SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
Télécharger pour lire hors ligne
นำเสนอโดย 
นำงสำวเฑียรมณี มั่งมูล 54402632 
สำยวิชำเทคโนโลยีพลังงำน คณะพลังงำนสิ่งแวดล้อมและวัสดุ 
มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี
หัวข้อที่กล่ำวถึง 
Remote Sensing คืออะไร 
หลักกำรทำงำนของ Remote Sensing 
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำรปล่อยคลื่น อินฟรำเรดของโลก 
กำรสำรวจระยะไกลย่ำนแสงที่ตำมองเห็นและอินฟรำเรดสะท้อน 
กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของ ประเทศไทย 
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร
รีโมตเซนซิง (Remote Sensing) คืออะไร ??? 
กำรได้ข้อมูลเกี่ยวกับพื้นผิวโลก โดยไม่มีกำร สัมผัส ซึ่งใช้วิธีตรวจจับและบันทึกพลังงำนที่ได้ จำกกำรสะท้อนและกำรปล่อยพลังงำนของสิ่งที่ สนใจ แล้วนำข้อมูลไปผ่ำนกระบวนกำรต่ำง ๆ รวมถึงกำรวิเครำะห์เพื่อที่จะนำมำใช้งำน
หลักกำรทำงำนของ Remote Sensing 
ที่มา: http:// www. krupuysocial.wordpress.com./2554
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก 
ที่มา : http://apollo.lsc.vsc.edu/classes/remote/index.html/2554
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) 
ที่มา :http://apollo.lsc.vsc.edu/classes/met130/notes/chapter2/plank_sun_closer_look.html/2554
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก 
เมื่อพลังงำนจำกดวงอำทิตย์ผ่ำน ทะลุผ่ำนชั้นบรรยำกำศ มำตกกระทบ พื้นผิวโลกจะเกิดปฏิกิริยำหลักขึ้น 3 อย่ำง คือ 
•กำรสะท้อนพลังงำน (Reflection) 
•กำรดูดกลืนพลังงำน (Absorption) 
•กำรส่งผ่ำนพลังงำน (Transmission)
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) 
กำรสะท้อนพลังงำน (Reflection) 
เป็นปฏิกิริยาที่สาคัญที่สุด เพราะ Remote Sensing ส่วนมากจะบันทึก พลังงานที่สะท้อนจากวัตถุ 
•ช่วงที่ตามองเห็น 0.4-0.7 micron 
•ช่วงอินฟราเรด 0.7-3.0 micron ซึ่งจะแปรผันตามองค์ประกอบดังนี้ - ลักษณะพื้นผิววัตถุ - สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบข้าง (สภาพอากาศ, ภูมิประเทศ, อุณหภูมิ) - มุมตกกระทบของแสง - ความสามารถและอัตราการสะท้อนแสงของพื้นผิวผิววัตถุ
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) 
พลังงำนที่ตกกระทบและสะท้อนกลับเกิดขึ้นได้ 3 แบบ 
1. กำรสะท้อนกลับหมดในทิศทำงตรงกันข้ำม (Specular reflector) 
•พื้นผิววัตถุมีลักษณะราบเรียบ 
•พลังงานที่ตกกระทบมีช่วงคลื่นยาว ทาให้ ภาพที่ปรากฏมีลักษณะค่อนข้างเรียบ 
•มุมที่พลังงานสะท้อนกลับจะเท่ากับมุมที่ตก กระทบวัตถุโดยเทียบกับแกนตั้งฉากบน ระนาบเดียวกัน
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) 
2. กำรสะท้อนแบบกระจำย (Diffuse or Lambertain reflector) 
•พื้นผิววัตถุมีลักษณะขรุขระ 
•พลังงานที่ตกกระทบกับวัตถุจะมีช่วงคลื่น สั้นกว่าความสูงของพื้นผิววัตถุ หรือความ ขรุขระของวัตถุ 
•มีการสะท้อนพลังงานหลายทิศทาง ที่มีการ กระจายแบบสม่าเสมอ
กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) 
3. กำรสะท้อนพลังงำนแบบผสม (Scattering) 
•เกิดกับวัตถุตามธรรมชาติ เช่น คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ากระทบกับอนุภาคที่อยู่ใน อากาศ (ก๊าซ, ไอน้า) 
•มีลักษณะการสะท้อนแบบสะท้อนกลับ หมดในทิศทางตรงกันข้ามและการสะท้อน แบบกระจายผสมอยู่ซึ่งการสะท้อน พลังงานในลักษณะนี้ จะมีทิศทางไม่ แน่นอน
กำรสำรวจระยะไกลย่ำนแสงที่ตำมองเห็นและอินฟรำเรดสะท้อน 
รีโมตเซนซิงช่วงคลื่นแสง (Optical remote sensing) เป็นกำรบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่นแสง ได้แก่ ช่วง คลื่นแสงตำมองเห็น (visible), อินฟรำเรดใกล้ (near infrared) และอินฟรำเรดคลื่นสั้น (shortwave infrared) จำกกำรสะท้อนพลังงำนแสงอำทิตย์เมื่อตกกระทบวัตถุบนพื้นผิวโลก 
ที่มา: http://www.learners.in.th/blog/fonyanee/299762/2554
กำรสำรวจระยะไกลย่ำนแสงที่ตำมองเห็นและ อินฟรำเรดสะท้อน (ต่อ) 
Visible 
ที่มา: http://www.sattmet.tmd.go.th/newversion/mergesat.html/2554
กำรสำรวจระยะไกลย่ำนแสงที่ตำมองเห็นและ อินฟรำเรดสะท้อน (ต่อ) 
Infrared 
ที่มา: http://www.sattmet.tmd.go.th/newversion/mergesat.html/2554
กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล 
(Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย 
ด้ำนกำรเกษตร 
· 
ภาพถ่ายจากดาวเทียมใช้สารวจบริเวณพื้นที่ เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น พื้นที่ปลูกข้าว ปาล์ม น้ามัน ยางพารา สัปปะรด อ้อย ข้าวโพด ฯลฯ 
ผลลัพธ์จากการแปลภาพใช้ประเมินการเปลี่ยนแปลง การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในแง่ปริมาณ ราคา ช่วงเวลา ฯลฯ 
ติดตามขอบเขตและความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่า และเขตอนุรักษ์พันธุ์ไม้ 
ประเมินบริเวณพื้นที่ที่เหมาะสม (มีศักยภาพ) ในการ ปลูกพืชต่าง ๆ เช่น ข้าว ปาล์มน้ามัน มันสาปะหลัง เป็นต้น
กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) 
ด้ำนป่ำไม้ 
ติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้จากการแปล ภาพถ่ายจากดาวเทียม เช่น ป่าดงดิบ ป่าดิบชื้น ป่าเต็ง รัง ป่าชายเลน เป็นต้น 
ผลลัพธ์จากการแปลสภาพพื้นที่ป่า เพื่อสารวจพื้นที่ ป่าอุดมสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรม 
ติดตามพื้นที่ไฟป่าและความเสียหายจากไฟป่า 
ประเมินพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับปลูกป่าทดแทน บริเวณที่ถูกบุกรุก หรือโดนไฟป่า
กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) 
ด้ำนธรณีวิทยำ 
 การใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมแปลสภาพพื้นที่เพื่อ จัดทาแผนที่ธรณีวิทยาและโครงสร้างทางธรณี ซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องใช้เวลาและงบประมาณในการ สารวจ และนามาสนับสนุนในการพัฒนาประเทศ เช่น เพื่อการประเมินหาแหล่งแร่ แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติ แหล่งน้าบาดาล การสร้าง เขื่อน เป็นต้น 
การใช้รีโมทเซนซิง มาสนับสนุนการจัดทาแผนที่ภูมิ ประเทศ
กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) 
ด้ำนกำรวำงผังเมือง 
· 
 ใช้รีโมทเซนซิง ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูง เพื่อใช้ติดตามการขยายตัวของเมือง 
ใช้ภาพถ่ายรายละเอียดสูง ติดตามระบบ สาธารณูปโภค เช่น ระบบคมนาคมขนส่งทางบก ทางน้า BTS ไฟฟ้า เป็นต้น 
ผลลัพธ์จากการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียมนามาใช้ ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์วิเคราะห์การพัฒนา สาธารณูปการ เช่น การจัดสร้าง/ปรับปรุง สถานศึกษา โรงพยาบาล สถานีตารวจ ดับเพลิง ไปรษณีย์ ห้องสมุด สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ เป็นต้น
กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) 
ด้ำนสิ่งแวดล้อม 
 รีโมทเซนซิง ได้ใช้แปลสภาพทรัพยากรชายฝั่งที่ เปลี่ยนแปลง เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิเคราะห์การจัดการ ทรัพยากรชายฝั่ง เช่น การพังทลายของดินชายฝั่ง การทาลาย ป่าชายเลน การทานากุ้ง การอนุรักษ์ปะการัง เป็นต้น 
ภาพถ่ายจากดาวเทียมในช่วงคลื่น Visible ช่วยในการ ศึกษา/ ติดตาม/ตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้า 
ผลลัพธ์จากการแปลภาพนามาประกอบระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ในการวิเคราะห์ความรุนแรงของปัญหาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมทางด้านน้า อากาศ เสียง ขยะ และ สารพิษ· รีโมทเซนซิง จึงช่วยสนับสนุนการวางแผนพัฒนา คุณภาพสิ่งแวดล้อม
กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) 
ด้ำนอุตุนิยมวิทยำ/อุบัติภัย 
 ภาพถ่ายจากดาวเทียม สามารถใช้ถ่ายพื้นที่ที่ได้รับเหตุ อุบัติภัย และกาหนดขอบเขตบริเวณที่เกิดอุบัติภัยได้ ติดตามและประเมินผลเสียหายเบื้องต้นภาพถ่ายจาก ดาวเทียมนามาใช้ศึกษาลักษณะการเกิดและประเมิน ความรุนแรง 
ผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลพื้นที่ได้รับผลกระทบ เพื่อการ วางแผนช่วยเหลือและฟื้นฟู
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร 
การสารวจทรัพยากรโลกด้วยดาวเทียมสารวจทรัพยากร ได้วิวัฒนาการจากการ ได้รับภาพถ่ายโลก ภาพแรกจากการส่งสัญญาณภาพของดาวเทียม Explorer VI ใน เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2502 ตั้งแต่นั้นมา การสารวจโลกด้วยภาพถ่ายดาวเทียม ได้มีการ พัฒนาเป็นลาดับทั้งระบบบันทึกข้อมูล และอุปการณ์ที่สามารถใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ อย่างมากมาย วิวัฒนาการของดาวเทียมสารวจทรัพยากรเป็นไปอย่างรวดเร็วและ ต่อเนื่อง
