SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  14
Télécharger pour lire hors ligne
การป้องกันการเกิดแผลกดทับ 
ในผู้ป่วยบาดเจ็บศรีษะ
ความเป็นมาของปัญหา 
การบาดเจ็บศรีษะก่อให้เกิดความกระทบกระเทือนต่อหนังศรีษะ 
กะโหลกศรีษะ และเนื้อเยื่อภายใน ทา ให้เกิดการบกพร่องในการทา งานของ 
ระบบความจา ความรู้สึก ผูป้่วยจะมีความรู้สึกตัวลดลง ไม่สามารถ 
เคลื่อนไหวร่างกายไดด้ว้ยตัวเอง และมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอ้น ได้แก่ 
แผลกดทับ 
จากการศึกษางานวิจัยทั่วๆไป พบว่ามีงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการ 
ป้องกันแผลกดทับ ดังนั้นกลุ่มขา้พเจา้จึงสนใจที่จะทา วิจัยเรื่องนี้ เพื่อนาไป 
เป็นแนวปฎิบัติต่อไป
วัตถุประสงค์ 
1. ศึกษาการเกิดแผลกดทับในผูป้่วยบาดเจ็บศรีษะ 
2. ศึกษาวิธีการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผูป้่วยบาดเจ็บศรีษะ
วิธีดาเนินการวิจัย 
* ประชากรที่ทาการศึกษา ได้แก่ 
ผู้ป่วยที่บาดเจ็บศรีษะที่เข้ารับการรกษาในโรงพยาบาล 
* เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 
เครื่องมือสาหรับคัดกรองผู้ป่วย เช่น แบบประเมินความเสี่ยงของการเกิด 
แผลกดทับของบราเดน 
* เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 
1. แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย 
2. แบบบันทึกการเกิดแผลกดทับ
แผลกดทับ 
คือ บริเวณเนื้อเยื่อหรือเซลล์ที่มีการตายเนื่องจากขาดเลือดไปเลี้ยง จากการ 
ถูกกดทับเป็นเวลานาน สา หรับส่วนที่พบแผลกดทับบ่อย คือ บริเวณเนื้อเยื่อ 
หรือปุ่มกระดูก
ความรุนแรงของการเกิดแผลกดทับ 
แบ่งเป็น 4 ระดับ 
ระดับที่ 1 ผิวหนังบริเวณที่ถูกกดทับอุ่นขึ้น มีรอยแดง 
ระดับที่ 2 ผิวหนังบริเวณนั้น มีแผลถลอกเป็นตุ่มพอง อาจมีน้าเหลืองซึม 
ระดับที่ 3 แผลเป็นลุมลึก ขึ้น มีน้าเหลืองหรือน้าหนองจากแผล 
ระดับที่ 4 เนื้อเยื่อถูกทา ลายอย่างมากลึกถึงชนั้กลา้มเนื้อ มีสีม่วงคลา้ 
หรือดา
ระดับอาการแผลกดทับ
แผลกดทับในผ้ปู่วยบาดเจ็บศรีษะ 
การบาดเจ็บศรีษะส่งผลให้ผูป้่วยมีระดับความรู้สึกตัวลดลงและมี 
ขอ้จา กัดในการเคลื่อนไหว การลดความสามารถในการเคลื่อนไหวร่างกาย 
เป็นปัจจัยสา คัญที่ก่อให้เกิดแผลกดทับ ผูป้่วยบาดเจ็บศรีษะระดับปานกลาง 
และรุนแรง มีโอกาสการเกิดแผลกดทับไดสู้งกว่าผูป้่วยที่บาดเจ็บศรีษะใน 
ระดับเล็กน้อย
ปัจจัยที่สัมพันธ์กับการเกิดแผลกด 
ทับ 
1.ขนาดของแรงกดและระยะเวลาของการกด 
2. ความทนทานของเนื้อเยื่อ 
2.1 ปัจจัยภายนอกร่างกาย 
2.2 ปัจจัยภายในร่างกาย
การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผ้ปู่วยบาดเจ็บ 
ศรีษะ 
โดยใชห้ลัก การลดแรงเสียดทานและแรงเฉือน หลักการดังกล่าวจะครอบคลุม 
ตามปัจจัยความเสี่ยงการเกิดแผลกดทับของบราเดน มีดังนี้ 
1. การรับรู้ความรู้สึก กรณีที่ผูป้่วยมีขอ้จา กัดเรื่องการตอบสนองต่อการรับรู้ 
ความรู้สึกไม่สบายจากแรงกด ควรทา การเปลี่ยนท่านอน และพลิกตะแคง 
ตัวทุก 2 ชั่วโมง การเปลี่ยนท่า หากเป็นท่านอนหงาย ควรใชห้มอนนุ่มๆ 
