั้นเพื่อใช้กาลังการผลิตที่มี
อยู่ผลิตสินค้าในปริมาณที่จะให้ผลตอบแทนสูงสุด มีขั้นตอนหลัก 2 ขั้นตอน
คือ
1. การสร้างตัวแบบ โดยพิจารณาเงื่อนไขต่างๆ เช่น วัตถุประสงค์ ทางเลือก
ข้อจากัด
2. การหาค่าตอบแทนจากตัวแบบกรณี 2 ตัวแปรจะใช้วิธีกราฟ กรณี
มากกว่า 2 ตัวแปรใช้พีชคณิต
ประเภทเครื่องจักร เครื่องจักรตัด เครื่องจักรเย็บ
- ชั่วโมงการทางานที่มีอยู่ 450 280
-ชั่วโมงการผลิตเสื้อเชิ้ต 1 ตัว 1.5 1
-ชั่วโมงการผลิตเสื้อคลุม 1 ตัว 2 0.8
เสื้อเชิ้ตทากาไรได้ = 20 บาท/ตัว
เสื้อคลุมทากาไรได้ = 25 บาท/ตัว
สรุปจากโจทย์ตัวอย่าง
1) กาหนดตัวแปรที่จะต้องตัดสินใจ (สมมติให้เป็น X และ Y)
ให้ X คือ จานวนผลิตเสื้อเชิ้ต
ให้ Y คือ จานวนผลิตเสื้อคลุม
2) ตั้งสมการเป้ าหมายและสมการข้อจากัดตามที่โจทย์กาหนด
สมการผลกาไรสูงสุด = 20 X + 25 Y
ภายใต้เงื่อนไข :
ข้อจากัดด้านเวลาของเครื่องตัด 1.5X+2Y < 450 สมการ 1.5X+2Y = 450
ข้อจากัดด้านเวลาของเครื่องเย็บ 1X+.80Y < 280 สมการ 1X+.80Y = 280
จานวนที่ผลิตจะมีค่าติดลบไม่ได้ X, Y > 0
ขั้นตอนการคานวณ
โปรแกรมเชิงเส้น (Linear
Programming)
ขั้นตอนหลัก
1. กำหนดสมกำรวัตถุประสงค์ และสมกำรข้อจำกัด
2. แทนค่ำตัวแปร = 0 จะได้ค่ำตัวแปรอีกตัว ในสมกำรข้อจำกัด
3. สร้ำงกรำฟ สมกำรข้อจำกัด จำกข้อ 2
4. หำค่ำจุดตัดสมกำรข้อจำกัด
5. แทนค่ำตัวแปรจำกจุดตัด ข้อ 4 ในสมกำรวัตถุประสงค์
6. เลือกค่ำตัวแปรที่สอดคล้องวัตถุประสงค์
สินค้ำ รำคำ ตัด = 450 เย็บ = 280
เสื้อเชิ้ต X1 20 1.5 1
เสื้อคลุม X2 25 2 0.8
ตัวอย่ำง โรงงำนผลิตเสื้อผ้ำสำเร็จรูป ผลิตเสื้อเชิ้ตและเสื้อคลุม
มีกระบวนกำรตัดและเย็บ ให้จัดสรรกำลังกำรผลิตที่ทำให้กำไรสูงสุด
1สมกำรวัตถุประสงค์ สมกำรข้อจำกัด
20X1 + 25X2 = ? 1.5X1 + 2X2  450 1X1 + 0.8X2  280
โปรแกรมเชิงเส้น (Linear
Programming)
ขั้นตอนหลัก
1. กำหนดสมกำรวัตถุประสงค์ และสมกำรข้อจำกัด
2. แทนค่ำตัวแปร = 0 จะได้ค่ำตัวแปรอีกตัว ในสมกำรข้อจำกัด
3. สร้ำงกรำฟ สมกำรข้อจำกัด จำกข้อ 2
4. หำค่ำจุดตัดสมกำรข้อจำกัด
5. แทนค่ำตัวแปรจำกจุดตัด ข้อ 4 ในสมกำรวัตถุประสงค์
6. เลือกค่ำตัวแปรที่สอดคล้องวัตถุประสงค์
โปรแกรมเชิงเส้น (Linear
Programming)
สมกำรที่ 1 1.5X1 + 2X2  450 2
1.5(0) + 2(x2) = 450
0 + 2x2 = 450
x2 = 225
2
450

1.5(x1) + 2(0) = 450
1.5x1 + 0 = 450
x1 = 300
5.1
450

สมกำรที่ 2 1X1 + 0.8X2  280
(0,225)  (300,0)
1(0) + 0.8(x2) = 280
0 + 0.8x2 = 280
x2 = 350
8.0
280