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) 
LANDSAT เป็นดาวเทียมสารวจ ทรัพยากรธรรมชาติดวงแรก ที่ถูกส่งเข้าสู่วงโคจร เมื่อ พ.ศ. 2515 
ประโยชน์ที่ได้รับ (ศึกษาลักษณะภูมิประเทศ) - ด้านการสารวจพื้นที่ป่าไม้ - ด้านการเกษตร - ด้านการใช้ที่ดิน - ด้านธรณีวิทยา เพื่อจัดทาแผนที่ภูมิประเทศ หาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในดิน - ด้านอุทกวิทยา เพื่อศึกษาสภาพและแหล่งน้า ทั้งบนดินและใต้ดิน ฯลฯ
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) 
ดำวเทียม SPOT อยู่ในควำม รับผิดชอบของสถำบันอวกำศแห่งชำติฝรั่งเศส ร่วมกับประเทศในกลุ่มยุโรป อุปกรณ์บันทึก ข้อมูลของดำวเทียม SPOT ประกอบด้วย High Resolution Visible (HRV) จำนวน 2 กล้อง คือระบบหลำยช่วงคลื่น (Multispectral Mode) มี 3 ช่วงคลื่น ระบบช่วงคลื่นเดียว (Panchromatic Mode) ข้อมูลจำกดำวเทียม SPOT สำมำรถนำไปใช้ศึกษำพื้นที่ป่ำ กำรทำ แผนที่กำรใช้ที่ดิน ธรณีวิทยำ อุทกวิทยำ แหล่ง น้ำ สมุทรศำสตร์ และชำยฝั่ง 
ดำวเทียม SPOT
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) 
ดำวเทียม ERS-1 
ดำวเทียม ERS-1 (European Remote Sensing Satellite) พัฒนำโดยองค์กำร อวกำศแห่งยุโรป มีคุณสมบัติพิเศษในกำร บันทึกข้อมูลแบบ active sensor คือ เรดำร์ สำมำรถถ่ำยภำพทะลุเมฆ และวัตถุ บำงชนิด ได้ สำมำรถบันทึกข้อมูลในเวลำกลำงคืนได้และ ในทุกสภำพอำกำศ บันทึกข้อมูลในช่วงคลื่น ไมโครเวฟ คือ 1 มิลลิเมตร ถึง 1 เมตร ปัจจุบัน ดำวเทียมชุดนี้ปฏิบัติกำรอยู่ 2 ดวง คือ ERS-1 และ ERS-2
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) 
องค์กำรพัฒนำอวกำศแห่งชำติญี่ปุ่น (NASDA) ได้พัฒนำโครงกำรระบบดำวเทียมที่ ถ่ำยภำพทะลุเมฆได้โดยใช้เรดำร์ ชื่อว่ำดำวเทียม JERS-1 (Japanese Earth Resources Satellite) มีอุปกรณ์ถ่ำยภำพทะลุเมฆที่เรียกว่ำ Synthetic Aperture Radar (SAR) แล้วยังมีอุปกรณ์ที่ เรียกว่ำ Optical Sensors (OPS) ซึ่งอุปกรณ์ชนิด นี้ใช้ CCD ในกำรรับแสงสะท้อนจำกผิวโลก ตั้งแต่ ช่วงคลื่นที่ตำมองเห็น จนถึงช่วงคลื่นอินฟรำเรด และสำมำรถถ่ำยภำพในระบบสำมมิติตำมแนว โคจรได้ด้วย 
ดำวเทียม JERS 1
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) 
ดำวเทียม MOS 1 
ดำวเทียม MOS ขององค์กำรพัฒนำ อวกำศแห่งชำติญี่ปุ่น มีอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูล 3 ระบบ คือ ระบบ Multispectral Electronic Self Scanning ระบบ Visible Thermal Infrared Radiometer (VTIR) ระบบ Microwave Scanning Radiometer(MSR)
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) 
ปี 1981 กำรติดตั้งสถำนีภำคพื้นดินรับสัญญำณจำก ดำวเทียม Landsat ที่เขตลำดกระบัง กรุงเทพฯ เป็นสถำนี ภำคพื้นดินแห่งแรกในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
ปี 1997 ดำวเทียมไทพัฒ ดำวเทียมสัญชำติไทย ดวงแรก เพื่อกำรศึกษำด้ำนกำรสำรวจทรัพยำกร เข้ำสู่วงโคจร 
ปี 2004 โครงกำรสำรวจทรัพยำกรของไทย THEOS โครงกำรควำมร่วมมือระหว่ำงรัฐบำลไทยและฝรั่งเศส 
ปี 2008 ส่งดำวเทียม THEOS ขึ้นสู่อวกำศ
พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) 
"ธีออส" เป็นดาวเทียมขนาดเล็ก หนัก 750 กิโลกรัม โคจร เหนือพื้นผิวโลก 822 กิโลเมตร ตัวดาวเทียม ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ 
1. อุปกรณ์ถ่ายภาพ 
2. ส่วนควบคุมสนับสนุนการทางานของ ดาวเทียมสามารถบันทึกภาพ ขาว-ดา รายละเอียดภาพ 2 เมตร บันทึกภาพสี รายละเอียดภาพ 15 เมตร 
หน้ำที่หลัก คือถ่ายภาพสารวจทรัพยากร ส่วนการนามา ประยุกต์ใช้งานขึ้นอยู่ว่าจะนาไปใช้เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ด้านภัยพิบัติ ภาพถ่ายจาก ดาวเทียมที่บันทึกก่อนเหตุการณ์จะเป็นประโยชน์ในการ วางแผนป้องกันการเกิดภัยพิบัติ เช่น น้าท่วม ดินถล่ม เพลิงไหม้ เป็นต้น
อ้ำงอิง 
1.ศุทธินี ดนตรี. 2542. ควำมรู้พื้นฐำนด้ำนกำรสำรวจระยะไกล. ภาควิชา ภูมิศาสตร์. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 
2.http://www.gisthai.org/about-gis/remote-sensing.html 
3.http://www.kru-aoy.com/remote1-1.html 
4.www.dti.or.th/eng/images/stories/KM/SatelliteTechnology.pps 
5.https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=5680 
6.http://www.gis2me.com/th/?p=729
2 remote sensing(ppt)

