SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  69
Télécharger pour lire hors ligne
0
สรุปบทเรียน
โดย
อาสาสมัครทุกคน
1
สารบัญ
บทที่ หนา
บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน
day by day ฉาย dynamic การปรับตัว การรวมตัว บทบาทของแตละฝาย
2
บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว
เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ใน
เชิงขอแนะนําการตั้งศูนย
15
บทที่ 3 Reflection สิ่งสะทอนจากตัวคน
บทเรียนจากการทํางานของอาสาสมัคร
29
2
บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน
day by day ฉาย dynamic การปรับตัว การรวมตัว บทบาทของแตละฝาย
เรื่อง หนา
ชวงที่ 0 กาวกอนเริ่ม 3
ชวงที่ 1 day1-day3 วิกฤติชีวิต 4
ชวงที่ 2 day4-day7 วิกฤติปากทอง 7
ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซ้ํา 3
สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวง 11
3
ชวงที่ 0 กาวกอนเริ่ม
การตั้งเคากลุมกอนนักเคลื่อนไหวทางสังคมทั้งภาคธุรกิจและนักพัฒนาฯ ที่กอการกันจนเกิด
ศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ(ศอบ.)ในครั้งนี้ เริ่มมาจากการประชุมกัน 3 ครั้ง ที่
ธนาคารกรุงไทยในวันที่ 26 ตุลาคม ที่ สสส. ในวันที่ 28 ตุลาคม และที่ทีวีไทย ในวันที่ 1 พฤศิจกายน
เพื่อรวมตัวกันหารือกันถึงแตละกาวที่แตละคนจะลงมือกับเหตุน้ําทวม ที่เริ่มฤดูของความแปรปรวนดวย
จังหวัดที่ทวมนําไปกอน ไดแก ราชบุรี เพชรบุรีและโคราช ซึ่งเปนปฐมบทที่ปลุกใหตื่นและมองเห็นได
แลววาจะมีทั้งน้ําและฝนอีกเปนกอนๆ กําลังจอคิวตามมา แมวาจะ “เงื้องาราคาแพง” ของการรวมตัวกัน
ในการรับน้ํากอนนี้จะชาไปนิด แตเวลาของการเงื้อนั้นก็ทําใหผูกอการทั้งหลายไดเก็บชั่วโมง พิสูจน
บทเรียนการรับบริจาคและชวยเหลือผูประสบภัย และคัดกรองคนที่มีแนวคิดเดียวกันใหโดดลงมารวมวง
เดียวกัน โดยมีดีเปรสชั่นที่ยกตัวขึ้นฝงของภาคใตในวันจันทรที่ 1 พฤศจิกายน เปนตัวเรงในการ
ตัดสินใจ และมีเวทีระดมความคิดในชวงเย็นที่จัดขึ้นที่ทีวีไทย จนเกิดแนวคิดหลักในการดําเนินงานของ
เครือขายภาคประชาชนเพื่อรับมือกับวิกฤตที่จะคุกคามทั้งผูใหความชวยเหลือและผูประสบภัย
บทเรียนจากการทํางานฟนฟูบนความหลากหลายของสภาพภูมิศาสตรและวัฒนธรรมเปนสิ่งทํา
ใหการทํางานแบบโครงขายในพื้นที่จําเปนตองถูกจัดตั้งขึ้น อาจารยยักษ (วิวัฒน ศัลยกําธร) ไดเสนอ
หลักการทํางานเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยที่เขาถึงชุมชนในเชิงลึกและสรางความเขมแข็งในการจัดการ
ตัวเองไปพรอมๆกันวา การจัดการในระดับภาคประชาชนนั้น (ดังภาพที่ 1) จําเปนตองมีการทํางานแบบ
กระจายศูนย (node) ออกไปแบบแบนราบในการใหความชวยเหลือและทรัพยากรจากสวนกลางที่ไปสู
พื้นที่ปลายทาง ไปสูการจัดการดวยคนปลายทาง ซึ่งรูจักพื้นที่ของตนเองดีที่สุด
ภาพที่ 1 หลักการจัดการพื้นที่ประสบภัยตามแนวคิดภาคประชาชน
4
ที่จริงหลักการที่วามานี้ ไมไดมาจากความคิดของคนคนเดียว แตแนวคิดนี้ไดรับการทดสอบและ
ยืนยันดวยบทเรียนจากการทํางานของภาคประชาชนที่ชุมฉ่ําจนถึงเปยกโชกกันเกือบหนึ่งเดือนกอน
หนา ประกอบกับบทเรียนจากน้ําทวมในปลายป 49 เหตุการณสึนามิในป 2546 องคกรภาคประชาชน
ทั้งหมดกวา 50 องคกร แทบทั้งหมดมีความคิดเห็นในปญหาและการหาวิธีแกที่ตรงกันอยางที่ไมนาเชื่อ
วา การลดปญหาการเขาไมถึงชุมชนที่ตกคางและการใหความชวยเหลือที่ไมเทาเทียมนั้น ควรให
ชาวบานหรือภาคประชาสังคมในพื้นที่ ทําหนาที่มดงานระดมกําลังจากพื้นที่ใกลเคียง ขนขาวขนของเขา
ไปจัดสรรและแบงปนในชุมชนของตนเอง เพราะมดงานเหลานี้รูจักทรัพยากรและรูจักพื้นที่ของตนเองดี
ที่สุด จึงควรใชการโยงใหชุมชนที่ประสบภัยไดรับความชวยแบบชาวบานใหชวยชาวบานดวยกันเอง
แมวาแนวคิดการจัดการแบบแบนราบสูทองที่ อาจมองไดวาเปนแนวคิดการจัดการแบบแนวดิ่ง
ในอีกรูปแบบหนึ่ง ผูเขียนบทความนี้ก็ขอยืนยันวา แนวความคิดการจัดการแบบแบนราบของกรุงเทพ ที่
จะนําสิ่งของบริจาควิ่งไปสูแตละชุมชนโดยตรง ก็อาจเปนการจัดการสูปลายทางแบบแนวดิ่งพื้นอีก
รูปแบบหนึ่งดวยเชนกัน เพราะความคิดของมนุษยเรานั้นไมสมบูรณแบบ การแสวงหาจุดรวมและการ
สงวนความแตกตาง ก็นับเปนการจัดการทางความคิดที่เราไมสามารถเพิกเฉยไดอีกประการหนึ่ง
ชวงที่ 1 Day1-day3 อุทกภัยทางความคิด และวิกฤติชีวิตในพื้นที่ประสบภัย
หลังจากที่ดีเปรสชั่นมาถึงภาคใตฝงอาวไทยและเสร็จประชุมวันกอน ทีมขาวของทีวีไทย นําโดย
พี่แวว (นาตยา แวววีรคุปต) และทีม Frontline ของ 1,500 ไมล นําโดยพี่โตง (รัฐภูมิ อยูพรอม) ก็ออก
เดินทางลงไปปลายทางหาดใหญเพื่อลงสํารวจพื้นที่ พรอมกับเชาวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 ที่การ
เตรียมศูนยรับมือวิกฤตที่กรุงเทพ ไดเริ่มขึ้นที่ชั้น 2 ของโรงแรมพินนาเคิล ลุมพินี ที่ ดร.วงษภูมิ วนาสิน
ใหใชเปนที่ทํางานและที่พักสําหรับอาสาสมัครไดเปลี่ยนกะทํางานตอเนื่องกันไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยมี
พี่ลักษณ สมลักษณ หุตานุวัตร จาก SVN (Social venture network) คอยเปนแมบานและแมงานที่ดูแล
ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ (ศอบ.) ซึ่งปรับเปลี่ยนชื่อมาหลายรอบจนไดชื่อนี้ในปจจุบัน และยังมี
สสส., ทีวีไทย และ www.thaiflood.com คอยใหการสนับสนุน
สิ่งแรกที่ทําในการเริ่มศูนยวันนั้นคือ การสรางระบบการประสานขอมูลในฝายทั้ง 5 ที่อาจารย
ยักษไดรางไวเมื่อวันกอนตอนประชุมที่ทีวีไทย คือ ฝายขอมูล-ขาว ฝายมวลชน ฝายทรัพยากร ฝาย
อาสาสมัคร ฝายบริหาร โดยการเสนอตัวของอาสาหนึ่งคนตอหนึ่งฝายขึ้นมาเปนเจาภาพหลักในการรวม
ขอมูลเพื่อที่จะตัดสินใจตอในฝายนั้น เพื่อลดความซ้ําซอนในการสื่อสาร ที่นี่เราเรียกระบบนี้วา
Communications line พูดงายๆ คือ จะบอกเรื่องไหน ก็เดินไปหาคนนั้น โดยขอมูลที่จะเขาไปยังแตละ
ฝายนั้นประกอบดวย
1. มวลชน (ชุมชน/คนพื้นที่) เปนตัวแทนคนในพื้นที่ ทําหนาที่สื่อสาร ชวยประเมินสถานการณ
และประสานความชวยเหลือ โดยมีพื้นฐานความเขาใจในพื้นที่ประสบภัยและมี connection ศูนย
ประสานงานในระดับพื้นที่ สื่อสารเอาขอมูลมาแชรกับฝายทรัพยากรซึ่งเปนสวนตอไป
5
2. ทรัพยากร ทําหนาที่ระดมของบริจาค และประสานขอมูลความตองการความชวยเหลือ เชน
พื้นที่ที่ตองการใหชวยประสานเรือที่จะอพยพ พื้นที่ที่ตองการอาหารสด พื้นที่ที่ตองการถุงยังชีพ
รวมไปถึงการประสานพาหนะสําหรับขนสงไปยังพื้นที่ประสบภัยตอไป
3. ขอมูล–ขาว ทําเรื่องสถานการณพื้นที่ ระดับน้ํา ระดับความเสียหาย ความเสี่ยงที่จะโดนซ้ําและ
การเตือนภัย เพื่อจัดลําดับการสงความชวยเหลือหรือแจงเตือนใหมีการเตรียมพรอม
4. อาสาสมัคร ทําหนาที่จัดระบบคนที่เขามาทําใหศูนยลื่นไหล ไปยังตําแหนงตางๆที่มีความ
ตองการทั้งหนางาน (ในพื้นที่) และ หลังบาน (ที่ศูนยกรุงเทพ)
5. บริหาร แนนนอนวา War room ก็คือ หองแหงการบริหารจัดการ ทุกชวงเย็นผูใหญและผู
ประสบการณทั้งหลายจะแวะเวียนมาแลกเปลี่ยนความคิดในการกําหนดทิศทางรวมกันตอไป
หลักการทํางานที่วาไปขางบนพอจะเขียนเปน Map ไดดังภาพนี้
ภาพที่ 2 โครงสรางการทํางานของศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ
ชวงที่ฟาสวางของวันแรกทั้งวันนี่หมดไปกับการระดมความคิด จัดระบบ และอะไรอีกหลาย
อยางที่ไมลงตัว พอเขาสูชวงฟามืดนี่ยิ่งแยกวา เพราะตัวเมืองก็ถูกน้ําหลาก-น้ําทวมสูงเปนเมตรทําใหไป
ไหนไมได พื้นที่ปลายทางถูกตัดไฟเพื่อปองกันไฟรั่ว เสนทางเดินรถก็ไปไดยากเพราะตนไมลมระหวาง
ทางปดถนนไปหลายจุด ระบบโทรศัพทลมเหลวเพราะชองสัญญาณเต็มเนื่องจากมีผูใชบริการจํานวน
มาก แมแตจะติดตอทีม Frontline เพื่อสื่อสารกันเองก็ทําไดยาก ตั้งแตฟามืดนี่ภารกิจหลักของเรา คือ
ประสานตอหนวยฉุกเฉินเขากับความชวยเหลือที่รองขอมาทั้งทาง Twitter บนหนาเว็บ Thaiflood และ
ทางโทรศัพท เคสทุกเคสสะเทือนความรูสึกจนอยูนิ่งไมได อาสาสมัครซึ่งประสานงานในภาวะวิกฤติเปน
6
ครั้งแรกตางตื่นเตนและพยายามประสานหนวยเคลื่อนที่เร็วแทบทุกชนิดลงไปชวยในพื้นที่ คอยจดจอ
ความคืบหนาในการใหความชวยเหลือไมวาจะเปน เคสหญิงทองแกจะคลอดจนน้ําเดินแลวแตติดอยูในที่
พัก หรือ เคสคนปวยเสนเลือดสมองตีบเจาะคอชวยหายใจที่ติดอยูในโรงแรมกําลังอาการทรุด ซึ่งญาติ
เลาสถานการณใหฟงดวยน้ําเสียงสั่นเครือ เรื่องราวเหลานี้ตอง recheck หลายครั้งเพื่อใหไดขอมูลที่
ชัดเจน เรียกวา เจอขอมูลไหลเขามาทวมจนประสบอุทกภัยทางความคิดกันไปหมดเลยทีเดียว
การทํางานอาสาสมัครในวันแรก จึงอยูในภาวะโกลาหลกันทั้งคืน หลุดไปจากเริ่มแรกที่ตั้งใจวา
จะประชุมสรุปงานกันทุก 3 ชั่วโมง เราตางก็ทําไมสําเร็จ และแมจะตั้งเปาวาจะทําหนาที่ประสาน node
สนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงภายในพื้นที่นั้น เสียงรองขอความชวยเหลือจากคนแตละคนที่มีเครื่องมือ
สื่อสารเปนฟางเสนเดียว ก็ทําใหเราประสบอุทกภัยทางความคิดเอาใจไปติดกับชีวิตจนไขวเขว ทํางาน
ไมไดไปตามเปาที่ตั้งไวตอนหัววัน
กระทั่งเชาวันที่สองพี่ลักษณถึงเรียกสติอาสาสมัครทั้งทีมคืนมาไดวา เปาหมายและวิธีการ
ทํางานของเราคืออะไร การทํางานอยางมีระบบจริงๆ ถึงไดเริ่มขึ้นเปนครั้งแรก เรียกไดวาเมื่อน้ํานิ่งคนก็
เริ่มนิ่ง เพราะเมื่อโทรไปติดตามความคืบหนาในการชวยเหลือทั้งสองเคสที่เลาไปแลวในขางตนวา ไดรับ
ความชวยเหลือและปลอดภัยแลว คนทํางานก็เริ่มมีสมาธิกับงานขางหนามากขึ้น
เมื่อความรุนแรงของกระแสน้ําเริ่มลดลง ความตองการตอจากการเอาชีวิตรอดใหไปอยูในพื้นที่
ปลอดภัยก็คือ การกิน อาหารสดหรือเรียกงายๆ วา “ขาวกลอง” เปนความตองการถัดมาหลังจากไดที่
ปลอดภัย ใครบอกวาขาวกลองไมสําคัญ ผูเขียนขอบอกวา ขาวกลองเนี่ยสําคัญมาก การจะดูแลกันตอไป
ของชุมชนเนี่ยขาวกลองถือเปนจุดเปลี่ยนของชุมชนเลยทีเดียว เพราะในปรากฏการณของพื้นที่ประสบ
ภัย เราพบวา คนแตละคน หรือ แตละครอบครัว จะถูกซัดใหกระจัดกระจายหรือถูกทําใหปลีกแยก
ออกไปจากสิ่งแวดลอมที่คุนชิน บางบานสูญเสียครัวและอุปกรณทําอาหาร บางคนตองยายหนีไปอยูที่
อื่นซึ่งไมรูวาจะไปหาอาหารไดที่ไหน การมีครัวรวมหรือครัวชุมชนเปนคําตอบที่จะทําใหผูประสบภัยซึ่ง
กําลังเควงอยู ไดมีอาหารกิน ไดพื้นที่ที่จะรวมตัวกันพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องราวที่เผชิญ ไปจนถึงหาทางที่