รองบริเวณใบหู ขอ้ศอกส้นเทา้ เพื่อลดแรงกดของน้าหนักตัว 
2. 2. ความเปียกชื้นของผวิหนัง ดูแลผวิหนังให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ กาทา 
ครีมบา รุงผิว จะช่วยลดการระคายเคืองของผิและป้องกันผิวแห้ง
การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผ้ปู่วยบาดเจ็บ 
ศรีษะ(ต่อ) 
3. ภาวะโภชนาการ อาหารเหลว จะช่วยให้ผูป้่วยกลืนไดง้่ายและย่อยง่าย ควร 
หลีกเลี่ยงอาหารที่เหนียวและขน้มาก จะทา ให้ผูป้่วยกลืนลา บาก ฝืดคอ และ 
ติดคอได้ 
4.การเคลื่อนยา้ยผูป้่วย กรณีที่ผูป้่วยไม่สามารถยกลา ตัวขึ้นไดเ้องในขณะที่ 
เปลี่ยนแปลงท่าทาง ควรหลีกเลี่ยงการดึงหรือลากผูป้่วยเนื่องจากจะทา ให้เกิด 
แรงเสียดทานซึ่งส่งผลให้เกิดการหลุดลอกของผิวหนังในชนั้ตื้นๆ และเกิด 
การฉีกขาดของหลอดเลือดฝอยใตผิ้วหนัง ควรใชวิ้ธีการจับผา้ปูแล้วยกผูป้่วย
การป้องกันการเกิดแผลกดทับในผ้ปู่วยบาดเจ็บ 
ศรีษะ(ต่อ) 
5.การดูแลผ้าปูที่นอนให้เรียบตึงเสมอ เพื่อลดแรงเสียดทานระหว่าง 
ผิวหนังกับผ้าปู 
6.ไม่ทาการนวดผิวหนังในบริเวณที่มีรอยแดงและเสี่ยงต่อการเกิดแผลกด 
ทับ 
7.ควรใช้ที่นอนที่มีการถ่ายเทอากาศ เช่น ที่นอนลม ที่นอนนา้ ที่นอน 
ฟองนา้
สรุปผลการศึกษา 
จากการศึกษางานวิจัย เรื่องผลของการส่งเสริมการดูแลของ 
ครอบครัวต่อการป้องกันการเกิดแผลกดทับและขอ้ยึดติดในผูป้่วยบาดเจ็บ 
ศรีษะ ทา ให้ทราบวิธีการป้องกันการเกิดแผลกดทับในผูป้่วยบาดเจ็บศรีษะ อีก 
ทงั้ยังสามารถทราบถึงระดับความรุนแรงในการเกิดแผลกดทับในผูป้่วย 
บาดเจ็บศรีษะ ทา ให้ครอบครัวหรือผูดู้แลผูป้่วยทราบถึงวธิีการป้องกันการเกิด 
แผลกดทับอย่างถูกหลัก อีกทงั้ยังทา ให้ลดอัตราการเกิดแผลกดทับในผูป้่วย 
บาดเจ็บศรีษะอีกดว้ย
สมาชิกในกลุ่ม 
1. นางสาว สุธิษา หาดเก็บ รหัส 5717521001148 
2. นางสาว วันอาอีซะฮ์นาแซ รหัส 5717521001139 
3. นางสาว รอยฮาน มาหมัด รหัส 5717521001148 
4. นางสาว นารีษา ขะมิรักษา รหัส 5717521001148 
5. นางสาว เสาวลักษณ์ ราโอบ รหัส 5717521001148 
กลุ่ม 57087.171

Contenu connexe

Similaire à Physic

ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10Chok Ke
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ความเครียด
ความเครียดความเครียด
ความเครียดhrd2doae
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนSuriyapong Cheung Chang
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12PaChArIn27
 

Similaire à Physic (14)

ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่10
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความเครียด
ความเครียดความเครียด
ความเครียด
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 7
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคนความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
ความสัมพันธ์ระหว่างครูจูหลิงกับสมองของคน
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12สิ่งพิมพ์12
สิ่งพิมพ์12
 

Physic