Contenu connexe

Tendances

2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59Nickson Butsriwong
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาsoysuwanyuennan
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)Jariya Jaiyot
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันThepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธChattichai
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยทศวรรษ โตเสือ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็กssuserd18196
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ อะลิ้ตเติ้ล นก
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 

Tendances (20)

2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 592.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
2.4โภชนาการสำหรับเด็กวัยรุ่น 59
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
สถิติการเกษตร
สถิติการเกษตรสถิติการเกษตร
สถิติการเกษตร
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยาโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 2_บทที่ 6 แผนที่ภูมิประเทศและแผนที่ธรณีวิทยา
 
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
แบบทดสอบเรื่อง ดาราศาสตร์ ชุด 1(อัตนัย)
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธบทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
บทที่ 5 มุม แบริงส์ และแอซิมัธ
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทยม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
ม4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
หยาดน้ำฟ้า1
หยาดน้ำฟ้า1หยาดน้ำฟ้า1
หยาดน้ำฟ้า1
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 

En vedette

876211 20140917154302(1)
876211 20140917154302(1)876211 20140917154302(1)
876211 20140917154302(1)saintja
 
876211 20140917154132 2
876211 20140917154132 2876211 20140917154132 2
876211 20140917154132 2saintja
 
876211 20140917154114 2
876211 20140917154114 2876211 20140917154114 2
876211 20140917154114 2saintja
 
คู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gisคู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gissaintja
 
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 fileเอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 filesaintja
 
วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์พัน พัน
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่ครูอ้อ วิรยา
 
Codes and Conventions
Codes and Conventions Codes and Conventions
Codes and Conventions tomjmcleod
 
LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...
LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...
LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...Luca Bellardini
 
OpenForest -portal and Case of Bark Bread
OpenForest -portal and Case of Bark Bread OpenForest -portal and Case of Bark Bread
OpenForest -portal and Case of Bark Bread Anu Liljeström
 
Speech Presentation
Speech PresentationSpeech Presentation
Speech PresentationJoyce Costa
 
M2G May 2015 GTI Presentation
M2G May 2015 GTI PresentationM2G May 2015 GTI Presentation
M2G May 2015 GTI PresentationCharles Rice
 

En vedette (20)

876211 20140917154302(1)
876211 20140917154302(1)876211 20140917154302(1)
876211 20140917154302(1)
 
876211 20140917154132 2
876211 20140917154132 2876211 20140917154132 2
876211 20140917154132 2
 
876211 20140917154114 2
876211 20140917154114 2876211 20140917154114 2
876211 20140917154114 2
 
คู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gisคู่มือ Arc gis
คู่มือ Arc gis
 
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 fileเอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
เอกสารประกอบการเรียน ( ชุดที่ 5 )451 file
 
วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์วิชาภูมิศาสตร์
วิชาภูมิศาสตร์
 
Remote Sensing ppt
Remote Sensing pptRemote Sensing ppt
Remote Sensing ppt
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง-แผนที่
 
OSHA Certificates
OSHA CertificatesOSHA Certificates
OSHA Certificates
 
Codes and Conventions
Codes and Conventions Codes and Conventions
Codes and Conventions
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...
LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...
LA BATTAGLIA DELLE IDEE: QUEI GIOVANI IMPRENDITORI VERSO IL FUTURO - Retrò On...
 
Penilaian
PenilaianPenilaian
Penilaian
 
Phk
PhkPhk
Phk
 
Revisi pid klmpk 1
Revisi pid klmpk 1Revisi pid klmpk 1
Revisi pid klmpk 1
 
OpenForest -portal and Case of Bark Bread
OpenForest -portal and Case of Bark Bread OpenForest -portal and Case of Bark Bread
OpenForest -portal and Case of Bark Bread
 
Speech Presentation
Speech PresentationSpeech Presentation
Speech Presentation
 
S2 work2m33no17
S2 work2m33no17S2 work2m33no17
S2 work2m33no17
 
M2G May 2015 GTI Presentation
M2G May 2015 GTI PresentationM2G May 2015 GTI Presentation
M2G May 2015 GTI Presentation
 
Cupcakes!
Cupcakes!Cupcakes!
Cupcakes!
 

Similaire à 2 remote sensing(ppt)

ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์krunimsocial
 
อินฟาเรด
อินฟาเรดอินฟาเรด
อินฟาเรดVan Wongsiri
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407Palm Siripakorn
 
First Week
First WeekFirst Week
First Weekwirotela
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศnarongsakday
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405Jutapak Mahapaskorn
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403Supanut Maiyos
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพMuay Muay Somruthai
 
Presentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationPresentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationSunt Uttayarath
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySunt Uttayarath
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405Nachi Montianarrt
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721CUPress
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32krupornpana55
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402Pitchayanis Kittichaovanun
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404Sawita Jiravorasuk
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407Proud Meksumpun
 

Similaire à 2 remote sensing(ppt) (20)

ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
ใบความรู้ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
 
อินฟาเรด
อินฟาเรดอินฟาเรด
อินฟาเรด
 
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
ดาวเทียม(โปรดปราน กฤติมา)407
 
First Week
First WeekFirst Week
First Week
 
Rs
RsRs
Rs
 
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
ไมโครเวฟ(จุธาภัค+กมลรัตน์)405
 
01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces01 coastal erosion 6 provinces
01 coastal erosion 6 provinces
 
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
คลื่นไมโครเวฟ(เจตน์+ศุภณัฐ)403
 
คุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพคุณสมบัติของภาพ
คุณสมบัติของภาพ
 
Presentation SMMS Application
Presentation SMMS ApplicationPresentation SMMS Application
Presentation SMMS Application
 
SMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum LibrarySMMS 53 Spectrum Library
SMMS 53 Spectrum Library
 
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
ไมโครเวฟ(ภคพรวรรณ+ณิชา)405
 
9789740330721
97897403307219789740330721
9789740330721
 
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
เฉลยข้อสอบ O net ปี 2552 ข้อ 32
 
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
คลื่นไมโครเวฟ (ยุวภรณ์+พิชญานิษฐ์)402
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
ไมโครเวฟ(มนัสชยา+ศวิตา)404
 
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
ดาวเทียม(ธัญธร พราว)407
 
Start
StartStart
Start
 

2 remote sensing(ppt)

  • 1. นำเสนอโดย นำงสำวเฑียรมณี มั่งมูล 54402632 สำยวิชำเทคโนโลยีพลังงำน คณะพลังงำนสิ่งแวดล้อมและวัสดุ มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้ำธนบุรี
  • 2. หัวข้อที่กล่ำวถึง Remote Sensing คืออะไร หลักกำรทำงำนของ Remote Sensing กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำรปล่อยคลื่น อินฟรำเรดของโลก กำรสำรวจระยะไกลย่ำนแสงที่ตำมองเห็นและอินฟรำเรดสะท้อน กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของ ประเทศไทย พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร
  • 3. รีโมตเซนซิง (Remote Sensing) คืออะไร ??? กำรได้ข้อมูลเกี่ยวกับพื้นผิวโลก โดยไม่มีกำร สัมผัส ซึ่งใช้วิธีตรวจจับและบันทึกพลังงำนที่ได้ จำกกำรสะท้อนและกำรปล่อยพลังงำนของสิ่งที่ สนใจ แล้วนำข้อมูลไปผ่ำนกระบวนกำรต่ำง ๆ รวมถึงกำรวิเครำะห์เพื่อที่จะนำมำใช้งำน
  • 4. หลักกำรทำงำนของ Remote Sensing ที่มา: http:// www. krupuysocial.wordpress.com./2554
  • 7. กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก เมื่อพลังงำนจำกดวงอำทิตย์ผ่ำน ทะลุผ่ำนชั้นบรรยำกำศ มำตกกระทบ พื้นผิวโลกจะเกิดปฏิกิริยำหลักขึ้น 3 อย่ำง คือ •กำรสะท้อนพลังงำน (Reflection) •กำรดูดกลืนพลังงำน (Absorption) •กำรส่งผ่ำนพลังงำน (Transmission)
  • 8. กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) กำรสะท้อนพลังงำน (Reflection) เป็นปฏิกิริยาที่สาคัญที่สุด เพราะ Remote Sensing ส่วนมากจะบันทึก พลังงานที่สะท้อนจากวัตถุ •ช่วงที่ตามองเห็น 0.4-0.7 micron •ช่วงอินฟราเรด 0.7-3.0 micron ซึ่งจะแปรผันตามองค์ประกอบดังนี้ - ลักษณะพื้นผิววัตถุ - สภาพแวดล้อมที่อยู่รอบข้าง (สภาพอากาศ, ภูมิประเทศ, อุณหภูมิ) - มุมตกกระทบของแสง - ความสามารถและอัตราการสะท้อนแสงของพื้นผิวผิววัตถุ
  • 9. กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) พลังงำนที่ตกกระทบและสะท้อนกลับเกิดขึ้นได้ 3 แบบ 1. กำรสะท้อนกลับหมดในทิศทำงตรงกันข้ำม (Specular reflector) •พื้นผิววัตถุมีลักษณะราบเรียบ •พลังงานที่ตกกระทบมีช่วงคลื่นยาว ทาให้ ภาพที่ปรากฏมีลักษณะค่อนข้างเรียบ •มุมที่พลังงานสะท้อนกลับจะเท่ากับมุมที่ตก กระทบวัตถุโดยเทียบกับแกนตั้งฉากบน ระนาบเดียวกัน
  • 10. กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) 2. กำรสะท้อนแบบกระจำย (Diffuse or Lambertain reflector) •พื้นผิววัตถุมีลักษณะขรุขระ •พลังงานที่ตกกระทบกับวัตถุจะมีช่วงคลื่น สั้นกว่าความสูงของพื้นผิววัตถุ หรือความ ขรุขระของวัตถุ •มีการสะท้อนพลังงานหลายทิศทาง ที่มีการ กระจายแบบสม่าเสมอ
  • 11. กลไกกำรสะท้อนแสงของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ำ และกำร ปล่อยคลื่นอินฟรำเรดของโลก (ต่อ) 3. กำรสะท้อนพลังงำนแบบผสม (Scattering) •เกิดกับวัตถุตามธรรมชาติ เช่น คลื่น แม่เหล็กไฟฟ้ากระทบกับอนุภาคที่อยู่ใน อากาศ (ก๊าซ, ไอน้า) •มีลักษณะการสะท้อนแบบสะท้อนกลับ หมดในทิศทางตรงกันข้ามและการสะท้อน แบบกระจายผสมอยู่ซึ่งการสะท้อน พลังงานในลักษณะนี้ จะมีทิศทางไม่ แน่นอน
  • 12. กำรสำรวจระยะไกลย่ำนแสงที่ตำมองเห็นและอินฟรำเรดสะท้อน รีโมตเซนซิงช่วงคลื่นแสง (Optical remote sensing) เป็นกำรบันทึกข้อมูลในช่วงคลื่นแสง ได้แก่ ช่วง คลื่นแสงตำมองเห็น (visible), อินฟรำเรดใกล้ (near infrared) และอินฟรำเรดคลื่นสั้น (shortwave infrared) จำกกำรสะท้อนพลังงำนแสงอำทิตย์เมื่อตกกระทบวัตถุบนพื้นผิวโลก ที่มา: http://www.learners.in.th/blog/fonyanee/299762/2554
  • 15. กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย ด้ำนกำรเกษตร · ภาพถ่ายจากดาวเทียมใช้สารวจบริเวณพื้นที่ เพาะปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น พื้นที่ปลูกข้าว ปาล์ม น้ามัน ยางพารา สัปปะรด อ้อย ข้าวโพด ฯลฯ ผลลัพธ์จากการแปลภาพใช้ประเมินการเปลี่ยนแปลง การเพาะปลูกพืชเศรษฐกิจในแง่ปริมาณ ราคา ช่วงเวลา ฯลฯ ติดตามขอบเขตและความอุดมสมบูรณ์ของพื้นที่ป่า และเขตอนุรักษ์พันธุ์ไม้ ประเมินบริเวณพื้นที่ที่เหมาะสม (มีศักยภาพ) ในการ ปลูกพืชต่าง ๆ เช่น ข้าว ปาล์มน้ามัน มันสาปะหลัง เป็นต้น
  • 16. กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) ด้ำนป่ำไม้ ติดตามการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ป่าไม้จากการแปล ภาพถ่ายจากดาวเทียม เช่น ป่าดงดิบ ป่าดิบชื้น ป่าเต็ง รัง ป่าชายเลน เป็นต้น ผลลัพธ์จากการแปลสภาพพื้นที่ป่า เพื่อสารวจพื้นที่ ป่าอุดมสมบูรณ์และป่าเสื่อมโทรม ติดตามพื้นที่ไฟป่าและความเสียหายจากไฟป่า ประเมินพื้นที่ที่เหมาะสมสาหรับปลูกป่าทดแทน บริเวณที่ถูกบุกรุก หรือโดนไฟป่า
  • 17. กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) ด้ำนธรณีวิทยำ  การใช้ภาพถ่ายจากดาวเทียมแปลสภาพพื้นที่เพื่อ จัดทาแผนที่ธรณีวิทยาและโครงสร้างทางธรณี ซึ่งเป็นข้อมูลที่ต้องใช้เวลาและงบประมาณในการ สารวจ และนามาสนับสนุนในการพัฒนาประเทศ เช่น เพื่อการประเมินหาแหล่งแร่ แหล่งเชื้อเพลิงธรรมชาติ แหล่งน้าบาดาล การสร้าง เขื่อน เป็นต้น การใช้รีโมทเซนซิง มาสนับสนุนการจัดทาแผนที่ภูมิ ประเทศ
  • 18. กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) ด้ำนกำรวำงผังเมือง ·  ใช้รีโมทเซนซิง ภาพถ่ายจากดาวเทียมรายละเอียดสูง เพื่อใช้ติดตามการขยายตัวของเมือง ใช้ภาพถ่ายรายละเอียดสูง ติดตามระบบ สาธารณูปโภค เช่น ระบบคมนาคมขนส่งทางบก ทางน้า BTS ไฟฟ้า เป็นต้น ผลลัพธ์จากการแปลภาพถ่ายจากดาวเทียมนามาใช้ ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์วิเคราะห์การพัฒนา สาธารณูปการ เช่น การจัดสร้าง/ปรับปรุง สถานศึกษา โรงพยาบาล สถานีตารวจ ดับเพลิง ไปรษณีย์ ห้องสมุด สนามเด็กเล่น สวนสาธารณะ เป็นต้น
  • 19. กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) ด้ำนสิ่งแวดล้อม  รีโมทเซนซิง ได้ใช้แปลสภาพทรัพยากรชายฝั่งที่ เปลี่ยนแปลง เป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิเคราะห์การจัดการ ทรัพยากรชายฝั่ง เช่น การพังทลายของดินชายฝั่ง การทาลาย ป่าชายเลน การทานากุ้ง การอนุรักษ์ปะการัง เป็นต้น ภาพถ่ายจากดาวเทียมในช่วงคลื่น Visible ช่วยในการ ศึกษา/ ติดตาม/ตรวจสอบความเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้า ผลลัพธ์จากการแปลภาพนามาประกอบระบบสารสนเทศ ภูมิศาสตร์ ในการวิเคราะห์ความรุนแรงของปัญหาคุณภาพ สิ่งแวดล้อมทางด้านน้า อากาศ เสียง ขยะ และ สารพิษ· รีโมทเซนซิง จึงช่วยสนับสนุนการวางแผนพัฒนา คุณภาพสิ่งแวดล้อม
  • 20. กำรประยุกต์กำรสำรวจข้อมูลระยะไกล (Remote Sensing) ที่สำคัญของประเทศไทย (ต่อ) ด้ำนอุตุนิยมวิทยำ/อุบัติภัย  ภาพถ่ายจากดาวเทียม สามารถใช้ถ่ายพื้นที่ที่ได้รับเหตุ อุบัติภัย และกาหนดขอบเขตบริเวณที่เกิดอุบัติภัยได้ ติดตามและประเมินผลเสียหายเบื้องต้นภาพถ่ายจาก ดาวเทียมนามาใช้ศึกษาลักษณะการเกิดและประเมิน ความรุนแรง ผลลัพธ์ที่ได้จากการแปลพื้นที่ได้รับผลกระทบ เพื่อการ วางแผนช่วยเหลือและฟื้นฟู
  • 21. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร การสารวจทรัพยากรโลกด้วยดาวเทียมสารวจทรัพยากร ได้วิวัฒนาการจากการ ได้รับภาพถ่ายโลก ภาพแรกจากการส่งสัญญาณภาพของดาวเทียม Explorer VI ใน เดือนสิงหาคม พ.ศ. 2502 ตั้งแต่นั้นมา การสารวจโลกด้วยภาพถ่ายดาวเทียม ได้มีการ พัฒนาเป็นลาดับทั้งระบบบันทึกข้อมูล และอุปการณ์ที่สามารถใช้ประโยชน์ด้านต่างๆ อย่างมากมาย วิวัฒนาการของดาวเทียมสารวจทรัพยากรเป็นไปอย่างรวดเร็วและ ต่อเนื่อง
  • 22. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) LANDSAT เป็นดาวเทียมสารวจ ทรัพยากรธรรมชาติดวงแรก ที่ถูกส่งเข้าสู่วงโคจร เมื่อ พ.ศ. 2515 ประโยชน์ที่ได้รับ (ศึกษาลักษณะภูมิประเทศ) - ด้านการสารวจพื้นที่ป่าไม้ - ด้านการเกษตร - ด้านการใช้ที่ดิน - ด้านธรณีวิทยา เพื่อจัดทาแผนที่ภูมิประเทศ หาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติในดิน - ด้านอุทกวิทยา เพื่อศึกษาสภาพและแหล่งน้า ทั้งบนดินและใต้ดิน ฯลฯ
  • 23. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) ดำวเทียม SPOT อยู่ในควำม รับผิดชอบของสถำบันอวกำศแห่งชำติฝรั่งเศส ร่วมกับประเทศในกลุ่มยุโรป อุปกรณ์บันทึก ข้อมูลของดำวเทียม SPOT ประกอบด้วย High Resolution Visible (HRV) จำนวน 2 กล้อง คือระบบหลำยช่วงคลื่น (Multispectral Mode) มี 3 ช่วงคลื่น ระบบช่วงคลื่นเดียว (Panchromatic Mode) ข้อมูลจำกดำวเทียม SPOT สำมำรถนำไปใช้ศึกษำพื้นที่ป่ำ กำรทำ แผนที่กำรใช้ที่ดิน ธรณีวิทยำ อุทกวิทยำ แหล่ง น้ำ สมุทรศำสตร์ และชำยฝั่ง ดำวเทียม SPOT
  • 24. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) ดำวเทียม ERS-1 ดำวเทียม ERS-1 (European Remote Sensing Satellite) พัฒนำโดยองค์กำร อวกำศแห่งยุโรป มีคุณสมบัติพิเศษในกำร บันทึกข้อมูลแบบ active sensor คือ เรดำร์ สำมำรถถ่ำยภำพทะลุเมฆ และวัตถุ บำงชนิด ได้ สำมำรถบันทึกข้อมูลในเวลำกลำงคืนได้และ ในทุกสภำพอำกำศ บันทึกข้อมูลในช่วงคลื่น ไมโครเวฟ คือ 1 มิลลิเมตร ถึง 1 เมตร ปัจจุบัน ดำวเทียมชุดนี้ปฏิบัติกำรอยู่ 2 ดวง คือ ERS-1 และ ERS-2
  • 25. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) องค์กำรพัฒนำอวกำศแห่งชำติญี่ปุ่น (NASDA) ได้พัฒนำโครงกำรระบบดำวเทียมที่ ถ่ำยภำพทะลุเมฆได้โดยใช้เรดำร์ ชื่อว่ำดำวเทียม JERS-1 (Japanese Earth Resources Satellite) มีอุปกรณ์ถ่ำยภำพทะลุเมฆที่เรียกว่ำ Synthetic Aperture Radar (SAR) แล้วยังมีอุปกรณ์ที่ เรียกว่ำ Optical Sensors (OPS) ซึ่งอุปกรณ์ชนิด นี้ใช้ CCD ในกำรรับแสงสะท้อนจำกผิวโลก ตั้งแต่ ช่วงคลื่นที่ตำมองเห็น จนถึงช่วงคลื่นอินฟรำเรด และสำมำรถถ่ำยภำพในระบบสำมมิติตำมแนว โคจรได้ด้วย ดำวเทียม JERS 1
  • 26. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) ดำวเทียม MOS 1 ดำวเทียม MOS ขององค์กำรพัฒนำ อวกำศแห่งชำติญี่ปุ่น มีอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูล 3 ระบบ คือ ระบบ Multispectral Electronic Self Scanning ระบบ Visible Thermal Infrared Radiometer (VTIR) ระบบ Microwave Scanning Radiometer(MSR)
  • 27. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) ปี 1981 กำรติดตั้งสถำนีภำคพื้นดินรับสัญญำณจำก ดำวเทียม Landsat ที่เขตลำดกระบัง กรุงเทพฯ เป็นสถำนี ภำคพื้นดินแห่งแรกในภูมิภำคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ปี 1997 ดำวเทียมไทพัฒ ดำวเทียมสัญชำติไทย ดวงแรก เพื่อกำรศึกษำด้ำนกำรสำรวจทรัพยำกร เข้ำสู่วงโคจร ปี 2004 โครงกำรสำรวจทรัพยำกรของไทย THEOS โครงกำรควำมร่วมมือระหว่ำงรัฐบำลไทยและฝรั่งเศส ปี 2008 ส่งดำวเทียม THEOS ขึ้นสู่อวกำศ
  • 28. พัฒนำกำรของดำวเทียมสำรวจทรัพยำกร (ต่อ) "ธีออส" เป็นดาวเทียมขนาดเล็ก หนัก 750 กิโลกรัม โคจร เหนือพื้นผิวโลก 822 กิโลเมตร ตัวดาวเทียม ประกอบด้วย 2 ส่วนหลัก คือ 1. อุปกรณ์ถ่ายภาพ 2. ส่วนควบคุมสนับสนุนการทางานของ ดาวเทียมสามารถบันทึกภาพ ขาว-ดา รายละเอียดภาพ 2 เมตร บันทึกภาพสี รายละเอียดภาพ 15 เมตร หน้ำที่หลัก คือถ่ายภาพสารวจทรัพยากร ส่วนการนามา ประยุกต์ใช้งานขึ้นอยู่ว่าจะนาไปใช้เพื่อก่อให้เกิด ประโยชน์ด้านต่างๆ เช่น ด้านภัยพิบัติ ภาพถ่ายจาก ดาวเทียมที่บันทึกก่อนเหตุการณ์จะเป็นประโยชน์ในการ วางแผนป้องกันการเกิดภัยพิบัติ เช่น น้าท่วม ดินถล่ม เพลิงไหม้ เป็นต้น
  • 29. อ้ำงอิง 1.ศุทธินี ดนตรี. 2542. ควำมรู้พื้นฐำนด้ำนกำรสำรวจระยะไกล. ภาควิชา ภูมิศาสตร์. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2.http://www.gisthai.org/about-gis/remote-sensing.html 3.http://www.kru-aoy.com/remote1-1.html 4.www.dti.or.th/eng/images/stories/KM/SatelliteTechnology.pps 5.https://www.myfirstbrain.com/student_view.aspx?ID=5680 6.http://www.gis2me.com/th/?p=729