จะจัดการกับภาวะที่แตละคนเผชิญอยู ซึ่งครัวรวมหรือครัวชุมชนนี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งการลงแรงกันของ
ชาวบานเองและการเขาไปชวยตั้งโรงครัวจากคนนอกดวยการหาคนและหาวัตถุดิบตั้งตน อยาง น้ําปลา
น้ํามัน พริก กระเทียม ผัก หมู เห็ด เปด ไก สําหรับมื้อแรกๆ เขาไปชวย เพื่อที่จะชวนชาวบานเขามา
ชวยกันลงแรงตอไป ปรากฏการณในการบริจาคในครั้งนี้มีเรื่องนาดีใจ ที่คนไทยเขาใจลําดับความสําคัญ
และความหมายของปจจัย 4 สําหรับผูประสบภัยมากขึ้น ครั้งนี้เราไมเห็นกองภูเขาเสื้อผา ครั้งนี้เรามอง
ไมเห็นกองของบริจาคที่อยูนอกเหนือความจําเปน ครั้งนี้เราเห็นความเขาใจที่ดีขึ้นในการใหความ
ชวยเหลือที่จะกอใหเกิดปญหาความขัดแยงระหวางชุมชนนอยลง ตองขอขอบคุณคนไทยที่เขาใจ
บทเรียนในการบริจาคจากประสบการณที่เรารวมทุกขรวมสุขกันมา
กอนที่จะเตลิดออกอาวไทยไป ตอนนี้ขอกลับมาที่ศูนยฯกอน งานที่เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในชวง
วันที่ 3 นี่คอยๆ เปลี่ยนจากการสื่อสาร มาเปนการระดมทรัพยากรและ logistic ในการประสานเรื่อง
อาหารสดหรือขาวกลองไปชวยผูประสบภัยที่ติดอยูในพื้นที่ ซึ่งงานนี้ทีมเจาหนาที่จากมูลนิธิกระจกเงาก็
ไดเดินทางลงพื้นที่หาดใหญเพื่อประสานการตั้งศูนยขาวกลองและ logistic ของบริจาคลงไปจากกรุงเทพ
7
โดยมีสายการบินนกแอรอาสาขนใหในภารกิจนี้โดยเฉพาะ นอกจากนั้นวันนี้เรายังมีกลุมคนที่เราตองการ
ที่สุดก็กาวเขามาในหอง พวกเขาคือ พี่ประยูร พี่ยาและพี่มณเฑียร ซึ่งเปนชาวบานแกนนําในเครือขาย
องคกรชุมชนในภาคใตและมีประสบการในการฟนฟูชุมชนที่ประสบภัยสึนามิ ดวยการชวนของพี่ดวง
มูลนิธิชุมชนไทย ใหเขามาลองดูวาจะชวยอะไรไดบางตั้งแตชวงเย็น ซึ่งพอกาวเขามาพี่ทั้งสามคนก็เห็น
และรูทันทีเลยวา ทาจะตองอยูยาวซะแลว เพราะคนที่จะประสานชุมชนไดมันขาดจริงๆ
หลักจากจูนระบบและจูนความเขาใจเขาดวยกัน การทํางานในวันที่สามลงลึกไปในพื้นที่ประสบ
ภัยทั้ง 7 จังหวัด ไดแก ชุมพร สุราษฏรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา และปตตานี จน
สามารถคนพบคนที่จะเปนแกนในการประสานทองถิ่นไปไดอีกหลายพื้นที่ เพราะมีคนที่มี Connection
และความเขาใจในทองถิ่นเขามารวมทีมดวยอยางเต็มตัว
ชวงที่ 2 day4-day7 วิดขอมูลที่ทวมชีวิต แลวไปกูวิกฤติปากทอง
คําถามที่มีอยูตลอดมาตั้งแตสมัยสึนามิ คือ เราจะลดปญหาความซ้ําซอนและการตกหลนในการ
ใหความชวยเหลือในพื้นที่ประสบภัยพิบัติไดยังไง ก็หาคําตอบกันตอไป จนวันนี้ปญหานี้ก็ยังเจอเรื่องนี้
อยู แตในภาวะวิกฤตแบบนี้ สิ่งที่เราตองทําก็คือ ตองรูจักละและวางในสิ่งที่เรายังมองไมเห็นวาเราทําได
แคไหน แตขณะเดียวกัน เราก็จะทําเต็มที่ในสิ่งที่เราทําได และทําตอไปใหถึงที่สุด
หลังจากที่ศูนยเริ่มเปนที่รูจักและมีการสงขอความรับอาสาสมัครออกไป ชวงนี้อาสาสมัครก็เขา
มาชวยงานในศูนยเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ความหลากหลายของอาสาสมัครไดพัฒนาใหการทํางาน
คอยๆ เขารูปเขารอยมากขึ้นเรื่อยๆ ถึงกระนั้นงานในชวง 4-5 วันแรกก็ยังไมไดเปนไปอยางที่ตั้งใจหวัง
วาจะใหเกิด node ในการระดมทรัพยากรจากพื้นที่ใกลๆ มาชวยกันเอง เพราะเราเองก็ยังเปนการ
ชวยเหลือจากขางบนแลวสงขึ้นเครื่องบินลงไปขางลาง และขางลางก็ยังไมสามารถตั้งตัวไดเชนกัน แต
อยางนอยเราก็เริ่มมีผูประสานและ node ซึ่งเปนจุดเชื่อมตอที่ชัดเจนมากขึ้นในการประสานความ
ชวยเหลือในลักษณะของใยแมงมุม ซึ่งถาพูดถึงใยแมงมุมนั่นก็แสดงวา มันตองมีตัวแมงมุม ถาเปรียบให
ศูนย ศอบ. เปนตัวแมงมุม ชุมชนในพื้นที่เปนศูนยประสานงานก็คงเปนขาแมงมุมที่โยงความชวยเหลือ
ใหกันและกัน เชน ชวงที่คาบเกี่ยวกับระหวางวิกฤติปากทองกับวิกฤตชีวิตอยางชวงนี้ ตอนที่
นครศรีธรรมราชโดนพายุเขาถัดมาจากหาดใหญ เราไดทําหนาที่ประสานใหทางหาดใหญซึ่งน้ําลด
คลี่คลายจนเรือเริ่มใชนอยลงแลว ใหหาดใหญสงเรือไปชวยนครฯที่กําลังน้ําเออ พรอมกันก็ไดชวย
ประสานเรื่องวิกฤตอาหาร พัทลุงมีโรงสีชุมชนมีขาวเล็บนก ซึ่งเปนขาวดีของทางใตที่ขายใหไดในราคา
ชวยเหลือผูประสบภัยและยังจัดสงใหฟรี เราก็เปนตัวประสานใหขาวจากพัทลุง(สวนที่ไมทวม)ไปชวย
พัทลุงสวนที่ทวม ไปชวยหาดใหญ ไปชวยนครฯ ได
การระดมทรัพยากรและ logistic ในการสงอาหารและยาลงไปในพื้นที่จึงเปนงานที่มีบทบาท
สําคัญในชวงนี้ ระบบการจัดการของเราแบงแบบงายๆ ไดเปน 2 สวน คือ ฝงตนทางที่กรุงเทพ และฝง
ปลายทางที่ทางใต ซึ่งสื่อสารจํานวนของที่ตองการโดยรวมขึ้นมา สวนเราก็จัดหาของใหไดตามความ
ตองการและตามจํานวนที่ตองการจัดเปนกลุมๆ แตละจังหวัด แลวทยอยสงไป โดยมีสายการบินนกแอร
เอื้อเฟอพื้นที่โกดังใหเราจัดของและเอื้อเฟอเครื่องบินขนของใหในชวงที่ถนนยังถูกปดดวยน้ําและตนไมที่
8
ลมขวางอยูระหวางทาง โดยการจัดการของบริจาคในฝงกรุงเทพจะรับทั้งของที่เปนชิ้นยอยๆ จากผู
บริจาคทั่วไปและของบริจาคลอตใหญๆ ที่มีผูบริจาคตรงจากโรงงาน ทั้งหมดจะถูกนํามาจัดแบงตาม
ปริมาณที่แตละพื้นที่ตองการแลวสงไปยัง node ปลายทาง ดังรูปที่ 3
ภาพที่ 3 ระบบการจัดการของบริจาคและ logistic ไปยังพื้นที่ประสบภัย
การระดมทรัพยากรและ logistic นี่กวาจะลงตัวก็ปาเขาไปวันที่ 7 ตั้งแตเปดศูนย ระหวางทางนี่
เจอปญหาและอุปสรรคในการทํางานมากมายซึ่งเดี๋ยวจะขอเลาตอในสรุปบทเรียนชุดถัดไปซึ่งจะเลาถึง
รายละเอียดการของการทําแตละฝายอีกที
วันที่ 7 ของการทํางานนี่ เพราะวาระบบงานเริ่มลงตัวแลว เราถึงไดขอปลีกตัวจากหองสี่เหลี่ยม
ไปลงพื้นที่หนางานบาง ดวยความคิดเห็นที่ตรงกันทุกคนวา ถาคนที่ศูนยไมเขาใจสภาพหนางาน การ
จัดระบบเพื่อพัฒนางานตอไปตามสภาวะที่เปนจริงมันจะเปนไปไดยาก เราจึงเดินทางลงไปปตตานี โดย
นั่งเครื่องบินไปลงหาดใหญแลวตอรถตูไปลงที่ ม.อ. ปตตานี ซึ่งเปนสถานที่รวมพลของคนแกนหลักที่
ประสานระหวางชุมชนกับสวนกลางที่จะเขาไปใหความชวยเหลือ เราหารือกันถึงกลุมกอนของคนทํางาน
ที่เกิดขึ้นวาจะขับเคลื่อนกันตอไปอยางไรและขอลงไปสัมผัสพื้นที่บานดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ซึ่งมี
ลักษณะเปนอาวที่ถูกขนาบดวยทะเล ซึ่งขอมูลที่ทางกรุงเทพไดรับคือ ในวันที่พายุเขา น้ําทะเลยกระดับ
สูงขึ้นเปนเมตรตั้งแตชวงบายกอนที่พายุจะเขา ซึ่งขาวในทองที่ก็เตือนภัยแจงวาพายุจะเขาตอนกลางคืน
แตขนาดฟายังไมมืดน้ํายังขึ้นสูงขนาดนี้ คนธรรมดาก็อยูนิ่งไมไดแลว ชาวบานก็เลยอพยพกันไปอยูในที่
ปลอดภัย ทิ้งไวแตฝูงแพะและบานเรือน ความเสียหายจึงเกิดขึ้นกับทรัพยสินมากกวา พอไปถึงนั้นเรา
พบวา ชุมชนนี้ประสบภัยไมตางจากบานน้ําเค็ม สมัยที่โดนสึนามิ คือ ขอ 1 บานถูกคลื่นซัดพังเสียหาย
9
ขอ 2 มีคนเขาไปในชุมชนมากมายคลายกรุปทัวรจนรถติดยาวกวา 5 กิโล ไปถึงปากทางเขาชุมชน ขอ 3
มีความชวยเหลือเขาไปอยางลนหลาม แตปญหาเรื่องการจัดการจนเกิดรอยราวระหวางชุมชน
รูปที่ 4 สภาพชุมชนดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ที่ไดรับความเสียหายจากดีเปรสชั่น
ทั้งกอนลงพื้นที่และหลังจากกลับมา มีคําถามและขอถกเถียงวาสิ่งที่สรางความเสียหายใหชุมชน
นี่เปน Strom surge หรือไม จนวันนี้ก็ยังไมมีคํายืนยัน และผูเฒาผูแกในชุมชนก็ยังไมเคยเจอเหตุการณ
แบบนี้เลย ธรรมชาติในทุกวันนี้มันเปลี่ยนแปลงไป แลวเราจะรับมือยังไงกับความแปรปรวนที่นากลัว
ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซ้ํา พรอมกับทําในสิ่งที่ทําได
แมวาสถานการณน้ําหลากจะเริ่มเบาบางลง แตฝนที่ตกสะสมก็ยังมีความเสี่ยงตอการเกิดภัย
พิบัติซ้ํา ทั้ง landslide ในพื้นที่ลาดเอียงตามเชิงเขาและน้ําหลากตามพื้นที่รับน้ําทั้งหลาย ชวงนี้งาน
ระดมทรัพยากรและ logistic เราก็ยังทําอยู แตสิ่งที่เพิ่มเขามาคือ เราเริ่มมีสติที่จะติดตาม ฝนตกสะสม ที่
จะทําใหเกิดดินถลมซ้ํา โดยใชวิทยุสื่อสาร ว.ดํา ที่จริงบทบาทการทํางานของวิทยุสื่อสารกับงานภัยพิบัติ
ในศูนยนี่เริ่มมีมาตั้งแตที่พี่ยา และ พี่มณเฑียร เดินเขามาในศูนย แลวทําใหเราพบวา การ recheck
ขอมูลทั้งความเสียหายและความชวยเหลือที่ตองการจากปลายทางพื้นที่ประสบภัยนั้น สามารถทํา
รวมกันไดโดยใชโทรศัพท วิทยุสื่อสาร และ Social media อยาง Twitter ทั้ง 3 อยางรวมกัน เชน เมื่อเรา
10
พบการแจงของความชวยเหลือผาน Twitter เราก็จะโทรไปเช็คสถานะของคนโพส Twitter นั้นวา
ขณะนั้นไดรับความชวยเหลือหรือยัง หากยังไมไดรับความชวยเหลือ เราก็จะไดวิทยุสื่อสารแจงขาวไปยัง
ศูนยที่อยูใกลๆ ในพื้นที่วาสามารถใหความชวยเหลือไดอยางไรบาง ดังรูป
รูปที่ 5 การใชเครื่องมือสื่อสารเพื่อประสานความชวยเหลือกับพื้นที่ประสบภัย
โดยในสวนของวิทยุสื่อสารหรือ ว.ดํา นั้น เราใชโปรแกรม Echolink ซึ่งเปน VoIP ที่เชื่อม
สัญญาณวิทยุสื่อสารผานเขาคอมพิวเตอร ทําใหคนอยูที่ไกลอยางกรุงเทพยังสามารถรับขาวสารทัน
สถานการณไดพรัอมกับกลุมอาสาที่ใช ว.ดํา ในพื้นที่ประสบภัยทางใตดวย เลามาถึงตรงนี้คงเริ่มมี
คําถามอีกแลววา โทรศัพทก็มี อินเตอรเนทที่จะเอาไวใช Social network ก็มี ทําไมตองกลับไปใชวิทยุ
สื่อสารดวยละ เดี๋ยวคําถามนี้จะไปตอบอยางละเอียดในสรุปบทเรียนชุดถัดไป โปรดติดตามชมอีกเชนกัน
การขอความชวยเหลือที่ศูนยฯ นอกจากจะเขามาโดย connection ของผูประสานงานพื้นที่แลว
ก็ยังมีผูที่ตอสายเขามาโดยตรงผานโทรศัพทสวนกลางของศูนย มีอยูสายหนึ่งโทรแจงมาวา เปน
ผูประสบภัยอยูในพื้นที่ จ.อยุธยา ไมมีไฟฟาใชมากวาสัปดาหแลว อยากจะขอใหทางศูนยชวยเหลือดวย
เมื่อนองอาสาสมัครไดรับสายนี้ นองก็เลาตอใหพี่ลักษณฟงและหารือวาเราจะทําอะไรไดบาง ผูเขียนซึ่ง
เปนคนที่นั่งฟงทั้งสองคนอยูก็ทําไดเพียงคิดวา ก็คงตองรอใหทางไฟฟาเคาจัดการเอง แตดวยความคิดที่
ไมเคยรั้งรอที่จะลงมือและความเปนอาสาสมัคร ทั้งสองคนก็ประสานงานแจงปญหาที่ชาวบานไมมีไฟฟา
ใชตอการไฟฟาสวนภูมิภาคของทางจังหวัด ไปจนกระทั่งเคามองเห็นปญหาและชวยหาทางออกใหจน
เจาหนาที่แจงวาจะไปติดตั้งอุปกรณไฟฟาใหชาวบานไดมีไฟฟาใชไดในวันรุงขึ้น
สําหรับผูเขียน เรื่องนี้เปนเรื่องราวเล็กๆ ที่นาภูมิใจวา การไมดูดายและไมรั้งรอของการขยับตัว
จากฟนเฟองเล็กๆ ที่กาวขามความไมมั่นใจ สงเสียงไปบอกฟนเฟองขนาดใหญใหรูตัววาการขยับของ
เขาสามารถเปลี่ยนแปลง สวนอื่นๆใหดีขึ้นไดอยางไร มันชวยย้ําใหเรามั่นใจวา เราทุกคนที่เปนฟนเฟอง
ทุกอันไมวาเล็กหรือใหญ หากเราเลิกปดกั้นตัวเองจากความกลัววาจะทําไมได แลวมาลงมือเอาแคเพียง
เรื่องเล็กๆ ที่เราทําได เทานี้โลกก็คอยๆเปลี่ยนแลว
11
สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวง
จากการทํางานทั้ง 3 ชวง จะเห็นไดวาคนที่มีบทบาทสําคัญในแตละชวงงานจะแบงเปน
ชวงเตรียมการ งานดานวิชาการทั้งสายวิทยและสายสังคม ซึ่งอยูภายใตฝายขอมูลจะเปน
ตัวกําหนดทิศทางการทํางานของศูนย
ชวงเผชิญเหตุและเฝาระวังภัย งานดานสื่อสารซึ่งอยูภายใตฝายชุมชนจะมีบทบาทเดนกวา
วิชาการ เพราะชุมชนซึ่งเปนผูเผชิญเหตุมีความเขาใจในบริบททางสังคมและภูมิศาสตรของตัวเองดีที่สุด
การสื่อสารโดยมวลชนเชื่อมโยงกันระหวาง Connection ที่เปนคนที่เคยรูจักกันมากอนแลว ความเขาใจ
และความไววางใจที่มีอยูเปนกุญแจสําคัญของการชี้ให node ปลายทางไดเริ่มตนความรวมมือกันและได
ชูใหเห็นวาแตละพื้นที่จะมีใครเปนแกนหลักที่จะทํางานในชวงถัดไป
ชวงฟนฟู ฝายทรัพยากรและ Logistic จะมีบทบาทมากที่สุดชวงหลังเหตุฉุกเฉิน เพราะ ในชวง
ที่พื้นที่ประสบภัยปลายทางยังตั้งตัวไมได การเสริมกําลังและการเขาไปชวยตั้งตนการจัดการโดยใช
ทรัพยากร ไมวาจะเปน ขาวกลอง น้ําดื่ม ยา หรือ ขาวสารที่จะตองใชบริโภคในชวงถัดไป ตางเปนสิ่งที่
ใชแกไขสถานการณและสรางประสบการณในการลงมือจัดการตนเองในเวลาเดียวกัน
นอกจากบทบาทในการนําของแตละฝายแลว เรายังพบวิวัฒนาการของการปรับตัว รวมตัว และ
การแตกหนอที่เกิดขึ้นระหวางการทํางานไปพรอมๆกัน งอกเปนภารกิจแยกยอยแตละดานไปไดอีก คือ
ดานขอมูล – ชุมชน เมื่อทํางานไปไดสักระยะ เราพบวาฝายขอมูลและฝายชุมชนนั้นแทบจะ
เปนฝายเดียวกัน เพราะพี่ยา พี่มณเฑียร ที่ทําหนาที่ในการประสานงาน node หรือ ชุมชนปลายทางนั้น
ตองทําหนาที่ในการสื่อสารและการจัดการขอมูลที่ชุมชนแจงกลับมา กระจายสื่อสารภายในศูนยใหทุกคน
ไดรับขอมูลทราบทั่วกัน โดยภายในศูนยนองๆ อาสาสมัครเปนผูชวยพิมพ/เขียนขอมูลที่ไดมาซึ่งตอน
แรกเริ่มจากการรวมขอมูลเปนหนึ่งจังหวัด หนึ่ง A4 กอน ตอมาพอขอมูลเริ่มมีความเคลื่อนไหวเขามาใน
จํานวนมากและมีความเร็วเพิ่มขึ้น เราก็เปลี่ยนใชไวทบอรดตีตารางแบงแตละจังหวัด แลวแปะ Notepad
ขนาด ½ กระดาษ A4 แสดงขอมูลความตองการของแตละพื้นที่ซึ่งเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา พรอมกับ
รายงานสถานะการสง-รับ จํานวนสิ่งของที่สงเรียบแลวและคงคางกํากับไวในสวนทาย
รูปที่ 6 บอรดสื่อสารขอมูลความตองการและความชวยเหลือใหภายในศูนยทราบขอมูลโดยทั่วกัน
12
ดานทรัพยากร-logistic หลังจากที่มีการสื่อสารภายในวาความตองการของแตละพื้นที่เปน
อยางไร จํานวนเทาไร ฝายทรัพยากรและ logistic ซึ่งทํางานแทบจะเปนเนื้อเดียวกัน ก็จะประสานของ
บริจาคที่ระดมมาไดขนสงจากตนทางไปยังคลังสินคาหรือที่เรียกกันติดปากวา Cargo ที่สนามบิน ซึ่งที่
นั่นจะมีการคัดแยก แบงตามจํานวน โทรแจงผูประสานงาน Node ปลายทางวา เครื่องบินจะไปถึง flight
ไหน และเช็ควารายการสิ่งของตรงตามความตองการหรือไม จากนั้นจึงแพคใหเรียบรอยตามระบบการ
บิน ขนขึ้นเครื่อง จากนั้นจึงโทรเช็คซ้ําวาแจงผูประสานงาน Node ปลายทางไดรับสิ่งของครบตาม
จํานวนหรือไม เพื่อที่จะไดแกปญหาในการระดมและการจัดสงตอไป ซึ่งทั้งฝายขอมูลชุมชนและฝาย
ทรัพยากร-logistic นี้สามารถเขียนภาพโยงความสัมพันธในการทํางานรวมกันไดเปนภาพที่ 7
ภาพที่ 7 กระบวนการทํางานรวมกันระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic
ดานการสื่อสาร สําหรับการสื่อสารภายในศูนยที่มีนองๆอาสาสมัครที่คอยวิ่งไปวิ่งมา เขียนแปะ
เขียนแปะ และชวยประจํา Echolink เปลี่ยนกะชวยงานสื่อสารสูชุมชนแลว เรายังมีการสื่อสารสาธารณะ
ไปสูภายนอกวาสถานการณพื้นที่ปลายทางและภารกิจที่ทางศูนยไดทําในแตละวันนั้นมีอะไรลุลวงและยัง
ตองสานตอไปอีกใหคนภายนอกไดรับรูการทํางานและชองทางที่จะเขามามีสวนรวมได จุดนี้เปนสิ่งที่เรา
ออกแบบไววาอยากจะใหมีการสื่อสารสูภายนอกที่ชัดเจน ฉับไวและตอเนื่อง แตเราก็ทํางานไดเต็มที่
เพียงเทานี้จริงๆ เพราะกําลังคนของเราเองก็ไมเพียงพอที่จะรับมือกับหนางานซึ่งประสานเขามาสิบทิศ
13
อยูแลว ชวงแรกเราจึงแทบจะไมสามารถสื่อสารสาธารณะออกไปสูภายนอกไดเลยวา เราไดสงความ
ชวยเหลือไปใหใคร ที่ใด และ จํานวนเทาไรไดบาง ทําใหเราตองใชเวลาในการทําความเขาใจคนนอก
และอาสาสมัครที่เขามาใหมอยูพอสมควร ครั้งตอไปถามีอาสาที่มาชวยดานการสื่อสารสาธารณะได
โดยตรงนี่การทํางานของเราคงจะราบรื่นไดมากขึ้น
สําหรับกระบวนการสื่อสารภายใน อยางที่เลาไปในขางตนวามีนองๆอาสาสมัครเขามาชวยทํา
ขอมูลขึ้นบอรดแสดงความตองการในแตละพื้นที่พรอมกับสถานะความชวยเหลือใหทุกฝายไดทราบ
ขอมูลทั่วกันแลว ยังมีการสื่อสารภายในระหวางฝายที่ตองทํางานตอเนื่องกัน คือ เมื่อฝายขอมูล-ชุมชน
ไดแจงตอฝายทรัพยากรวาตองการของสิ่งใดจํานวนเทาไรเรียบรอยแลว ฝายทรัพยากรซึ่งแทบจะเปน
รางเดียวกับฝาย logistic ก็จะประสานการขนสงตอและเช็คซ้ําวาปลายทางไดรับของเปนที่เรียบรอย
แลวสื่อสารกลับ ฝายสื่อสารซึ่งทราบความคืบหนาของแตละฝายก็จะทําหนาที่คลายดาวเทียมกระจาย
ขาวตอซึ่งเขียนแทบดวยรูปภาพไดดังนี้
ภาพที่ 7 ลําดับขั้นการสื่อสารระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic
ซึ่งแนวทางในการปรับปรุงการทํางานของฝายสื่อสาร คือ นอกจากจะมีคนที่ดูแลอุปกรณ IT-
support และวิทยุสื่อสารที่ใช Echolink ประสานกับทางชุมชนปลายทางแลว ยังควรจะมีฝายสื่อที่ทํา
หนาที่ชัดเจนอยางนอยหนึ่งคน ที่ทําหนาที่ประชาสัมพันธ Information ทําหนาที่เขียนขาว press ขาว
ถึงการประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสา ไมควรเอาไปรวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ
การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะที่จริงมันคนละเรื่องกันและคนที่ทํางานก็ควรจะโฟกัสและลงมือ
เรื่องใดเรื่องหนึ่งใหชัด ถึงจะไดทํางานใหสุด ในขณะที่ฝายขอมูลซึ่งทําหนาที่วิชาการ เตือนภัย ดูฝน
หรือปรึกษาเรื่องเฉพาะทางก็ควรตองมีคนที่มาทําหนาที่ที่ชัดเจน นอกจากนั้นการถอดบทเรียนองคกร
ทุกฝายทั้งหมดก็ควรจะทําไปพรอมกันๆ ระหวางทํางานไปในตัว
14
ดานการบริหารและดานอาสาสมัคร แมวาจะไมคอยมีใครกลาวถึง แตทั้งสองสวนนี้ แทจริง
เปนกําลังหลักในการทํางานเลยทีเดียว เราโชคดีที่มีผูใหญที่ชวยตัดสินใจโฟกัสภาพรวมและเปนที่
ปรึกษาที่ดีกับอาสาสมัครที่มาชวยงาน ระบบยังมีคนที่มีประสบการณในการจัดการอาสาสมัครที่มองเห็น
ภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะเขาไปชวยดานไหน และชวย recruit skill ของ
อาสา ใชเวลาและทําความรูจักแตละคน ซึ่งเราก็ยังเจอปญหาเดิม คือ เราดูแลเคาไดไมทั่วถึง มีเวลา
เรียนรูกันนอยเกินไป เลยรูจักอะไรจากเคาไมไดมาก ตองทํางานดวยกันไปสักพักถึงจะมองเห็นทักษะ
ออกมาจากสถานการณ ซึ่งพวกเอามักจะแสดงตัวออกมาเอง แลวเราคอยชอนเขาไปเขางาน
จากการสรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวงที่กลาวมาคงจะพอที่จะทําให
เห็นบรรยากาศในการทํางานไปบางแลววา ความเปนจริงในการทํางานนั้นคนที่มาทํางานภายใตภาวะ
วิกฤติจะตองทําตัวเองใหมีความยืดหยุนสูง สามารถปรับตัวเขากับเงื่อนไขในการทํางานที่เปลี่ยนแปลง
อยูเสมอ ผูเขียนคิดวาบทเรียนจากการลองผิดลองถูกในประสบการณที่ผานมาและบทเรียนจากการ
ทํางานในครั้งนี้ คงจะชวยฉายภาพโครงรางการทํางานของศูนยที่จะทําหนาที่เปน back office ในภาวะ
วิกฤต ใหคนที่จะเขามาเปนอาสาสมัครเดินหนาการทํางานในครั้งตอไป มุงไปขางหนาไดในเสนทางที่
ชัดเจนขึ้นดวยแผนที่จากประสบการณที่เรารอยเรียงไวใหในครั้งนี้แลว
15
บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว
เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ในเชิงขอแนะนําการตั้งศูนย
เรื่อง หนา
ฝายที่ 1 มวลชน
- ดานมวลชนสัมพันธ 16
- ดานการสื่อสาร 16
ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic
- ดานการจัดหาทรัพยากร 19
- ดาน logistic 20
ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว
- ดานสื่อ / การเผยแพรขาว 21
- ดานวิชาการ 21
- การจัดการขอมูลภายในศูนย 21
ฝายที่ 4 อาสาสมัคร
- Volunteer recruit 23
ฝายที่ 5 บริหาร
- สิ่งที่ตองมีตอนเริ่มศูนย 24
บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต 26
16
ฝายที่ 1 มวลชน
หนึ่งเดือนที่ผานมากับงานอาสาสมัครใน ”ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ”
ระบบการดําเนินงานหลักของศูนยนี้มาจากไอเดียหลักของ อ.ยักษ วิวัฒน ศัลยกําธร
คนอื่นมองศูนยนี้อยางไรไมรู แตผูเขียนคิดวามันควรจะ
“เปนศูนยที่เกิดขึ้นมาเพื่อไมใหเกิดศูนย”
คือ มันควรจะเปนโครงขายที่ทั้งโยงและกระจาย ความชวยเหลือใหปลายทางชวยเหลือตัวเองได
โดยระบบมันทํางานดวยตัวของมันเองคือ “ชุมชนทํางานใหชุมชน”
ดวยการกระจายขอตอ (node) ประสานความชวยเหลือออกไป
การประสานงานในลักษณะในแมงมุมจึงเริ่มขึ้นตั้งแตวันแรกที่มีศูนย
โดยศูนยจะเปนตัวแมงมุม สวนทีมคนทํางานชุมชนในพื้น (หนาบาน)
ก็เปนไดทั้งใยแมงมุมและเปนขาแมงมุมที่ทําหนาที่โยงความชวยเหลือ
ใหแตละที่มองเห็นทรัพยากรหรือกําลังที่จะแบงปนกันได
การใชมวลชนสัมพันธและการสื่อสาร จึงเปน 2 สิ่งที่เราใชถักโยง
เกี่ยวเอามาเปนเครื่องมือเบิกทางสูการใหความชวยเหลือชุมชนปลายทาง
ดานมวลชนสัมพันธ
การเขามาของอาสาสมัครคนใตอยาง พี่มณจากระนอง พี่ยาจากตรัง พี่ประยูรจากน้ําเค็ม ซึ่ง
เปนแกนนําชาวบานที่มีทักษะในการทํางานเชื่อมโยง เหตุการณนี้เปนจุดสําคัญที่ทําใหศูนยสามารถตอ
ติดกับคนที่ทํางานในพื้นที่ได เพราะพี่ๆ ทุกทานมีคุณสมบัติ คือ
1. รูจักสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของชุมชน
2. มีความเขาใจในบริบทของพื้นที่และมีสายสัมพันธ (Connection) รูจักกับพี่นองในชุมชน
เครือขายที่ทํางานดวย
3. เขาใจสภาพการเมืองของทองถิ่น มีคนรูจักที่สามารถสงตอขอมูลความตองการและกระจาย
ขาวสารไดอยางรวดเร็ว
กลไกของการประสานงานที่มีอยูไมอาจขับเคลื่อนได ถาไมมีคนที่คุณสมบัติเหลานี้เขามาชวยงาน
ดานการสื่อสาร
ถัดจากมีมวลชนสัมพันธแลว การสื่อสารตามมา การเชื่อมโยงเทคโนโลยีเขากับทองถิ่น ผานการ
ใชโทรศัพท social network และวิทยุสื่อสาร เปนอีกปจจัยที่ใชในการดําเนินงาน
17
จากการดําเนินงานในครั้งนี้เราพบวา เทคโนโลยีเปนตัวเรงที่ทําใหความชวยเหลือเขาถึงผูประสบภัย
ไดมากขึ้น อยางที่กลาวไปแลวในบทที่ 1 เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง จึงตองมีการตรวจสอบขอมูลซ้ําให
ตรงกันอยางนอย 2 ใน 3 จากเครื่องมือสื่อสารทั้ง 3 ชนิดที่แจงขอมูลเขามา ซึ่งขอมูลที่ไดรับนั้นมีทั้งการ
รองขอความชวยเหลือรายบุคคลจากหนาเว็บ Thaiflood การแจงเหตุของ node จากชุมชน และการสง
ขอมูลความชวยเหลือที่ไดรับกลับมายังสวนกลาง
สําหรับการประสานงานกับปลายทางนั้นยิ่งอยูในภาวะฉุกเฉิน จํานวนการสงขอมูลเขามาก็จะมี
มาก และขอมูลก็จะมีความเปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก การสื่อสารทุกสายจึงตองมีการตรวจสอบขอมูลใหมี
ความถูกตองอยูเสมอ การทํางานจึงตองเปนระบบ คือ
1. ผูประสานงาน node ปลายทางที่รวบรวมขอมูลประเภทสิ่งของที่ตองการและจํานวนสิ่งของที่
ตองการเปนจํานวนถุงยังชีพหรือจํานวนครัวเรือนไว
2. ผูประสานงาน node ปลายทางแจงขอมูลในขอ 1) แกผูประสานมวลชนที่กรุงเทพพรอมทั้ง
ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกับเครือขายในพื้นที่
3. ประสานมวลชนที่กรุงเทพ สงขอมูลใหกับฝายทรัพยากรใหระดมสิ่งของ และเมื่อไดสิ่งของมา
ฝาย logistic ก็จะสงสิ่งที่ตามที่แจงมาในขางตนลงพื้นที่ จากนั้นจึงโทรไปเช็คซ้ําวาไดรับตรงตาม
ความตองการหรือไม อยางไร
รูปที่ 8 เสนทางการสื่อสารระหวางสวนกลางกับ node และชุมชน
18
นอกจากสื่อสารเพื่อประสานของบริจาคแลว เรายังมีการสื่อสารเพื่อเฝาระวังภัยพิบัติซ้ําที่จะเกิด
ตอเนื่องจากฝนที่ตกสะสมตอเนื่อง หลักในการทํางานก็จะเปนแบบเดียวกัน คือ รับสารและเช็คซ้ํา โดย
1. เมื่อนักวิชาการ แจงขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัย เชน โคลนถลม หรือ น้ําปาไหลหลาก มายังศูนย ศูนยก็
จะใชวิทยุสื่อสาร ตรวจสอบสถานการณกับเครือขายวา มีความเสี่ยง เชน มีฝนตกตอเนื่องหลาย
วันหรือไม น้ําในลําหวยมีความขุนจากตะกอนดินผิดปกติหรือไม พื้นดินเชิงเขามีรอยดินแยก
หรือไม
2. หากเครือขายในพื้นที่แจงกลับมาวามีความเสี่ยงดังกลาว ทางศูนยจะขอใหทางเครือขาย
ดําเนินการแจงเตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย
3. ระหวางนั้นจะมีการตรวจสอบซ้ําวา ในพื้นที่มีการแจงเตือนหรือมีการดําเนินการอพยพชาวบาน
หรือไม ซึ่งหากเครือขายปลายทางตองการใหเราสนับสนุนเรื่องใด ก็จะมีการแจงกลับมาใน
ขั้นตอนนี้
4. เฝาติดตามผล วาสถานการณเรียบรอยดีหรือไม หลังจากภาวะวิกฤตผานไปแลว ทางชุมชนมี
ความตองการอะไรเพิ่มเติม ก็ขอใหทางเครือขายแจงมา
สําหรับการสื่อสารเพื่อเตือนภัยนั้น นายอนนต อันติมานนท เสนอสิ่งที่ควรปรับปรุงเพิ่มเติม 3 เรื่อง วา
‐ คําศัพทที่ตองใชตรงกันทุกฝาย เชน ฝนตกระดับ 5 หาของที่ศูนยกับของในพื้นที่ไมมีใครเทากันเลย
เพราะฉะนั้น เราควรจะเรียกหนวยที่ใชในการวัดใหเทากัน
‐ ควรมีการวางแนวการสื่อสารลวงหนาวา อะไรควรใชวิทยุสื่อสาร อะไรควรใชโทรศัพท อะไรควรใช
อินเตอรเนทเพราะเมื่อตองเช็คเหตุในพื้นที่ฉุกเฉิน มันจะสับสน และทุกขายจะตองมีระบบสื่อสาร
สํารองทันที และตองมีหนวยในการประสานงานมากกวาหนึ่งจุดในพื้นที่
‐ สวนในการบันทึกเหตุ ที่ผานมามีการบันทึกขอมูลไมครบถวน เชน ฝนตกเทาไรปริมาณเทาไร จะ
สงผลยังไง ระดับน้ําจุดไหน มันควรจะมีขอมูลที่ถูกตองที่ชวยเทียบเคียงได เรามีภาควิชาการอยู
ระดับหนึ่งก็จริง แตถาเราเปนขอมูลที่ทางหนึ่งที่ถูกตองจากที่เคยเกิดขึ้นมาแลวนี่มันจะเทียบเคียงได
19
ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic
หากอยูในภาวะปกติการระดมทรัพยากรคงจะตองทําหนังสือขอความอนุเคราะห
แจงจุดประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน เพื่อใหไดความรวมมือมาอยางเปนขั้นตอน
แตเพราะความเดือดรอนไมเคยรอใคร
และเพราะผูใหเขาใจในภาวะฉุกเฉิน
ทําใหเราไดรับความรวมมือจากแหลงทุนเปนจํานวนมาก
ซึ่งมาจากความสัมพันธระหวางภาคี โดยเฉพาะภาคธุรกิจ
ที่กาวขามเงื่อนไขและขอจํากัดตางๆ ทําใหการสงทรัพยากรตางๆเปนไปดวยความคลองตัว
แสดงใหเห็นถึงพลังในภาคประชาชนอยางที่เกิดขึ้นในชวงที่ผานมา
ดานการจัดหาทรัพยากร
กระบวนการระดมทรัพยากรหลักๆที่เกิดขึ้นในศูนยมาจากการใชความสัมพันธสวนบุคคล
ระหวางภาคีเครือขายอาสาสมัครแตละคน จากทุนทางสังคมในความเชื่อใจและความไววางใจที่มีตอกัน
นําเอาสิ่งที่แตละคนมีโยงไปใหความชวยเหลือสูชุมชนปลายทาง เปนความสัมพันธในรูปแบบใหมที่ใช
ทุนทางสังคมซึ่งเปนทั้งกาวในการเชื่อมโยงความชวยเหลือเขาไปถึงกัน และเปนทั้งเกียรที่ขับเคลี่อนการ
ทํางานใหคลองตัวกาวขามกฏเกณฑที่สรางขั้นตอนตางๆกั้นไวไปดวยพรอมๆกัน
ภาพที่ 9 ภาพแสดงทุนทางสังคมที่ใชในการโยงความชวยเหลือในภาวะภัยพิบัติ
20
ดาน logistic
กระบวนการขนสง หรือ logistic นั้นประกอบดวย 2 สวนหลักๆ คือ 1) การประสานผูบริจาคใน
การขนของจากแหลงทรัพยากรจากโกดังหรือคลังตางๆ ไมวาจะเปนกรุงเทพ อยุธยา ไปยังจุดจัดการ
(รวบรวม) ของบริจาคที่สนามบินหรือขนสงก็แลวแต 2) การแพ็คของบริจาคตามความตองการในพื้นที่
แลวนับจํานวนใหตรงกับความตองการในพื้นที่แลวสงตอไปยัง node ปลายทาง
ขอมูลความตองการความชวยเหลือที่ node ปลายทางจะเปนตัวกําหนดการระดมทรัพยาการ
วาตองการของประเภทไหน จํานวนเทาไร ซึ่งจากการขนสงของ เราพบวาสิ่งที่มีการสงลงไปมากที่สุด
การ คือ อาหาร ทั้งขาวสารและปลากระปอง รองลงมา คือ ยาสามัญประจําบาน ซึ่งกระบวนการขนสง
จากแหลงหนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่งเปนดังนี้
1. เริ่มจากผูประสานงานมวลชน โทรแจงยอดรวมความตองการความชวยเหลือในแตละ node จังหวัด
มาที่ฝายทรัพยากร
2. ฝายทรัพยากรจะประสานการขนสงสิ่งของจากคลังหรือโกดังตางๆ ลงไปยังจุดขนสงของฝงกรุงเทพ
3. ณ จุดขนสงของฝงกรุงเทพ เมื่ออยูภาวะในเรงดวน เราไดใชการขนสงโดยเครื่องบินเปนหลัก จนเมื่อ
ภาวะเรงดวนผานไปก็จะกลับมาใชรถบรรทุกตามปกติ ซึ่งการจัดลําดับความชวยเหลือใหกอน-หลัง
นั้น ผูประสานงานจะ recheck กับผูประสานงานวาสถานการณในพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม มี
ความชวยเหลือเขาไปแลวแคไหน จํานวนความตองการยังคงเทาเดิมหรือไม
4. เมื่อ node ปลายทางไดรับของ ก็จะมีการจัดหารถบบรรทุกขนสงของไปแจกจายตามชุมชนตอไป
ภาพที่ 9 การขนสงของบริจาคในภาวะฉุกเฉิน
21
ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว
การสื่อสารขอมูลและขาวตางๆ ในระยะเริ่มตนการทํางานนั้นมีขอจํากัดหลายประการ
เพราะเราขาดอาสาสมัครที่มีทักษะและประสบการณดานสื่อ
และยังขาดคนที่จะคอยโฟกัสขอมูลทั้งดานวิชาการและการ press ขาว
เพื่อที่จะสื่อสารขอมูลภายในไปสูภายนอก ใหรับรูวาสิ่งที่เรากําลังทําคืออะไร
ดังนั้น ในการทํางานครั้งหนา
เราควรจะแบงเปนการสื่อสารภายในศูนย สื่อสารชุมชน สื่อสารสาธารณะ
โดยที่แตและสวนจะตองมีอาสาสมัครที่รับผิดชอบและสงตองานกันอยางตอเนื่อง
ดานสื่อ / การเผยแพรขาว
การประชาสัมพันธและ press ขาว ประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสาเปนกิจกรรมที่
เพิ่งลงตัวหลังวันที่ 8 ของการดําเนินงาน ซึ่งงานภาวะฉุกเฉินไดผานไป จากการดําเนินงาน เราพบวา
ไมควรเอาในสวนนี้ไปทําหนาที่รวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะ
ที่จริงมันคนละเรื่องกันและเปนการแบกภาระเยอะเกินไป ทําใหทํางานไดไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร
ดานวิชาการ
ขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา เชน ปริมาณน้ําฝน ความเร็วลม และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับชุมชน
ทั้งน้ําหลากและโคลนถลมเปนInformation ที่เราประเมิน ตรวจสอบ และแจงเตือนชุมชน ถาตรงนี้มีคน
ของพื้นที่เองเลยการประเมินและประสานเรื่องตางๆ ก็จะแมนยํามาขึ้น สําหรับการทํางานที่ผานมา
อาสาสมัครในศูนยจะไมไดเปนคนทําขอมูลเชิงรุกดานความเสี่ยงจากภัยพิบัติเอง แตทางศูนยจะไดรับ
ความชวยเหลือจาก นักวิชาการทั้งดร.รอยล จิตรดอน ผูอํานวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและ
การเกษตร และคุณไกลกอง ไวทยการ หัวหนาฝายสงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มูลนิธิ
กองทุนไทย ไดสงประมวลผลและแจงเตือนใหเราแจงเตือนชุมชนอีกที
การจัดการขอมูลภายในศูนย
การจัดการขอมูลภายในศูนย เริ่มจากภายในหองยังมีการหอยปายบอกชื่อฝายไวเหนือหัว
เพื่อใหสะดวกกับอาสาสมัครที่เขามาใหมจะไดรูวาฝายไหนอยูตรงไหนของหอง จะไดไปประสานงานถูก
ซึ่งเมื่องานเขามาเราจะใชกระดาษ Notepad เขียนขอความ 1 แผน ตอ 1 เรื่อง เพื่อสะดวกตอการมอง
หา เชน เรื่องที่แจงเขามา 1 เคส ก็เขียน 1 เรื่องนั้น ลงบนกระดาษ 1 แผน หรือมีผูที่ประสงคจะบริจาค
22
เขามา 1 ราย เราก็จะบันทึกไวบนกระดาษ 1 แผนเชนกัน แลวกระดาษเหลานี้ก็จะถูกแปะอยูบนบอรด
หรือผนังหองแบงตามหมวดหมูของภารกิจ เชน วันแรกที่โดนน้ําหลาก เรามีบอรด 2 บอรดที่อยูคูกันคือ
บอรดแจงขอความชวยเหลือ และ บอรดแหลงของหนวยกูภัย สวนวันที่ 2 บอรด 2 บอรดที่ตามมาคูกัน
คือ บอรดความตองการของบริจาค(need) และ บอรดแหลงผูใหของบริจาค(Give) วันที่ 3-4 มีบอรดผู
ประสาน node แตละจังหวัด รวมถึงการอัพเดทรายการใหความชวยเหลือและความตองการที่ยังรอคอย
นอกจากนั้นยังมีการแปะบันทึกการประชุมรายวันที่ถอดบทเรียนรายวันเอาไวใหเห็นความคืบหนาดวย
รูปที่ 11 บรรยากาศและการจัดการขอมูลในศูนยโดยใช notepad
สําหรับนักจัดการมืออาชีพอาจจะมีขอสงสัยวาทําไมเราไมใชฐานขอมูลในคอมพิวเตอรหรือใช
server แชรขอมูลกัน ผูเขียนขอแจงวา เหตุผลที่เราใชการสื่อสารขอมูลภายในดวย hard copy อยาง
บอรดหรือกระดาษนี้ ก็เพราะชวงแรกๆ เราขาดคนที่จะทํางาน It support ทั้งการติดตั้งคอมพิวเตอร
ปริ๊นเตอร เซ็ทวง LAN แตเรายังขาดสิ่งที่ตองการมากที่สุด คือ intranet ที่จะใชเก็บขอมูลและแชรขอมูล
ตรงกลางใหเห็นไดทั่วกัน ซึ่งเราเคยขอความเรื่องนี้จากองคกรแหงหนึ่งไปแลว แตเคาก็ไมสามารถจะ
ใหบริการเราใชได เพราะติดปญหาเรื่องลิขสิทธ เราจึงไดสื่อสารกันแบบ manual กันทั่วทั้งหอง ซึ่งนั่นก็
ทําใหการทํางานของเรามีสีสันและมีความเปนมนุษยไปอีกแบบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ
สรุปบทเรียน ศอบ

Contenu connexe

Similaire à สรุปบทเรียน ศอบ

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Fangky's Chutintorn
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอมnoeiinoii
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4Intangible Mz
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์Aun Chun Cha Ree
 
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชคกระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชคAraya Sripairoj
 

Similaire à สรุปบทเรียน ศอบ (7)

Data Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPBData Collection in Supporting CPB
Data Collection in Supporting CPB
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
ใบงานที่4
ใบงานที่4ใบงานที่4
ใบงานที่4
 
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
แบบเสนอโครงงานเรื่อง อารยธรรมอียิปต์
 
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชคกระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
กระบวนการแลกเปลี่ยนCBLภาคใต้โดยคุณนันทโชค
 

Plus de freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsfreelance
 

Plus de freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

สรุปบทเรียน ศอบ

  • 2. 1 สารบัญ บทที่ หนา บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน day by day ฉาย dynamic การปรับตัว การรวมตัว บทบาทของแตละฝาย 2 บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ใน เชิงขอแนะนําการตั้งศูนย 15 บทที่ 3 Reflection สิ่งสะทอนจากตัวคน บทเรียนจากการทํางานของอาสาสมัคร 29
  • 3. 2 บทที่ 1 Timeline เลาเรื่องรายวัน day by day ฉาย dynamic การปรับตัว การรวมตัว บทบาทของแตละฝาย เรื่อง หนา ชวงที่ 0 กาวกอนเริ่ม 3 ชวงที่ 1 day1-day3 วิกฤติชีวิต 4 ชวงที่ 2 day4-day7 วิกฤติปากทอง 7 ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซ้ํา 3 สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวง 11
  • 4. 3 ชวงที่ 0 กาวกอนเริ่ม การตั้งเคากลุมกอนนักเคลื่อนไหวทางสังคมทั้งภาคธุรกิจและนักพัฒนาฯ ที่กอการกันจนเกิด ศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ(ศอบ.)ในครั้งนี้ เริ่มมาจากการประชุมกัน 3 ครั้ง ที่ ธนาคารกรุงไทยในวันที่ 26 ตุลาคม ที่ สสส. ในวันที่ 28 ตุลาคม และที่ทีวีไทย ในวันที่ 1 พฤศิจกายน เพื่อรวมตัวกันหารือกันถึงแตละกาวที่แตละคนจะลงมือกับเหตุน้ําทวม ที่เริ่มฤดูของความแปรปรวนดวย จังหวัดที่ทวมนําไปกอน ไดแก ราชบุรี เพชรบุรีและโคราช ซึ่งเปนปฐมบทที่ปลุกใหตื่นและมองเห็นได แลววาจะมีทั้งน้ําและฝนอีกเปนกอนๆ กําลังจอคิวตามมา แมวาจะ “เงื้องาราคาแพง” ของการรวมตัวกัน ในการรับน้ํากอนนี้จะชาไปนิด แตเวลาของการเงื้อนั้นก็ทําใหผูกอการทั้งหลายไดเก็บชั่วโมง พิสูจน บทเรียนการรับบริจาคและชวยเหลือผูประสบภัย และคัดกรองคนที่มีแนวคิดเดียวกันใหโดดลงมารวมวง เดียวกัน โดยมีดีเปรสชั่นที่ยกตัวขึ้นฝงของภาคใตในวันจันทรที่ 1 พฤศจิกายน เปนตัวเรงในการ ตัดสินใจ และมีเวทีระดมความคิดในชวงเย็นที่จัดขึ้นที่ทีวีไทย จนเกิดแนวคิดหลักในการดําเนินงานของ เครือขายภาคประชาชนเพื่อรับมือกับวิกฤตที่จะคุกคามทั้งผูใหความชวยเหลือและผูประสบภัย บทเรียนจากการทํางานฟนฟูบนความหลากหลายของสภาพภูมิศาสตรและวัฒนธรรมเปนสิ่งทํา ใหการทํางานแบบโครงขายในพื้นที่จําเปนตองถูกจัดตั้งขึ้น อาจารยยักษ (วิวัฒน ศัลยกําธร) ไดเสนอ หลักการทํางานเพื่อชวยเหลือผูประสบภัยที่เขาถึงชุมชนในเชิงลึกและสรางความเขมแข็งในการจัดการ ตัวเองไปพรอมๆกันวา การจัดการในระดับภาคประชาชนนั้น (ดังภาพที่ 1) จําเปนตองมีการทํางานแบบ กระจายศูนย (node) ออกไปแบบแบนราบในการใหความชวยเหลือและทรัพยากรจากสวนกลางที่ไปสู พื้นที่ปลายทาง ไปสูการจัดการดวยคนปลายทาง ซึ่งรูจักพื้นที่ของตนเองดีที่สุด ภาพที่ 1 หลักการจัดการพื้นที่ประสบภัยตามแนวคิดภาคประชาชน
  • 5. 4 ที่จริงหลักการที่วามานี้ ไมไดมาจากความคิดของคนคนเดียว แตแนวคิดนี้ไดรับการทดสอบและ ยืนยันดวยบทเรียนจากการทํางานของภาคประชาชนที่ชุมฉ่ําจนถึงเปยกโชกกันเกือบหนึ่งเดือนกอน หนา ประกอบกับบทเรียนจากน้ําทวมในปลายป 49 เหตุการณสึนามิในป 2546 องคกรภาคประชาชน ทั้งหมดกวา 50 องคกร แทบทั้งหมดมีความคิดเห็นในปญหาและการหาวิธีแกที่ตรงกันอยางที่ไมนาเชื่อ วา การลดปญหาการเขาไมถึงชุมชนที่ตกคางและการใหความชวยเหลือที่ไมเทาเทียมนั้น ควรให ชาวบานหรือภาคประชาสังคมในพื้นที่ ทําหนาที่มดงานระดมกําลังจากพื้นที่ใกลเคียง ขนขาวขนของเขา ไปจัดสรรและแบงปนในชุมชนของตนเอง เพราะมดงานเหลานี้รูจักทรัพยากรและรูจักพื้นที่ของตนเองดี ที่สุด จึงควรใชการโยงใหชุมชนที่ประสบภัยไดรับความชวยแบบชาวบานใหชวยชาวบานดวยกันเอง แมวาแนวคิดการจัดการแบบแบนราบสูทองที่ อาจมองไดวาเปนแนวคิดการจัดการแบบแนวดิ่ง ในอีกรูปแบบหนึ่ง ผูเขียนบทความนี้ก็ขอยืนยันวา แนวความคิดการจัดการแบบแบนราบของกรุงเทพ ที่ จะนําสิ่งของบริจาควิ่งไปสูแตละชุมชนโดยตรง ก็อาจเปนการจัดการสูปลายทางแบบแนวดิ่งพื้นอีก รูปแบบหนึ่งดวยเชนกัน เพราะความคิดของมนุษยเรานั้นไมสมบูรณแบบ การแสวงหาจุดรวมและการ สงวนความแตกตาง ก็นับเปนการจัดการทางความคิดที่เราไมสามารถเพิกเฉยไดอีกประการหนึ่ง ชวงที่ 1 Day1-day3 อุทกภัยทางความคิด และวิกฤติชีวิตในพื้นที่ประสบภัย หลังจากที่ดีเปรสชั่นมาถึงภาคใตฝงอาวไทยและเสร็จประชุมวันกอน ทีมขาวของทีวีไทย นําโดย พี่แวว (นาตยา แวววีรคุปต) และทีม Frontline ของ 1,500 ไมล นําโดยพี่โตง (รัฐภูมิ อยูพรอม) ก็ออก เดินทางลงไปปลายทางหาดใหญเพื่อลงสํารวจพื้นที่ พรอมกับเชาวันที่ 2 พฤศจิกายน 2553 ที่การ เตรียมศูนยรับมือวิกฤตที่กรุงเทพ ไดเริ่มขึ้นที่ชั้น 2 ของโรงแรมพินนาเคิล ลุมพินี ที่ ดร.วงษภูมิ วนาสิน ใหใชเปนที่ทํางานและที่พักสําหรับอาสาสมัครไดเปลี่ยนกะทํางานตอเนื่องกันไดตลอด 24 ชั่วโมง โดยมี พี่ลักษณ สมลักษณ หุตานุวัตร จาก SVN (Social venture network) คอยเปนแมบานและแมงานที่ดูแล ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ (ศอบ.) ซึ่งปรับเปลี่ยนชื่อมาหลายรอบจนไดชื่อนี้ในปจจุบัน และยังมี สสส., ทีวีไทย และ www.thaiflood.com คอยใหการสนับสนุน สิ่งแรกที่ทําในการเริ่มศูนยวันนั้นคือ การสรางระบบการประสานขอมูลในฝายทั้ง 5 ที่อาจารย ยักษไดรางไวเมื่อวันกอนตอนประชุมที่ทีวีไทย คือ ฝายขอมูล-ขาว ฝายมวลชน ฝายทรัพยากร ฝาย อาสาสมัคร ฝายบริหาร โดยการเสนอตัวของอาสาหนึ่งคนตอหนึ่งฝายขึ้นมาเปนเจาภาพหลักในการรวม ขอมูลเพื่อที่จะตัดสินใจตอในฝายนั้น เพื่อลดความซ้ําซอนในการสื่อสาร ที่นี่เราเรียกระบบนี้วา Communications line พูดงายๆ คือ จะบอกเรื่องไหน ก็เดินไปหาคนนั้น โดยขอมูลที่จะเขาไปยังแตละ ฝายนั้นประกอบดวย 1. มวลชน (ชุมชน/คนพื้นที่) เปนตัวแทนคนในพื้นที่ ทําหนาที่สื่อสาร ชวยประเมินสถานการณ และประสานความชวยเหลือ โดยมีพื้นฐานความเขาใจในพื้นที่ประสบภัยและมี connection ศูนย ประสานงานในระดับพื้นที่ สื่อสารเอาขอมูลมาแชรกับฝายทรัพยากรซึ่งเปนสวนตอไป
  • 6. 5 2. ทรัพยากร ทําหนาที่ระดมของบริจาค และประสานขอมูลความตองการความชวยเหลือ เชน พื้นที่ที่ตองการใหชวยประสานเรือที่จะอพยพ พื้นที่ที่ตองการอาหารสด พื้นที่ที่ตองการถุงยังชีพ รวมไปถึงการประสานพาหนะสําหรับขนสงไปยังพื้นที่ประสบภัยตอไป 3. ขอมูล–ขาว ทําเรื่องสถานการณพื้นที่ ระดับน้ํา ระดับความเสียหาย ความเสี่ยงที่จะโดนซ้ําและ การเตือนภัย เพื่อจัดลําดับการสงความชวยเหลือหรือแจงเตือนใหมีการเตรียมพรอม 4. อาสาสมัคร ทําหนาที่จัดระบบคนที่เขามาทําใหศูนยลื่นไหล ไปยังตําแหนงตางๆที่มีความ ตองการทั้งหนางาน (ในพื้นที่) และ หลังบาน (ที่ศูนยกรุงเทพ) 5. บริหาร แนนนอนวา War room ก็คือ หองแหงการบริหารจัดการ ทุกชวงเย็นผูใหญและผู ประสบการณทั้งหลายจะแวะเวียนมาแลกเปลี่ยนความคิดในการกําหนดทิศทางรวมกันตอไป หลักการทํางานที่วาไปขางบนพอจะเขียนเปน Map ไดดังภาพนี้ ภาพที่ 2 โครงสรางการทํางานของศูนยอาสาสมัครประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ ชวงที่ฟาสวางของวันแรกทั้งวันนี่หมดไปกับการระดมความคิด จัดระบบ และอะไรอีกหลาย อยางที่ไมลงตัว พอเขาสูชวงฟามืดนี่ยิ่งแยกวา เพราะตัวเมืองก็ถูกน้ําหลาก-น้ําทวมสูงเปนเมตรทําใหไป ไหนไมได พื้นที่ปลายทางถูกตัดไฟเพื่อปองกันไฟรั่ว เสนทางเดินรถก็ไปไดยากเพราะตนไมลมระหวาง ทางปดถนนไปหลายจุด ระบบโทรศัพทลมเหลวเพราะชองสัญญาณเต็มเนื่องจากมีผูใชบริการจํานวน มาก แมแตจะติดตอทีม Frontline เพื่อสื่อสารกันเองก็ทําไดยาก ตั้งแตฟามืดนี่ภารกิจหลักของเรา คือ ประสานตอหนวยฉุกเฉินเขากับความชวยเหลือที่รองขอมาทั้งทาง Twitter บนหนาเว็บ Thaiflood และ ทางโทรศัพท เคสทุกเคสสะเทือนความรูสึกจนอยูนิ่งไมได อาสาสมัครซึ่งประสานงานในภาวะวิกฤติเปน
  • 7. 6 ครั้งแรกตางตื่นเตนและพยายามประสานหนวยเคลื่อนที่เร็วแทบทุกชนิดลงไปชวยในพื้นที่ คอยจดจอ ความคืบหนาในการใหความชวยเหลือไมวาจะเปน เคสหญิงทองแกจะคลอดจนน้ําเดินแลวแตติดอยูในที่ พัก หรือ เคสคนปวยเสนเลือดสมองตีบเจาะคอชวยหายใจที่ติดอยูในโรงแรมกําลังอาการทรุด ซึ่งญาติ เลาสถานการณใหฟงดวยน้ําเสียงสั่นเครือ เรื่องราวเหลานี้ตอง recheck หลายครั้งเพื่อใหไดขอมูลที่ ชัดเจน เรียกวา เจอขอมูลไหลเขามาทวมจนประสบอุทกภัยทางความคิดกันไปหมดเลยทีเดียว การทํางานอาสาสมัครในวันแรก จึงอยูในภาวะโกลาหลกันทั้งคืน หลุดไปจากเริ่มแรกที่ตั้งใจวา จะประชุมสรุปงานกันทุก 3 ชั่วโมง เราตางก็ทําไมสําเร็จ และแมจะตั้งเปาวาจะทําหนาที่ประสาน node สนับสนุนใหเกิดการเชื่อมโยงภายในพื้นที่นั้น เสียงรองขอความชวยเหลือจากคนแตละคนที่มีเครื่องมือ สื่อสารเปนฟางเสนเดียว ก็ทําใหเราประสบอุทกภัยทางความคิดเอาใจไปติดกับชีวิตจนไขวเขว ทํางาน ไมไดไปตามเปาที่ตั้งไวตอนหัววัน กระทั่งเชาวันที่สองพี่ลักษณถึงเรียกสติอาสาสมัครทั้งทีมคืนมาไดวา เปาหมายและวิธีการ ทํางานของเราคืออะไร การทํางานอยางมีระบบจริงๆ ถึงไดเริ่มขึ้นเปนครั้งแรก เรียกไดวาเมื่อน้ํานิ่งคนก็ เริ่มนิ่ง เพราะเมื่อโทรไปติดตามความคืบหนาในการชวยเหลือทั้งสองเคสที่เลาไปแลวในขางตนวา ไดรับ ความชวยเหลือและปลอดภัยแลว คนทํางานก็เริ่มมีสมาธิกับงานขางหนามากขึ้น เมื่อความรุนแรงของกระแสน้ําเริ่มลดลง ความตองการตอจากการเอาชีวิตรอดใหไปอยูในพื้นที่ ปลอดภัยก็คือ การกิน อาหารสดหรือเรียกงายๆ วา “ขาวกลอง” เปนความตองการถัดมาหลังจากไดที่ ปลอดภัย ใครบอกวาขาวกลองไมสําคัญ ผูเขียนขอบอกวา ขาวกลองเนี่ยสําคัญมาก การจะดูแลกันตอไป ของชุมชนเนี่ยขาวกลองถือเปนจุดเปลี่ยนของชุมชนเลยทีเดียว เพราะในปรากฏการณของพื้นที่ประสบ ภัย เราพบวา คนแตละคน หรือ แตละครอบครัว จะถูกซัดใหกระจัดกระจายหรือถูกทําใหปลีกแยก ออกไปจากสิ่งแวดลอมที่คุนชิน บางบานสูญเสียครัวและอุปกรณทําอาหาร บางคนตองยายหนีไปอยูที่ อื่นซึ่งไมรูวาจะไปหาอาหารไดที่ไหน การมีครัวรวมหรือครัวชุมชนเปนคําตอบที่จะทําใหผูประสบภัยซึ่ง กําลังเควงอยู ไดมีอาหารกิน ไดพื้นที่ที่จะรวมตัวกันพูดคุยแลกเปลี่ยนเรื่องราวที่เผชิญ ไปจนถึงหาทางที่ จะจัดการกับภาวะที่แตละคนเผชิญอยู ซึ่งครัวรวมหรือครัวชุมชนนี้อาจเกิดขึ้นไดทั้งการลงแรงกันของ ชาวบานเองและการเขาไปชวยตั้งโรงครัวจากคนนอกดวยการหาคนและหาวัตถุดิบตั้งตน อยาง น้ําปลา น้ํามัน พริก กระเทียม ผัก หมู เห็ด เปด ไก สําหรับมื้อแรกๆ เขาไปชวย เพื่อที่จะชวนชาวบานเขามา ชวยกันลงแรงตอไป ปรากฏการณในการบริจาคในครั้งนี้มีเรื่องนาดีใจ ที่คนไทยเขาใจลําดับความสําคัญ และความหมายของปจจัย 4 สําหรับผูประสบภัยมากขึ้น ครั้งนี้เราไมเห็นกองภูเขาเสื้อผา ครั้งนี้เรามอง ไมเห็นกองของบริจาคที่อยูนอกเหนือความจําเปน ครั้งนี้เราเห็นความเขาใจที่ดีขึ้นในการใหความ ชวยเหลือที่จะกอใหเกิดปญหาความขัดแยงระหวางชุมชนนอยลง ตองขอขอบคุณคนไทยที่เขาใจ บทเรียนในการบริจาคจากประสบการณที่เรารวมทุกขรวมสุขกันมา กอนที่จะเตลิดออกอาวไทยไป ตอนนี้ขอกลับมาที่ศูนยฯกอน งานที่เริ่มมีบทบาทมากขึ้นในชวง วันที่ 3 นี่คอยๆ เปลี่ยนจากการสื่อสาร มาเปนการระดมทรัพยากรและ logistic ในการประสานเรื่อง อาหารสดหรือขาวกลองไปชวยผูประสบภัยที่ติดอยูในพื้นที่ ซึ่งงานนี้ทีมเจาหนาที่จากมูลนิธิกระจกเงาก็ ไดเดินทางลงพื้นที่หาดใหญเพื่อประสานการตั้งศูนยขาวกลองและ logistic ของบริจาคลงไปจากกรุงเทพ
  • 8. 7 โดยมีสายการบินนกแอรอาสาขนใหในภารกิจนี้โดยเฉพาะ นอกจากนั้นวันนี้เรายังมีกลุมคนที่เราตองการ ที่สุดก็กาวเขามาในหอง พวกเขาคือ พี่ประยูร พี่ยาและพี่มณเฑียร ซึ่งเปนชาวบานแกนนําในเครือขาย องคกรชุมชนในภาคใตและมีประสบการในการฟนฟูชุมชนที่ประสบภัยสึนามิ ดวยการชวนของพี่ดวง มูลนิธิชุมชนไทย ใหเขามาลองดูวาจะชวยอะไรไดบางตั้งแตชวงเย็น ซึ่งพอกาวเขามาพี่ทั้งสามคนก็เห็น และรูทันทีเลยวา ทาจะตองอยูยาวซะแลว เพราะคนที่จะประสานชุมชนไดมันขาดจริงๆ หลักจากจูนระบบและจูนความเขาใจเขาดวยกัน การทํางานในวันที่สามลงลึกไปในพื้นที่ประสบ ภัยทั้ง 7 จังหวัด ไดแก ชุมพร สุราษฏรธานี นครศรีธรรมราช ตรัง พัทลุง สงขลา และปตตานี จน สามารถคนพบคนที่จะเปนแกนในการประสานทองถิ่นไปไดอีกหลายพื้นที่ เพราะมีคนที่มี Connection และความเขาใจในทองถิ่นเขามารวมทีมดวยอยางเต็มตัว ชวงที่ 2 day4-day7 วิดขอมูลที่ทวมชีวิต แลวไปกูวิกฤติปากทอง คําถามที่มีอยูตลอดมาตั้งแตสมัยสึนามิ คือ เราจะลดปญหาความซ้ําซอนและการตกหลนในการ ใหความชวยเหลือในพื้นที่ประสบภัยพิบัติไดยังไง ก็หาคําตอบกันตอไป จนวันนี้ปญหานี้ก็ยังเจอเรื่องนี้ อยู แตในภาวะวิกฤตแบบนี้ สิ่งที่เราตองทําก็คือ ตองรูจักละและวางในสิ่งที่เรายังมองไมเห็นวาเราทําได แคไหน แตขณะเดียวกัน เราก็จะทําเต็มที่ในสิ่งที่เราทําได และทําตอไปใหถึงที่สุด หลังจากที่ศูนยเริ่มเปนที่รูจักและมีการสงขอความรับอาสาสมัครออกไป ชวงนี้อาสาสมัครก็เขา มาชวยงานในศูนยเพิ่มขึ้นเปนจํานวนมาก ความหลากหลายของอาสาสมัครไดพัฒนาใหการทํางาน คอยๆ เขารูปเขารอยมากขึ้นเรื่อยๆ ถึงกระนั้นงานในชวง 4-5 วันแรกก็ยังไมไดเปนไปอยางที่ตั้งใจหวัง วาจะใหเกิด node ในการระดมทรัพยากรจากพื้นที่ใกลๆ มาชวยกันเอง เพราะเราเองก็ยังเปนการ ชวยเหลือจากขางบนแลวสงขึ้นเครื่องบินลงไปขางลาง และขางลางก็ยังไมสามารถตั้งตัวไดเชนกัน แต อยางนอยเราก็เริ่มมีผูประสานและ node ซึ่งเปนจุดเชื่อมตอที่ชัดเจนมากขึ้นในการประสานความ ชวยเหลือในลักษณะของใยแมงมุม ซึ่งถาพูดถึงใยแมงมุมนั่นก็แสดงวา มันตองมีตัวแมงมุม ถาเปรียบให ศูนย ศอบ. เปนตัวแมงมุม ชุมชนในพื้นที่เปนศูนยประสานงานก็คงเปนขาแมงมุมที่โยงความชวยเหลือ ใหกันและกัน เชน ชวงที่คาบเกี่ยวกับระหวางวิกฤติปากทองกับวิกฤตชีวิตอยางชวงนี้ ตอนที่ นครศรีธรรมราชโดนพายุเขาถัดมาจากหาดใหญ เราไดทําหนาที่ประสานใหทางหาดใหญซึ่งน้ําลด คลี่คลายจนเรือเริ่มใชนอยลงแลว ใหหาดใหญสงเรือไปชวยนครฯที่กําลังน้ําเออ พรอมกันก็ไดชวย ประสานเรื่องวิกฤตอาหาร พัทลุงมีโรงสีชุมชนมีขาวเล็บนก ซึ่งเปนขาวดีของทางใตที่ขายใหไดในราคา ชวยเหลือผูประสบภัยและยังจัดสงใหฟรี เราก็เปนตัวประสานใหขาวจากพัทลุง(สวนที่ไมทวม)ไปชวย พัทลุงสวนที่ทวม ไปชวยหาดใหญ ไปชวยนครฯ ได การระดมทรัพยากรและ logistic ในการสงอาหารและยาลงไปในพื้นที่จึงเปนงานที่มีบทบาท สําคัญในชวงนี้ ระบบการจัดการของเราแบงแบบงายๆ ไดเปน 2 สวน คือ ฝงตนทางที่กรุงเทพ และฝง ปลายทางที่ทางใต ซึ่งสื่อสารจํานวนของที่ตองการโดยรวมขึ้นมา สวนเราก็จัดหาของใหไดตามความ ตองการและตามจํานวนที่ตองการจัดเปนกลุมๆ แตละจังหวัด แลวทยอยสงไป โดยมีสายการบินนกแอร เอื้อเฟอพื้นที่โกดังใหเราจัดของและเอื้อเฟอเครื่องบินขนของใหในชวงที่ถนนยังถูกปดดวยน้ําและตนไมที่
  • 9. 8 ลมขวางอยูระหวางทาง โดยการจัดการของบริจาคในฝงกรุงเทพจะรับทั้งของที่เปนชิ้นยอยๆ จากผู บริจาคทั่วไปและของบริจาคลอตใหญๆ ที่มีผูบริจาคตรงจากโรงงาน ทั้งหมดจะถูกนํามาจัดแบงตาม ปริมาณที่แตละพื้นที่ตองการแลวสงไปยัง node ปลายทาง ดังรูปที่ 3 ภาพที่ 3 ระบบการจัดการของบริจาคและ logistic ไปยังพื้นที่ประสบภัย การระดมทรัพยากรและ logistic นี่กวาจะลงตัวก็ปาเขาไปวันที่ 7 ตั้งแตเปดศูนย ระหวางทางนี่ เจอปญหาและอุปสรรคในการทํางานมากมายซึ่งเดี๋ยวจะขอเลาตอในสรุปบทเรียนชุดถัดไปซึ่งจะเลาถึง รายละเอียดการของการทําแตละฝายอีกที วันที่ 7 ของการทํางานนี่ เพราะวาระบบงานเริ่มลงตัวแลว เราถึงไดขอปลีกตัวจากหองสี่เหลี่ยม ไปลงพื้นที่หนางานบาง ดวยความคิดเห็นที่ตรงกันทุกคนวา ถาคนที่ศูนยไมเขาใจสภาพหนางาน การ จัดระบบเพื่อพัฒนางานตอไปตามสภาวะที่เปนจริงมันจะเปนไปไดยาก เราจึงเดินทางลงไปปตตานี โดย นั่งเครื่องบินไปลงหาดใหญแลวตอรถตูไปลงที่ ม.อ. ปตตานี ซึ่งเปนสถานที่รวมพลของคนแกนหลักที่ ประสานระหวางชุมชนกับสวนกลางที่จะเขาไปใหความชวยเหลือ เราหารือกันถึงกลุมกอนของคนทํางาน ที่เกิดขึ้นวาจะขับเคลื่อนกันตอไปอยางไรและขอลงไปสัมผัสพื้นที่บานดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ซึ่งมี ลักษณะเปนอาวที่ถูกขนาบดวยทะเล ซึ่งขอมูลที่ทางกรุงเทพไดรับคือ ในวันที่พายุเขา น้ําทะเลยกระดับ สูงขึ้นเปนเมตรตั้งแตชวงบายกอนที่พายุจะเขา ซึ่งขาวในทองที่ก็เตือนภัยแจงวาพายุจะเขาตอนกลางคืน แตขนาดฟายังไมมืดน้ํายังขึ้นสูงขนาดนี้ คนธรรมดาก็อยูนิ่งไมไดแลว ชาวบานก็เลยอพยพกันไปอยูในที่ ปลอดภัย ทิ้งไวแตฝูงแพะและบานเรือน ความเสียหายจึงเกิดขึ้นกับทรัพยสินมากกวา พอไปถึงนั้นเรา พบวา ชุมชนนี้ประสบภัยไมตางจากบานน้ําเค็ม สมัยที่โดนสึนามิ คือ ขอ 1 บานถูกคลื่นซัดพังเสียหาย
  • 10. 9 ขอ 2 มีคนเขาไปในชุมชนมากมายคลายกรุปทัวรจนรถติดยาวกวา 5 กิโล ไปถึงปากทางเขาชุมชน ขอ 3 มีความชวยเหลือเขาไปอยางลนหลาม แตปญหาเรื่องการจัดการจนเกิดรอยราวระหวางชุมชน รูปที่ 4 สภาพชุมชนดาโตะ อ.ยะหริ่ง จ.ปตตานี ที่ไดรับความเสียหายจากดีเปรสชั่น ทั้งกอนลงพื้นที่และหลังจากกลับมา มีคําถามและขอถกเถียงวาสิ่งที่สรางความเสียหายใหชุมชน นี่เปน Strom surge หรือไม จนวันนี้ก็ยังไมมีคํายืนยัน และผูเฒาผูแกในชุมชนก็ยังไมเคยเจอเหตุการณ แบบนี้เลย ธรรมชาติในทุกวันนี้มันเปลี่ยนแปลงไป แลวเราจะรับมือยังไงกับความแปรปรวนที่นากลัว ชวงที่ 3 day7-day10 เฝาระวังภัยซ้ํา พรอมกับทําในสิ่งที่ทําได แมวาสถานการณน้ําหลากจะเริ่มเบาบางลง แตฝนที่ตกสะสมก็ยังมีความเสี่ยงตอการเกิดภัย พิบัติซ้ํา ทั้ง landslide ในพื้นที่ลาดเอียงตามเชิงเขาและน้ําหลากตามพื้นที่รับน้ําทั้งหลาย ชวงนี้งาน ระดมทรัพยากรและ logistic เราก็ยังทําอยู แตสิ่งที่เพิ่มเขามาคือ เราเริ่มมีสติที่จะติดตาม ฝนตกสะสม ที่ จะทําใหเกิดดินถลมซ้ํา โดยใชวิทยุสื่อสาร ว.ดํา ที่จริงบทบาทการทํางานของวิทยุสื่อสารกับงานภัยพิบัติ ในศูนยนี่เริ่มมีมาตั้งแตที่พี่ยา และ พี่มณเฑียร เดินเขามาในศูนย แลวทําใหเราพบวา การ recheck ขอมูลทั้งความเสียหายและความชวยเหลือที่ตองการจากปลายทางพื้นที่ประสบภัยนั้น สามารถทํา รวมกันไดโดยใชโทรศัพท วิทยุสื่อสาร และ Social media อยาง Twitter ทั้ง 3 อยางรวมกัน เชน เมื่อเรา
  • 11. 10 พบการแจงของความชวยเหลือผาน Twitter เราก็จะโทรไปเช็คสถานะของคนโพส Twitter นั้นวา ขณะนั้นไดรับความชวยเหลือหรือยัง หากยังไมไดรับความชวยเหลือ เราก็จะไดวิทยุสื่อสารแจงขาวไปยัง ศูนยที่อยูใกลๆ ในพื้นที่วาสามารถใหความชวยเหลือไดอยางไรบาง ดังรูป รูปที่ 5 การใชเครื่องมือสื่อสารเพื่อประสานความชวยเหลือกับพื้นที่ประสบภัย โดยในสวนของวิทยุสื่อสารหรือ ว.ดํา นั้น เราใชโปรแกรม Echolink ซึ่งเปน VoIP ที่เชื่อม สัญญาณวิทยุสื่อสารผานเขาคอมพิวเตอร ทําใหคนอยูที่ไกลอยางกรุงเทพยังสามารถรับขาวสารทัน สถานการณไดพรัอมกับกลุมอาสาที่ใช ว.ดํา ในพื้นที่ประสบภัยทางใตดวย เลามาถึงตรงนี้คงเริ่มมี คําถามอีกแลววา โทรศัพทก็มี อินเตอรเนทที่จะเอาไวใช Social network ก็มี ทําไมตองกลับไปใชวิทยุ สื่อสารดวยละ เดี๋ยวคําถามนี้จะไปตอบอยางละเอียดในสรุปบทเรียนชุดถัดไป โปรดติดตามชมอีกเชนกัน การขอความชวยเหลือที่ศูนยฯ นอกจากจะเขามาโดย connection ของผูประสานงานพื้นที่แลว ก็ยังมีผูที่ตอสายเขามาโดยตรงผานโทรศัพทสวนกลางของศูนย มีอยูสายหนึ่งโทรแจงมาวา เปน ผูประสบภัยอยูในพื้นที่ จ.อยุธยา ไมมีไฟฟาใชมากวาสัปดาหแลว อยากจะขอใหทางศูนยชวยเหลือดวย เมื่อนองอาสาสมัครไดรับสายนี้ นองก็เลาตอใหพี่ลักษณฟงและหารือวาเราจะทําอะไรไดบาง ผูเขียนซึ่ง เปนคนที่นั่งฟงทั้งสองคนอยูก็ทําไดเพียงคิดวา ก็คงตองรอใหทางไฟฟาเคาจัดการเอง แตดวยความคิดที่ ไมเคยรั้งรอที่จะลงมือและความเปนอาสาสมัคร ทั้งสองคนก็ประสานงานแจงปญหาที่ชาวบานไมมีไฟฟา ใชตอการไฟฟาสวนภูมิภาคของทางจังหวัด ไปจนกระทั่งเคามองเห็นปญหาและชวยหาทางออกใหจน เจาหนาที่แจงวาจะไปติดตั้งอุปกรณไฟฟาใหชาวบานไดมีไฟฟาใชไดในวันรุงขึ้น สําหรับผูเขียน เรื่องนี้เปนเรื่องราวเล็กๆ ที่นาภูมิใจวา การไมดูดายและไมรั้งรอของการขยับตัว จากฟนเฟองเล็กๆ ที่กาวขามความไมมั่นใจ สงเสียงไปบอกฟนเฟองขนาดใหญใหรูตัววาการขยับของ เขาสามารถเปลี่ยนแปลง สวนอื่นๆใหดีขึ้นไดอยางไร มันชวยย้ําใหเรามั่นใจวา เราทุกคนที่เปนฟนเฟอง ทุกอันไมวาเล็กหรือใหญ หากเราเลิกปดกั้นตัวเองจากความกลัววาจะทําไมได แลวมาลงมือเอาแคเพียง เรื่องเล็กๆ ที่เราทําได เทานี้โลกก็คอยๆเปลี่ยนแลว
  • 12. 11 สรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวง จากการทํางานทั้ง 3 ชวง จะเห็นไดวาคนที่มีบทบาทสําคัญในแตละชวงงานจะแบงเปน ชวงเตรียมการ งานดานวิชาการทั้งสายวิทยและสายสังคม ซึ่งอยูภายใตฝายขอมูลจะเปน ตัวกําหนดทิศทางการทํางานของศูนย ชวงเผชิญเหตุและเฝาระวังภัย งานดานสื่อสารซึ่งอยูภายใตฝายชุมชนจะมีบทบาทเดนกวา วิชาการ เพราะชุมชนซึ่งเปนผูเผชิญเหตุมีความเขาใจในบริบททางสังคมและภูมิศาสตรของตัวเองดีที่สุด การสื่อสารโดยมวลชนเชื่อมโยงกันระหวาง Connection ที่เปนคนที่เคยรูจักกันมากอนแลว ความเขาใจ และความไววางใจที่มีอยูเปนกุญแจสําคัญของการชี้ให node ปลายทางไดเริ่มตนความรวมมือกันและได ชูใหเห็นวาแตละพื้นที่จะมีใครเปนแกนหลักที่จะทํางานในชวงถัดไป ชวงฟนฟู ฝายทรัพยากรและ Logistic จะมีบทบาทมากที่สุดชวงหลังเหตุฉุกเฉิน เพราะ ในชวง ที่พื้นที่ประสบภัยปลายทางยังตั้งตัวไมได การเสริมกําลังและการเขาไปชวยตั้งตนการจัดการโดยใช ทรัพยากร ไมวาจะเปน ขาวกลอง น้ําดื่ม ยา หรือ ขาวสารที่จะตองใชบริโภคในชวงถัดไป ตางเปนสิ่งที่ ใชแกไขสถานการณและสรางประสบการณในการลงมือจัดการตนเองในเวลาเดียวกัน นอกจากบทบาทในการนําของแตละฝายแลว เรายังพบวิวัฒนาการของการปรับตัว รวมตัว และ การแตกหนอที่เกิดขึ้นระหวางการทํางานไปพรอมๆกัน งอกเปนภารกิจแยกยอยแตละดานไปไดอีก คือ ดานขอมูล – ชุมชน เมื่อทํางานไปไดสักระยะ เราพบวาฝายขอมูลและฝายชุมชนนั้นแทบจะ เปนฝายเดียวกัน เพราะพี่ยา พี่มณเฑียร ที่ทําหนาที่ในการประสานงาน node หรือ ชุมชนปลายทางนั้น ตองทําหนาที่ในการสื่อสารและการจัดการขอมูลที่ชุมชนแจงกลับมา กระจายสื่อสารภายในศูนยใหทุกคน ไดรับขอมูลทราบทั่วกัน โดยภายในศูนยนองๆ อาสาสมัครเปนผูชวยพิมพ/เขียนขอมูลที่ไดมาซึ่งตอน แรกเริ่มจากการรวมขอมูลเปนหนึ่งจังหวัด หนึ่ง A4 กอน ตอมาพอขอมูลเริ่มมีความเคลื่อนไหวเขามาใน จํานวนมากและมีความเร็วเพิ่มขึ้น เราก็เปลี่ยนใชไวทบอรดตีตารางแบงแตละจังหวัด แลวแปะ Notepad ขนาด ½ กระดาษ A4 แสดงขอมูลความตองการของแตละพื้นที่ซึ่งเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา พรอมกับ รายงานสถานะการสง-รับ จํานวนสิ่งของที่สงเรียบแลวและคงคางกํากับไวในสวนทาย รูปที่ 6 บอรดสื่อสารขอมูลความตองการและความชวยเหลือใหภายในศูนยทราบขอมูลโดยทั่วกัน
  • 13. 12 ดานทรัพยากร-logistic หลังจากที่มีการสื่อสารภายในวาความตองการของแตละพื้นที่เปน อยางไร จํานวนเทาไร ฝายทรัพยากรและ logistic ซึ่งทํางานแทบจะเปนเนื้อเดียวกัน ก็จะประสานของ บริจาคที่ระดมมาไดขนสงจากตนทางไปยังคลังสินคาหรือที่เรียกกันติดปากวา Cargo ที่สนามบิน ซึ่งที่ นั่นจะมีการคัดแยก แบงตามจํานวน โทรแจงผูประสานงาน Node ปลายทางวา เครื่องบินจะไปถึง flight ไหน และเช็ควารายการสิ่งของตรงตามความตองการหรือไม จากนั้นจึงแพคใหเรียบรอยตามระบบการ บิน ขนขึ้นเครื่อง จากนั้นจึงโทรเช็คซ้ําวาแจงผูประสานงาน Node ปลายทางไดรับสิ่งของครบตาม จํานวนหรือไม เพื่อที่จะไดแกปญหาในการระดมและการจัดสงตอไป ซึ่งทั้งฝายขอมูลชุมชนและฝาย ทรัพยากร-logistic นี้สามารถเขียนภาพโยงความสัมพันธในการทํางานรวมกันไดเปนภาพที่ 7 ภาพที่ 7 กระบวนการทํางานรวมกันระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ดานการสื่อสาร สําหรับการสื่อสารภายในศูนยที่มีนองๆอาสาสมัครที่คอยวิ่งไปวิ่งมา เขียนแปะ เขียนแปะ และชวยประจํา Echolink เปลี่ยนกะชวยงานสื่อสารสูชุมชนแลว เรายังมีการสื่อสารสาธารณะ ไปสูภายนอกวาสถานการณพื้นที่ปลายทางและภารกิจที่ทางศูนยไดทําในแตละวันนั้นมีอะไรลุลวงและยัง ตองสานตอไปอีกใหคนภายนอกไดรับรูการทํางานและชองทางที่จะเขามามีสวนรวมได จุดนี้เปนสิ่งที่เรา ออกแบบไววาอยากจะใหมีการสื่อสารสูภายนอกที่ชัดเจน ฉับไวและตอเนื่อง แตเราก็ทํางานไดเต็มที่ เพียงเทานี้จริงๆ เพราะกําลังคนของเราเองก็ไมเพียงพอที่จะรับมือกับหนางานซึ่งประสานเขามาสิบทิศ
  • 14. 13 อยูแลว ชวงแรกเราจึงแทบจะไมสามารถสื่อสารสาธารณะออกไปสูภายนอกไดเลยวา เราไดสงความ ชวยเหลือไปใหใคร ที่ใด และ จํานวนเทาไรไดบาง ทําใหเราตองใชเวลาในการทําความเขาใจคนนอก และอาสาสมัครที่เขามาใหมอยูพอสมควร ครั้งตอไปถามีอาสาที่มาชวยดานการสื่อสารสาธารณะได โดยตรงนี่การทํางานของเราคงจะราบรื่นไดมากขึ้น สําหรับกระบวนการสื่อสารภายใน อยางที่เลาไปในขางตนวามีนองๆอาสาสมัครเขามาชวยทํา ขอมูลขึ้นบอรดแสดงความตองการในแตละพื้นที่พรอมกับสถานะความชวยเหลือใหทุกฝายไดทราบ ขอมูลทั่วกันแลว ยังมีการสื่อสารภายในระหวางฝายที่ตองทํางานตอเนื่องกัน คือ เมื่อฝายขอมูล-ชุมชน ไดแจงตอฝายทรัพยากรวาตองการของสิ่งใดจํานวนเทาไรเรียบรอยแลว ฝายทรัพยากรซึ่งแทบจะเปน รางเดียวกับฝาย logistic ก็จะประสานการขนสงตอและเช็คซ้ําวาปลายทางไดรับของเปนที่เรียบรอย แลวสื่อสารกลับ ฝายสื่อสารซึ่งทราบความคืบหนาของแตละฝายก็จะทําหนาที่คลายดาวเทียมกระจาย ขาวตอซึ่งเขียนแทบดวยรูปภาพไดดังนี้ ภาพที่ 7 ลําดับขั้นการสื่อสารระหวางฝายขอมูลชุมชนและฝายทรัพยากร-logistic ซึ่งแนวทางในการปรับปรุงการทํางานของฝายสื่อสาร คือ นอกจากจะมีคนที่ดูแลอุปกรณ IT- support และวิทยุสื่อสารที่ใช Echolink ประสานกับทางชุมชนปลายทางแลว ยังควรจะมีฝายสื่อที่ทํา หนาที่ชัดเจนอยางนอยหนึ่งคน ที่ทําหนาที่ประชาสัมพันธ Information ทําหนาที่เขียนขาว press ขาว ถึงการประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสา ไมควรเอาไปรวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะที่จริงมันคนละเรื่องกันและคนที่ทํางานก็ควรจะโฟกัสและลงมือ เรื่องใดเรื่องหนึ่งใหชัด ถึงจะไดทํางานใหสุด ในขณะที่ฝายขอมูลซึ่งทําหนาที่วิชาการ เตือนภัย ดูฝน หรือปรึกษาเรื่องเฉพาะทางก็ควรตองมีคนที่มาทําหนาที่ที่ชัดเจน นอกจากนั้นการถอดบทเรียนองคกร ทุกฝายทั้งหมดก็ควรจะทําไปพรอมกันๆ ระหวางทํางานไปในตัว
  • 15. 14 ดานการบริหารและดานอาสาสมัคร แมวาจะไมคอยมีใครกลาวถึง แตทั้งสองสวนนี้ แทจริง เปนกําลังหลักในการทํางานเลยทีเดียว เราโชคดีที่มีผูใหญที่ชวยตัดสินใจโฟกัสภาพรวมและเปนที่ ปรึกษาที่ดีกับอาสาสมัครที่มาชวยงาน ระบบยังมีคนที่มีประสบการณในการจัดการอาสาสมัครที่มองเห็น ภาพรวมทั้งหมดและรูขอมูลทุกฝายวาใครขาดแรงที่จะเขาไปชวยดานไหน และชวย recruit skill ของ อาสา ใชเวลาและทําความรูจักแตละคน ซึ่งเราก็ยังเจอปญหาเดิม คือ เราดูแลเคาไดไมทั่วถึง มีเวลา เรียนรูกันนอยเกินไป เลยรูจักอะไรจากเคาไมไดมาก ตองทํางานดวยกันไปสักพักถึงจะมองเห็นทักษะ ออกมาจากสถานการณ ซึ่งพวกเอามักจะแสดงตัวออกมาเอง แลวเราคอยชอนเขาไปเขางาน จากการสรุปยอย รอยเรียง Dynamic ความเปลี่ยนแปลงทั้ง 3 ชวงที่กลาวมาคงจะพอที่จะทําให เห็นบรรยากาศในการทํางานไปบางแลววา ความเปนจริงในการทํางานนั้นคนที่มาทํางานภายใตภาวะ วิกฤติจะตองทําตัวเองใหมีความยืดหยุนสูง สามารถปรับตัวเขากับเงื่อนไขในการทํางานที่เปลี่ยนแปลง อยูเสมอ ผูเขียนคิดวาบทเรียนจากการลองผิดลองถูกในประสบการณที่ผานมาและบทเรียนจากการ ทํางานในครั้งนี้ คงจะชวยฉายภาพโครงรางการทํางานของศูนยที่จะทําหนาที่เปน back office ในภาวะ วิกฤต ใหคนที่จะเขามาเปนอาสาสมัครเดินหนาการทํางานในครั้งตอไป มุงไปขางหนาไดในเสนทางที่ ชัดเจนขึ้นดวยแผนที่จากประสบการณที่เรารอยเรียงไวใหในครั้งนี้แลว
  • 16. 15 บทที่ 2 Part by part กาวยางแตละกาว เลาแบบ Part by part เลาการทํางานของแตละฝาย โครงสรางการทํางาน ในเชิงขอแนะนําการตั้งศูนย เรื่อง หนา ฝายที่ 1 มวลชน - ดานมวลชนสัมพันธ 16 - ดานการสื่อสาร 16 ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic - ดานการจัดหาทรัพยากร 19 - ดาน logistic 20 ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว - ดานสื่อ / การเผยแพรขาว 21 - ดานวิชาการ 21 - การจัดการขอมูลภายในศูนย 21 ฝายที่ 4 อาสาสมัคร - Volunteer recruit 23 ฝายที่ 5 บริหาร - สิ่งที่ตองมีตอนเริ่มศูนย 24 บทสรุปและแนวทางการปรับปรุงโครงสรางศูนยในอนาคต 26
  • 17. 16 ฝายที่ 1 มวลชน หนึ่งเดือนที่ผานมากับงานอาสาสมัครใน ”ศูนยอาสาประชาชนฟนฟูภัยพิบัติ” ระบบการดําเนินงานหลักของศูนยนี้มาจากไอเดียหลักของ อ.ยักษ วิวัฒน ศัลยกําธร คนอื่นมองศูนยนี้อยางไรไมรู แตผูเขียนคิดวามันควรจะ “เปนศูนยที่เกิดขึ้นมาเพื่อไมใหเกิดศูนย” คือ มันควรจะเปนโครงขายที่ทั้งโยงและกระจาย ความชวยเหลือใหปลายทางชวยเหลือตัวเองได โดยระบบมันทํางานดวยตัวของมันเองคือ “ชุมชนทํางานใหชุมชน” ดวยการกระจายขอตอ (node) ประสานความชวยเหลือออกไป การประสานงานในลักษณะในแมงมุมจึงเริ่มขึ้นตั้งแตวันแรกที่มีศูนย โดยศูนยจะเปนตัวแมงมุม สวนทีมคนทํางานชุมชนในพื้น (หนาบาน) ก็เปนไดทั้งใยแมงมุมและเปนขาแมงมุมที่ทําหนาที่โยงความชวยเหลือ ใหแตละที่มองเห็นทรัพยากรหรือกําลังที่จะแบงปนกันได การใชมวลชนสัมพันธและการสื่อสาร จึงเปน 2 สิ่งที่เราใชถักโยง เกี่ยวเอามาเปนเครื่องมือเบิกทางสูการใหความชวยเหลือชุมชนปลายทาง ดานมวลชนสัมพันธ การเขามาของอาสาสมัครคนใตอยาง พี่มณจากระนอง พี่ยาจากตรัง พี่ประยูรจากน้ําเค็ม ซึ่ง เปนแกนนําชาวบานที่มีทักษะในการทํางานเชื่อมโยง เหตุการณนี้เปนจุดสําคัญที่ทําใหศูนยสามารถตอ ติดกับคนที่ทํางานในพื้นที่ได เพราะพี่ๆ ทุกทานมีคุณสมบัติ คือ 1. รูจักสิ่งแวดลอมและวัฒนธรรมของชุมชน 2. มีความเขาใจในบริบทของพื้นที่และมีสายสัมพันธ (Connection) รูจักกับพี่นองในชุมชน เครือขายที่ทํางานดวย 3. เขาใจสภาพการเมืองของทองถิ่น มีคนรูจักที่สามารถสงตอขอมูลความตองการและกระจาย ขาวสารไดอยางรวดเร็ว กลไกของการประสานงานที่มีอยูไมอาจขับเคลื่อนได ถาไมมีคนที่คุณสมบัติเหลานี้เขามาชวยงาน ดานการสื่อสาร ถัดจากมีมวลชนสัมพันธแลว การสื่อสารตามมา การเชื่อมโยงเทคโนโลยีเขากับทองถิ่น ผานการ ใชโทรศัพท social network และวิทยุสื่อสาร เปนอีกปจจัยที่ใชในการดําเนินงาน
  • 18. 17 จากการดําเนินงานในครั้งนี้เราพบวา เทคโนโลยีเปนตัวเรงที่ทําใหความชวยเหลือเขาถึงผูประสบภัย ไดมากขึ้น อยางที่กลาวไปแลวในบทที่ 1 เพื่อใหไดขอมูลที่ถูกตอง จึงตองมีการตรวจสอบขอมูลซ้ําให ตรงกันอยางนอย 2 ใน 3 จากเครื่องมือสื่อสารทั้ง 3 ชนิดที่แจงขอมูลเขามา ซึ่งขอมูลที่ไดรับนั้นมีทั้งการ รองขอความชวยเหลือรายบุคคลจากหนาเว็บ Thaiflood การแจงเหตุของ node จากชุมชน และการสง ขอมูลความชวยเหลือที่ไดรับกลับมายังสวนกลาง สําหรับการประสานงานกับปลายทางนั้นยิ่งอยูในภาวะฉุกเฉิน จํานวนการสงขอมูลเขามาก็จะมี มาก และขอมูลก็จะมีความเปลี่ยนแปลงไปเร็วมาก การสื่อสารทุกสายจึงตองมีการตรวจสอบขอมูลใหมี ความถูกตองอยูเสมอ การทํางานจึงตองเปนระบบ คือ 1. ผูประสานงาน node ปลายทางที่รวบรวมขอมูลประเภทสิ่งของที่ตองการและจํานวนสิ่งของที่ ตองการเปนจํานวนถุงยังชีพหรือจํานวนครัวเรือนไว 2. ผูประสานงาน node ปลายทางแจงขอมูลในขอ 1) แกผูประสานมวลชนที่กรุงเทพพรอมทั้ง ตรวจสอบความถูกตองของขอมูลกับเครือขายในพื้นที่ 3. ประสานมวลชนที่กรุงเทพ สงขอมูลใหกับฝายทรัพยากรใหระดมสิ่งของ และเมื่อไดสิ่งของมา ฝาย logistic ก็จะสงสิ่งที่ตามที่แจงมาในขางตนลงพื้นที่ จากนั้นจึงโทรไปเช็คซ้ําวาไดรับตรงตาม ความตองการหรือไม อยางไร รูปที่ 8 เสนทางการสื่อสารระหวางสวนกลางกับ node และชุมชน
  • 19. 18 นอกจากสื่อสารเพื่อประสานของบริจาคแลว เรายังมีการสื่อสารเพื่อเฝาระวังภัยพิบัติซ้ําที่จะเกิด ตอเนื่องจากฝนที่ตกสะสมตอเนื่อง หลักในการทํางานก็จะเปนแบบเดียวกัน คือ รับสารและเช็คซ้ํา โดย 1. เมื่อนักวิชาการ แจงขอมูลพื้นที่เสี่ยงภัย เชน โคลนถลม หรือ น้ําปาไหลหลาก มายังศูนย ศูนยก็ จะใชวิทยุสื่อสาร ตรวจสอบสถานการณกับเครือขายวา มีความเสี่ยง เชน มีฝนตกตอเนื่องหลาย วันหรือไม น้ําในลําหวยมีความขุนจากตะกอนดินผิดปกติหรือไม พื้นดินเชิงเขามีรอยดินแยก หรือไม 2. หากเครือขายในพื้นที่แจงกลับมาวามีความเสี่ยงดังกลาว ทางศูนยจะขอใหทางเครือขาย ดําเนินการแจงเตือนประชาชนในพื้นที่เสี่ยงภัย 3. ระหวางนั้นจะมีการตรวจสอบซ้ําวา ในพื้นที่มีการแจงเตือนหรือมีการดําเนินการอพยพชาวบาน หรือไม ซึ่งหากเครือขายปลายทางตองการใหเราสนับสนุนเรื่องใด ก็จะมีการแจงกลับมาใน ขั้นตอนนี้ 4. เฝาติดตามผล วาสถานการณเรียบรอยดีหรือไม หลังจากภาวะวิกฤตผานไปแลว ทางชุมชนมี ความตองการอะไรเพิ่มเติม ก็ขอใหทางเครือขายแจงมา สําหรับการสื่อสารเพื่อเตือนภัยนั้น นายอนนต อันติมานนท เสนอสิ่งที่ควรปรับปรุงเพิ่มเติม 3 เรื่อง วา ‐ คําศัพทที่ตองใชตรงกันทุกฝาย เชน ฝนตกระดับ 5 หาของที่ศูนยกับของในพื้นที่ไมมีใครเทากันเลย เพราะฉะนั้น เราควรจะเรียกหนวยที่ใชในการวัดใหเทากัน ‐ ควรมีการวางแนวการสื่อสารลวงหนาวา อะไรควรใชวิทยุสื่อสาร อะไรควรใชโทรศัพท อะไรควรใช อินเตอรเนทเพราะเมื่อตองเช็คเหตุในพื้นที่ฉุกเฉิน มันจะสับสน และทุกขายจะตองมีระบบสื่อสาร สํารองทันที และตองมีหนวยในการประสานงานมากกวาหนึ่งจุดในพื้นที่ ‐ สวนในการบันทึกเหตุ ที่ผานมามีการบันทึกขอมูลไมครบถวน เชน ฝนตกเทาไรปริมาณเทาไร จะ สงผลยังไง ระดับน้ําจุดไหน มันควรจะมีขอมูลที่ถูกตองที่ชวยเทียบเคียงได เรามีภาควิชาการอยู ระดับหนึ่งก็จริง แตถาเราเปนขอมูลที่ทางหนึ่งที่ถูกตองจากที่เคยเกิดขึ้นมาแลวนี่มันจะเทียบเคียงได
  • 20. 19 ฝายที่ 2 ทรัพยากร-logistic หากอยูในภาวะปกติการระดมทรัพยากรคงจะตองทําหนังสือขอความอนุเคราะห แจงจุดประสงค เปาหมาย วิธีการดําเนินงาน เพื่อใหไดความรวมมือมาอยางเปนขั้นตอน แตเพราะความเดือดรอนไมเคยรอใคร และเพราะผูใหเขาใจในภาวะฉุกเฉิน ทําใหเราไดรับความรวมมือจากแหลงทุนเปนจํานวนมาก ซึ่งมาจากความสัมพันธระหวางภาคี โดยเฉพาะภาคธุรกิจ ที่กาวขามเงื่อนไขและขอจํากัดตางๆ ทําใหการสงทรัพยากรตางๆเปนไปดวยความคลองตัว แสดงใหเห็นถึงพลังในภาคประชาชนอยางที่เกิดขึ้นในชวงที่ผานมา ดานการจัดหาทรัพยากร กระบวนการระดมทรัพยากรหลักๆที่เกิดขึ้นในศูนยมาจากการใชความสัมพันธสวนบุคคล ระหวางภาคีเครือขายอาสาสมัครแตละคน จากทุนทางสังคมในความเชื่อใจและความไววางใจที่มีตอกัน นําเอาสิ่งที่แตละคนมีโยงไปใหความชวยเหลือสูชุมชนปลายทาง เปนความสัมพันธในรูปแบบใหมที่ใช ทุนทางสังคมซึ่งเปนทั้งกาวในการเชื่อมโยงความชวยเหลือเขาไปถึงกัน และเปนทั้งเกียรที่ขับเคลี่อนการ ทํางานใหคลองตัวกาวขามกฏเกณฑที่สรางขั้นตอนตางๆกั้นไวไปดวยพรอมๆกัน ภาพที่ 9 ภาพแสดงทุนทางสังคมที่ใชในการโยงความชวยเหลือในภาวะภัยพิบัติ
  • 21. 20 ดาน logistic กระบวนการขนสง หรือ logistic นั้นประกอบดวย 2 สวนหลักๆ คือ 1) การประสานผูบริจาคใน การขนของจากแหลงทรัพยากรจากโกดังหรือคลังตางๆ ไมวาจะเปนกรุงเทพ อยุธยา ไปยังจุดจัดการ (รวบรวม) ของบริจาคที่สนามบินหรือขนสงก็แลวแต 2) การแพ็คของบริจาคตามความตองการในพื้นที่ แลวนับจํานวนใหตรงกับความตองการในพื้นที่แลวสงตอไปยัง node ปลายทาง ขอมูลความตองการความชวยเหลือที่ node ปลายทางจะเปนตัวกําหนดการระดมทรัพยาการ วาตองการของประเภทไหน จํานวนเทาไร ซึ่งจากการขนสงของ เราพบวาสิ่งที่มีการสงลงไปมากที่สุด การ คือ อาหาร ทั้งขาวสารและปลากระปอง รองลงมา คือ ยาสามัญประจําบาน ซึ่งกระบวนการขนสง จากแหลงหนึ่งไปยังอีกแหลงหนึ่งเปนดังนี้ 1. เริ่มจากผูประสานงานมวลชน โทรแจงยอดรวมความตองการความชวยเหลือในแตละ node จังหวัด มาที่ฝายทรัพยากร 2. ฝายทรัพยากรจะประสานการขนสงสิ่งของจากคลังหรือโกดังตางๆ ลงไปยังจุดขนสงของฝงกรุงเทพ 3. ณ จุดขนสงของฝงกรุงเทพ เมื่ออยูภาวะในเรงดวน เราไดใชการขนสงโดยเครื่องบินเปนหลัก จนเมื่อ ภาวะเรงดวนผานไปก็จะกลับมาใชรถบรรทุกตามปกติ ซึ่งการจัดลําดับความชวยเหลือใหกอน-หลัง นั้น ผูประสานงานจะ recheck กับผูประสานงานวาสถานการณในพื้นที่เปลี่ยนแปลงไปหรือไม มี ความชวยเหลือเขาไปแลวแคไหน จํานวนความตองการยังคงเทาเดิมหรือไม 4. เมื่อ node ปลายทางไดรับของ ก็จะมีการจัดหารถบบรรทุกขนสงของไปแจกจายตามชุมชนตอไป ภาพที่ 9 การขนสงของบริจาคในภาวะฉุกเฉิน
  • 22. 21 ฝายที่ 3 ขอมูล-ขาว การสื่อสารขอมูลและขาวตางๆ ในระยะเริ่มตนการทํางานนั้นมีขอจํากัดหลายประการ เพราะเราขาดอาสาสมัครที่มีทักษะและประสบการณดานสื่อ และยังขาดคนที่จะคอยโฟกัสขอมูลทั้งดานวิชาการและการ press ขาว เพื่อที่จะสื่อสารขอมูลภายในไปสูภายนอก ใหรับรูวาสิ่งที่เรากําลังทําคืออะไร ดังนั้น ในการทํางานครั้งหนา เราควรจะแบงเปนการสื่อสารภายในศูนย สื่อสารชุมชน สื่อสารสาธารณะ โดยที่แตและสวนจะตองมีอาสาสมัครที่รับผิดชอบและสงตองานกันอยางตอเนื่อง ดานสื่อ / การเผยแพรขาว การประชาสัมพันธและ press ขาว ประสานงานกระจายขาวระดมของ ระดมอาสาเปนกิจกรรมที่ เพิ่งลงตัวหลังวันที่ 8 ของการดําเนินงาน ซึ่งงานภาวะฉุกเฉินไดผานไป จากการดําเนินงาน เราพบวา ไมควรเอาในสวนนี้ไปทําหนาที่รวมกับการกรองขอมูลชุมชน หรือ การติดตามขอมูลสภาพอากาศ เพราะ ที่จริงมันคนละเรื่องกันและเปนการแบกภาระเยอะเกินไป ทําใหทํางานไดไมมีประสิทธิภาพเทาที่ควร ดานวิชาการ ขอมูลทางอุตุนิยมวิทยา เชน ปริมาณน้ําฝน ความเร็วลม และความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นกับชุมชน ทั้งน้ําหลากและโคลนถลมเปนInformation ที่เราประเมิน ตรวจสอบ และแจงเตือนชุมชน ถาตรงนี้มีคน ของพื้นที่เองเลยการประเมินและประสานเรื่องตางๆ ก็จะแมนยํามาขึ้น สําหรับการทํางานที่ผานมา อาสาสมัครในศูนยจะไมไดเปนคนทําขอมูลเชิงรุกดานความเสี่ยงจากภัยพิบัติเอง แตทางศูนยจะไดรับ ความชวยเหลือจาก นักวิชาการทั้งดร.รอยล จิตรดอน ผูอํานวยการสถาบันสารสนเทศทรัพยากรน้ําและ การเกษตร และคุณไกลกอง ไวทยการ หัวหนาฝายสงเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มูลนิธิ กองทุนไทย ไดสงประมวลผลและแจงเตือนใหเราแจงเตือนชุมชนอีกที การจัดการขอมูลภายในศูนย การจัดการขอมูลภายในศูนย เริ่มจากภายในหองยังมีการหอยปายบอกชื่อฝายไวเหนือหัว เพื่อใหสะดวกกับอาสาสมัครที่เขามาใหมจะไดรูวาฝายไหนอยูตรงไหนของหอง จะไดไปประสานงานถูก ซึ่งเมื่องานเขามาเราจะใชกระดาษ Notepad เขียนขอความ 1 แผน ตอ 1 เรื่อง เพื่อสะดวกตอการมอง หา เชน เรื่องที่แจงเขามา 1 เคส ก็เขียน 1 เรื่องนั้น ลงบนกระดาษ 1 แผน หรือมีผูที่ประสงคจะบริจาค
  • 23. 22 เขามา 1 ราย เราก็จะบันทึกไวบนกระดาษ 1 แผนเชนกัน แลวกระดาษเหลานี้ก็จะถูกแปะอยูบนบอรด หรือผนังหองแบงตามหมวดหมูของภารกิจ เชน วันแรกที่โดนน้ําหลาก เรามีบอรด 2 บอรดที่อยูคูกันคือ บอรดแจงขอความชวยเหลือ และ บอรดแหลงของหนวยกูภัย สวนวันที่ 2 บอรด 2 บอรดที่ตามมาคูกัน คือ บอรดความตองการของบริจาค(need) และ บอรดแหลงผูใหของบริจาค(Give) วันที่ 3-4 มีบอรดผู ประสาน node แตละจังหวัด รวมถึงการอัพเดทรายการใหความชวยเหลือและความตองการที่ยังรอคอย นอกจากนั้นยังมีการแปะบันทึกการประชุมรายวันที่ถอดบทเรียนรายวันเอาไวใหเห็นความคืบหนาดวย รูปที่ 11 บรรยากาศและการจัดการขอมูลในศูนยโดยใช notepad สําหรับนักจัดการมืออาชีพอาจจะมีขอสงสัยวาทําไมเราไมใชฐานขอมูลในคอมพิวเตอรหรือใช server แชรขอมูลกัน ผูเขียนขอแจงวา เหตุผลที่เราใชการสื่อสารขอมูลภายในดวย hard copy อยาง บอรดหรือกระดาษนี้ ก็เพราะชวงแรกๆ เราขาดคนที่จะทํางาน It support ทั้งการติดตั้งคอมพิวเตอร ปริ๊นเตอร เซ็ทวง LAN แตเรายังขาดสิ่งที่ตองการมากที่สุด คือ intranet ที่จะใชเก็บขอมูลและแชรขอมูล ตรงกลางใหเห็นไดทั่วกัน ซึ่งเราเคยขอความเรื่องนี้จากองคกรแหงหนึ่งไปแลว แตเคาก็ไมสามารถจะ ใหบริการเราใชได เพราะติดปญหาเรื่องลิขสิทธ เราจึงไดสื่อสารกันแบบ manual กันทั่วทั้งหอง ซึ่งนั่นก็ ทําใหการทํางานของเรามีสีสันและมีความเปนมนุษยไปอีกแบบ