1(x1) + 0.8(0) = 280
x1 + 0 = 280
x1 = 280
(0,350)  (280,0)
ขั้นตอนหลัก
1. กำหนดสมกำรวัตถุประสงค์ และสมกำรข้อจำกัด
2. แทนค่ำตัวแปร = 0 จะได้ค่ำตัวแปรอีกตัว ในสมกำรข้อจำกัด
3. สร้ำงกรำฟ สมกำรข้อจำกัด จำกข้อ 2
4. หำค่ำจุดตัดสมกำรข้อจำกัด
5. แทนค่ำตัวแปรจำกจุดตัด ข้อ 4 ในสมกำรวัตถุประสงค์
6. เลือกค่ำตัวแปรที่สอดคล้องวัตถุประสงค์
โปรแกรมเชิงเส้น (Linear
Programming)
1.5X1 + 2X2  450 
1X1 + 0.8X2  280  0
2
,280
1
350
2
,0
1
0
2
,300
1
225
2
,0
1


XXXX
XXXX
และถ้า
และถ้า
A
B
CD
ค่ำที่สูงสุดที่เป็นไปได้คือ จุด A, B, C
3
(0,350)
(0,225)
(280,0) (300,0)
ขั้นตอนหลัก
1. กำหนดสมกำรวัตถุประสงค์ และสมกำรข้อจำกัด
2. แทนค่ำตัวแปร = 0 จะได้ค่ำตัวแปรอีกตัว ในสมกำรข้อจำกัด
3. สร้ำงกรำฟ สมกำรข้อจำกัด จำกข้อ 2
4. หำค่ำจุดตัดสมกำรข้อจำกัด
5. แทนค่ำตัวแปรจำกจุดตัด ข้อ 4 ในสมกำรวัตถุประสงค์
6. เลือกค่ำตัวแปรที่สอดคล้องวัตถุประสงค์
โปรแกรมเชิงเส้น (Linear
Programming)
หำค่ำจุด B (หำครน.ให้ตัวเลขหน้ำตัวแปรเท่ำกัน)
หรือ (1) 1.5x1 + 2X2 = 450
(2) 1x1 + 0.8x2 = 280
(2) x 1.5 1.5x1 + 1.2x2 = 420
หรือ (1) 1.5x1 + 2X2 = 450
(2) 1.5x1 + 1.2x2 = 420
(1) – (2) 0.8X2 = 30
X2 = 37.5
หรือ (1) 2x1 + 2X2 = 50
(2) 3x1 + 0.8x2 = 20
(1)x3 6x1 + 6X2 = 150
(2)x2 6x1 + 1.6X2 = 40
 
5.37,250
250,280)5.37(8.02
21
112


XXB
XXX
จุดตัดณ
ในแทนค่า
4
หำค่ำจุด B (หำครน.ให้ตัวเลขหน้ำตัวแปรเท่ำกัน)
หรือ (1) 1.5x1 + 2X2 = 450
(2) x 1.5 1.5x1 + 1.2x2 = 420
(1) – (2) 0.8X2 = 30
X2 = 37.5
 
 
   
37.5
601.643
(4)----84040.2332
(3)----9004321
2
2
21
21




X
X
XX
XX
1.5X1 + 2X2  450
1X1 + 0.8X2  280
ขั้นตอนหลัก
1. กำหนดสมกำรวัตถุประสงค์ และสมกำรข้อจำกัด
2. แทนค่ำตัวแปร = 0 จะได้ค่ำตัวแปรอีกตัว ในสมกำรข้อจำกัด
3. สร้ำงกรำฟ สมกำรข้อจำกัด จำกข้อ 2
4. หำค่ำจุดตัดสมกำรข้อจำกัด
5. แทนค่ำตัวแปรจำกจุดตัด ข้อ 4 ในสมกำรวัตถุประสงค์
6. เลือกค่ำตัวแปรที่สอดคล้องวัตถุประสงค์
โปรแกรมเชิงเส้น (Linear
Programming)
จุด 20X1 25X2 20X1+25X2
A (0,225) 20 x (0) 25 x (225) 5,625
B (250,37.5) 20 x (250) 25 x (37.5) 5,937.50
C (280,0) 20 x (280) 25 x (0) 5,600
D (0,0) 20 x (0) 25 x (0) 0
สมกำร กำไรสูงสุด  20X1 + 25X2
5
6
จะผลิตเสื้อเชิ้ต 250 ตัว เสื้อคลุม 37.5 ตัว ได้กำไรสูงสุด 5,937.50 บำท

Contenu connexe

Tendances

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานTeetut Tresirichod
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังUtai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตRungnapa Rungnapa
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมTeetut Tresirichod
 

Tendances (20)

บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวมบทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
บทที่ 13 การวางแผนปฏิบัติการรวม
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุบทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
บทที่ 14 การวางแผนความต้องการวัสดุ
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการบทที่ 3 การจัดการโครงการ
บทที่ 3 การจัดการโครงการ
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
 
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลังการบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
การบริหารจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 12 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
บทที่ 2
บทที่ 2 บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 

Plus de Rungnapa Rungnapa

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานRungnapa Rungnapa
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยRungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปRungnapa Rungnapa
 

Plus de Rungnapa Rungnapa (20)

Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัดBuilding construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
Building construction 5หลังคา แบบฝึกหัด
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
Ch10
Ch10Ch10
Ch10
 
Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Ch7
Ch7Ch7
Ch7
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
Ch1 3
Ch1 3Ch1 3
Ch1 3
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดีบทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปบทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไป
 

บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต