SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  44
Télécharger pour lire hors ligne
Par
เอ
rtnership
อกสา
การต
p 
ารปร
ติดตั้
ระกอ
ตั้งจาน
อบกา
นดา
ารอบ
วเทีย
บรม
ยม
 
 
 
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	2	
 
คํานํา
 
เอกสารประการการอบรมการติดตั้งจานดาวเทียมฉบับนี้จัดทําโดยทีมงานแซทเทลไลท์
ทูยู เพื่อประโยชน์ต่อผู้เข้าอบรมจะได้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น โดยเนื้อหาบางส่วนทีมงานได้นํา
บทความที่มีผู้เผยแพร่มาดัดแปลง เพื่อให้เนื้อหามีความถูกต้องและสอดคล้องกับการอบรม
รวมทั้งรูปภาพที่นํามาประกอบกับบทความ ด้วยวิธีการเพียง 3 ขั้นตอนที่ทีมงานนํามาประยุกต์
ทําให้ผู้เข้าอบรมสามารถติดตั้งจานดาวเทียมได้อย่างง่ายดายและทํางานได้จริงกับดาวเทียมทุก
ดวง
ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งที่เอกสารฉบับนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่ทําให้ผู้ที่อบรมเข้าใจในเนื้อหา
และเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด เป็นช่างและผู้ประกอบการที่มีความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงทั้ง
ภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ มองภาพครบทุกด้าน ไม่เป็นเพียงช่างแบบครูพักลักจํา สามารถเป็นผู้
ถ่ายทอดด้วยหลักการที่ถูกต้อง
แซทเทลไลท์ ทูยู
แซทเ
 
ทลไลท์ ทูยู	
ร
วันพ
รายก
(แ
พุธ เว
C
คว
าร S
แซท
วลา 2
CAT
วามถี่
ทีมงา
SATE
เทลไ
20.0
CHA
ถี่ 382
าน
ELL
ไลท์
0 น.
ANN
24 v
ITE
ทูยู)
– 21
NEL
2222
E 2U
1.00
2
หน้า	3
น.
3
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	4	
 
ภาคเช้า
- ทฤษฏีดาวเทียม
ภาคบ่าย
- แยกสถานีลงมือปฏิบัติ
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	5	
 
ทําไมต้องรู้ทฤษฏีดาวเทียม
- รู้เขารู้เรารบ 100 ครั้ง ชนะ 100 ครั้ง
หลายคนที่สามารถติดตั้งจานดาวเทียมได้ อาจจะเห็นช่างคนอื่นทําก็ทําตามแล้วเจอสัญญาณก็เข้าใจว่าตนเองก็
ทําได้ แต่ในความเป็นจริงกรณีที่ไปต่างพื้นที่ ไม่มีจุดอ้างอิง ไม่มีตัวอย่างให้ดูก็ทําไม่ได้เพราะไม่รู้หลักการที่
ถูกต้อง 
- ประหยัดเวลาในการติดตั้ง
ไม่ต้องลองผิดลองถูกในการหาสัญญาณเมื่อรู้หลักการแล้วไม่ต้องใช้เวลา 
- รู้ว่าอะไรควรทํา อะไรไม่ควรทํา
บางดาวเทียมพื้นที่ให้บริการมาไม่ถึงบ้านหรือที่เรียกว่า Footprint เมื่อรู้แล้วก็ไม่ต้องเสียเวลาไปปรับรับ หรือ
บางดาวเทียมแกนขั้วโพราไลน์ไม่ได้ส่งมาแบบแนวนอนและแนวตั้งอย่าง YAMAL202  ก็ต้องปรับอุปกรณ์รับ
สัญญาณให้ถูกต้อง 
- เป็นผู้ถ่ายทอดที่ดี
ไม่คาดหวังผู้เข้าอบรมเป็นเพียงแค่ช่างติดจานดาวเทียม แต่ต้องงานให้เป็นผู้ที่จะนําองค์ความรู้เหล่านี้ไปต่อยอด
ไม่ว่าจะพัฒนาอุปกรณ์ใหม่ๆ หรือถ่ายทอดให้บุคลกรท่านอื่นๆต่อไป 
 
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	6	
 
ควรรู้อะไรบ้าง
- ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม
- ทรานสปอนเดอร์ (Transponder)
- การส่งสัญญาณแบบ KU-Band และ C-Band
- ฟุตปริ้นต์ (FootPrint)
- ลักษณะของจานรับสัญญาณดาวเทียม
- หัวรับสัญญาณ (LNB)
- การใช้งานเข็มทิศและ Angel วัดมุม
- เครื่องรับสัญญาณ ( Receiver)
- สายนําสัญญาณ
- การกําหนดพื้นที่การติดตั้ง
แซทเ
 
ไฮน์ริช
พลังง
ตอนแ
ชักชว
ค้นพบ
ไม่ใช่ค
ทลไลท์ ทูยู	
เริ่มจากกา
ช รูดอล์ฟ เฮิรต
านที่ใช้งานได้จ
แรกเฮิรตซ์ตั้งใจ
วนจากวิทยาลัย
บบางสิ่งที่มีควา
คลื่นเสียง
ป
ารค้นพบคลื่นแม
ตซ์ (Heinrich R
จริง
จอยากจะเป็นวิ
ยเบอร์ลินให้ร่วม
ามสําคัญมากน
ประวัติค
ม่เหล็กไฟฟ้ า โด
udolf Hertz) นั
เจมส์
ศวะกร แต่แล้ว
มงานวิจัยเกี่ยวก
นั่นคือ คลื่นวิทย
ไฮน์ริช รูดอ
ความเป็น
ดย เจมส์ แม็กซ
นักวิทยาศาสตร์
แม็กซ์เวลล์ (Ja
วก็หันมาสนใจท
กับคลื่นแม่เหล็
ยุ การทดลองข
ล์ฟ เฮิรตซ์ (He
 
 
นมาดาว
ซ์เวลล์ (James C
ร์ชาวเยอรมันเป็
ames C. Maxwell)
ทางด้านฟิสิกส์
ล็กไฟฟ้ า ทําให้
ของเฮิรตซ์ได้พิส
einrich Rudolf
วเทียม
C. Maxwell) เมื่อ
ป็นผู้ทดสอบว่า
)
์ ปี ค.ศ. 1885
อีก 2 ปีต่อมา ค
สูจน์ว่า คลื่นวิท
Hertz)  
สามร้อยกว่าปี
คลื่นแม่เหล็กไฟ
5 (พ.ศ. 2428) เ
ค.ศ. 1887 (พ.
ทยุเป็นคลื่นแม่
หน้า	7
มาแล้ว ต่อมา
ฟฟ้ า เป็น
เฮิรตซ์ได้รับ
ศ. 2430) ได้
เหล็กไฟฟ้ า
7
แซทเ
 
เฮิรต
เป็นห
มีควา
การให
 
 
 
หน่วย
10 เฮิ
100 เ
1000
1,000
1000
1,000
ทลไลท์ ทูยู	
ตซ์ (Hertz คํา
หน่วยวัดของค่า
ามถี่เท่ากับ 70
ห้เกียรติกับเขาน
ยวัดเฮิรตซ์ 
ฮรตซ์
เฮิรตซ์
เฮิรตซ์
0,000 เฮิรตซ์
,000,000 เฮิรต
0,000,000,000
าย่อคือ Hz)
ความถี่ โดย 1
ครั้งต่อ 1 วินาที
นั้นเอง 
= 1 เ
= 1 เ
= 1 กิ
= 1 เ
ตซ์ = 1
0 เฮิรตซ์ = 1
Hz คือความถี่ท
ที ซึ่งคําว่า He
เดคาเฮิรตซ์ ห
เฮกโตเฮิรตซ์ ห
กิโลเฮิรตซ์ ห
เมกะเฮิรตซ์ ห
กิกะเฮิรตซ์ ห ื
เทราเฮิรตซ์ ห ื
ที่เท่ากับ 1 ครั้ง
rtz ก็มาจากชื่อ
หรือ 101
Hz มี
หรือ 102
Hz มี
หรือ 103
Hz มี
หรือ 106
Hz มี
หรือ 109
Hz มี
รือ 1012
Hz มี
ง ต่อวินาที (1/s
อของ ไฮน์ริช รูด
มีหน่วยเป็น d
มีหน่วยเป็น h
มีหน่วนเป็น k
มีหน่วยเป็น M
มีหน่วยเป็น G
มีหน่วยเป็น T
s) หรือ : 1 Hz =
ดอล์ฟ เฮิรตซ์ (H
daHz
hHz
kHz
MHz
GHz
THz
= 1/S ดังนั้น 7
Heinrich Rudo
 
หน้า	8
0 Hz หมายถึง
olf Hertz) เป็น
8
แซทเ
 
ลัก
เช่นเ
• เดิน
• สาม
• สาม
• สาม
• สาม
• สาม
การ
สารค
ตั้งแต่
"WIRE
สัญญ
ในรูป
ดาวเที
Geos
โลก ซึ
รอบพ
การเค
ทลไลท์ ทูยู	
ษณะขอ
ดียวกับลักษณ
นทางเป็นเส้นตร
มารถหักเหได้ (
มารถสะท้อนได้
มารถแตกกระจ
มารถถูกลดทอน
มารถถูกลดทอน
รถือกําเ
ผู้ริเริ่มให้แ
ดีวิทยาศาสตร์
ต่ปี ค.ศ. 1945 ห
ELESS WORL
ญาณขึ้นไปลอย
แบบของภาคพื
ทียม " โดยดาว
stationary Orb
ซึ่งวงโคจรนี้จะต้
พอดี ดังนั้นเมื่อ
คลื่อนที่อยู่ตลอ
องคลื่นวิ
ณะทั่วไปของค
รง
Refract)
ด้ (Reflect)
จายได้ (Diffrac
นเนื่องจากฝน
นเนื่องจากชั้นบ
นิดดาวเ
แนวคิดการสื่อส
์ผู้มีชื่อเสียงในป
หรือตรงกับ พ.ศ
LD" ฉบับเดือนต
ในอวกาศ เพื่อ
พื้นดินสู่อวกาศ
เทียมนั้นจะลอ
bit " ซึ่งดาวเทีย
ต้องทําให้ดาวเที
เรามองไปยังดา
ดเวลา
ทยุไมโค
คลื่น คลื่นวิทยุ
t)
(Attenuate)
บรรยากาศ
เทียม
ารดาวเทียม" อ
ปลายคริสต์ศตว
ศ. 2488 โดยเขี
ตุลาคม ปี ค.ศ.
ใช้ในการส่งสัญ
และจากอวกา
ยอยู่ในอวกาศ
มจะลอยอยู่เหนื
ทียมนั้น โคจรด้
าวเทียม จึงทําใ
อา
ครเวฟ
ยุไมโครเวฟจะ
อาเธอร์ ซี คลาร์
วรรษที่ 20 เขา
ขียนบทความเรื่
. 1945 ซึ่งในบท
ญญาณข่าวสาร
ศกลับเข้ามาสู่ภ
โคจรรอบโลก
นือเส้นศูนย์สูต
ด้วยความเร็วเท่
ให้เป็นภาพลวง
เธอร์ ซี คลาร์ก (A
ะมีลักษณะดังต
ร์ก " (ARTHUR
ได้สร้างจินตนา
อง " EXTRA T
ทความได้กล่าว
รต่างๆ เพื่อใช้ใน
ภาคพื้นดินอีกค
ในลักษณะการ
ร ที่ระดับความ
่ากับที่โลกนั้นห
งตาซึ่งมองเห็นว
ARTHUR C. CL
ต่อไปนี้
R C. CLARKE)
าการของการสื่อ
ERRESTRIAL
วถึงว่า " ถ้ามนุษ
นการสื่อสารระ
ครั้งหนึ่ง โดยเรีย
รโคจรเป็นแบบ
มสูงประมาณ 3
หมุนรอบตัวเอง
ว่า ดาวเทียมนั้น
LARKE)
) เป็นนักเขียนน
อสารดาวเทียม
L RELAYS" ในนิ
ษย์ชาติเรานําเอ
ะหว่างจุดหนึ่งกั
ยกสถานีทวนสั
บวงกลม ที่เรียก
35,786 กิโลเมต
เท่ากับ 24 ชั่ว
นั้นลอยอยู่กับที่
หน้า	9
นวนิยายและ
มให้เราได้รู้
นิตยสาร
อาสถานีทวน
กับอีกจุดหนึ่ง
สัญญาณนี้ว่า "
ว่า "
ตร วัดจากพื้น
โมง หรือหนึ่ง
แต่จริงแล้วมี
9
แซทเ
 
ได้อย่
สื่อสา
ทลไลท์ ทูยู	
แนวคิดนี้เอ
างกว้างขวาง แ
ารภาคพื้นดินอื่น
องที่ทําให้ส่งสัญ
แต่มีการลงทุนที
นๆ ซึ่งทําให้สา
ญญาณรายการ
ที่ค่อนข้างตํ่าเพ
มารถส่งสัญญา
รโทรทัศน์ฯและ
พราะไม่จําเป็นต้
าณมายังลูกค้า
ะวิทยุได้อย่างมี
ต้องสร้างสถานี
าโดยตรงอย่างที
ประสิทธิภาพสู
ทวนสัญญาน (
ที่เรียกกันว่า DT
สูงมาก และครอ
(Repeater) มา
TH (Direct To
หน้า	10
อบคลุมพื้นที่
ากเหมือนการ
Home )
0
แซทเ
 
นอ
การนํ
มหาส
โคจรเ
ทําไ
ล
หากเร
ละเอีย
-
-
ทลไลท์ ทูยู	
อกจากนี้นายอ
นาเอาสถานีทวน
สมุทรแอตแลนติ
เหนือเส้นศูนย์สู
ไมดาวเทีย
ลองหลับตาจินต
ราขว้างลูกเทนนิ
ยด ก็สามารถบ
- แนวเส้นตร
- แนวดิ่งที่ถู
าเธอร์ ซี. คลาค
นสัญญาณที่เรีย
ติก, มหาสมุทร
สูตร ที่มีชื่อเรียก
ยมจึงสาม
ตนาการดูว่าเรา
นิสไปข้างหน้า
อกได้ว่าลูกเทน
รงตามแรงที่ขว้
กกระทําโดยแร
ค ยังให้แนวคิดไ
ยกว่าดาวเทียม
แปซิฟิก และมห
กตามสัญญานา
ารถลอยค
ากําลังยืนอยู่บน
จะสังเกตได้ว่า
นนิสนั้นมีการเค
ว้างออกไป
รงดึงดูดของโล
ไว้ว่า โลกจะทํา
ม ไปลอยอยู่ในอ
หาสมุทรอินเดีย
ามว่า Clarke O
ค้างอยู่ในอ
นยอดเขาสูง ( ป
าลูกเทนนิสนั้น
คลื่อนที่อยู่ 2 แน
ลก (กฎของ ไอแ
าการสื่อสารผ่า
อวกาศเหนือมห
ย ซึ่งดาวเทียมท
Orbit หรือเรียก
อวกาศได้
ระมาณ 35,876
จะตกลงสู่พื้นโ
นว คือ
แซค นิวตัน)
นดาวเทียม โด
หาสมุทรทั้งสาม
ทั้ง 3 จุดนี้จะต้
เป็นไทยว่า " ด
ด้
6 ก.ม.) ซึ่งอยู่เห
โลกในแนวโค้ง
ยทั่วโลกได้นั้นจ
มมหาสมุทรหลั
ต้องลอยและโค
ดาวเทียมค้างฟ้ า
หนือชั้นบรรยาก
ซึ่งหากพิจารณ
หน้า	11
จําเป็นต้องมี
ลักๆ คือ
จรอยู่ในวง
า "
กาศของโลก
ณาอย่าง
1
แซทเ
 
หากเร
นั้นจะ
ไมล์ต่
การแก
เทนนิ
เทนนิ
40,80
จากท
คิดเป็น
โคจร
ทลไลท์ ทูยู	
ราขว้างลูกเทนนิ
ะไกลออกไปตา
ต่อชั่วโมง) จะทํ
กว่งเชือกที่ผูกติ
นิสสามารถเคลื่อ
นิสและถ้าเชือกข
0 กิโลเมตรต่อ
ฤษฎีดังกล่าวส่
นการวิ่งจากกรุ
รอบโลกได้
นิสไปข้างหน้าใ
ามความเร็วที่เพิ่
ําให้ลูกเทนนิส
ติดกับลูกเทนนิส
อนที่เป็นวงกลม
ขาดลูกเทนนิสที
ชั่วโมง นั่นก็คือ
สงผลให้ลูกเทนน
รงเทพฯ ถึงสระ
ให้เร็วขึ้นด้วยค
พิ่มขึ้น ฉะนั้นถ้า
ไม่ตกลงสู่พื้นโ
สเป็นวงกลมรอ
มได้ เนื่องจากลู
ที่ผูกติดอยู่กับเชื
อความเร็วที่ลูก
นิสสามารถโคจ
ะบุรีด้วยเวลาที่น้
ความเร็วที่มากก
าหากเราขว้างลู
โลก แต่ลูกเทน
อบตัวเรา จะเห็น
ลูกเทนนิสได้ผูก
ชือกก็จะหลุดออ
เทนนิสสามารถ
จรรอบโลกได้
น้อยกว่า 13 วิน
กว่าครั้งแรก ก็จ
กเทนนิสด้วยค
นิสจะวิ่งไปตาม
นว่าลูกเทนนิสน
กติดกับเชือกเป ี
อกไป เช่นเดียว
ถเอาชนะแรงดึ
หรือใน 1 วินา
นาที และนี่คือค
ะพบว่าตําแหน่
วามเร็ว 28,000
มแนวโค้งของผิ
นั้นเคลื่อนที่เป็น
รียบได้กับแรงดึ
วกับการขว้างลูก
งดูดของโลกได
ทีลูกเทนนิสจะ
วามเร็วที่จะทําใ
น่งที่ลูกเทนนิสจ
0 กิโลเมตรต่อชั
ผิวโลกแทนหรื
นวงกลม และก
ดึงดูดของโลกที
กเทนนิสที่มีคว
ด้นั่นเอง
ะวิ่งไปได้ไกลถึ
ให้วัตถุสามารถ
หน้า	12
จะตกลงสู่พื้น
ชั่วโมง (17,000
อเราอาจนึกถึง
การที่ลูก
ที่กระทําต่อลูก
วามเร็วมากกว่า
ึง 8 กิโลเมตร
ถลอยอยู่ในวง
2
แซทเ
 
ดาว
โคจรใ
20.00
ทีเดีย
ปี พ.ศ
ทลไลท์ ทูยู	
วเทียมด
ในปี พ.ศ.
ในอวกาศในระ
05 MHz และ 4
ว
ศ. 2501 ประเท
ดวงแรก
2500 ประเทศ
ะดับตํ่า แล้วส่งข้
40.005 MHz ซึ่
ทศสหรัฐอเมริก
ก
สหภาพโซเวียต
ข้อมูลเกี่ยวกับค
งถือว่าเป็นก้าว
า ได้ส่งดาวเทีย
เอ
ต (รัสเซีย) เป็นช
ความหนาแน่น
วแรกแห่งการพั
สปุตนิค
ยมชื่อว่า เอ็กซ์พ
อ็กซ์พลอเรอร์1 (
ชาติแรกที่ส่งดา
และอุณภูมิของ
ัฒนาเทคโนโลยี
1(Sputnik 1)
พลอเรอร์1 (Exp
(Explorer I)
าวเทียมชื่อว่า "
งบรรยากาศชั้น
ยีทางดาวอวกา
plorer I) ได้สํา
" สปุตนิค 1" (S
นสูงกลับมาสู่โล
าศ และดาวเทีย
เร็จเป็นประเทศ
หน้า	13
Sputnik 1) ไป
ลก ด้วยความถี่
ยมของโลก
ศที่ 2
3
แซทเ
 
มาถึง
แต่ยัง
ดวงนี้
ต่อมา
Geos
ช่องสั
หนึ่งข
หลังจ
INTE
ภายใ
ใช้ทั้งง
49 เมื
คอมพิ
ทลไลท์ ทูยู	
ในปี พ.ศ. 250
งไม่อยู่ในวงโคจ
น้ถือว่าเป็นดาวเ
าอีก 3 ปี คือปี พ
stationary ซึ่งถื
ัญญาณการถ่า
ของมหาสมุทรแ
จากที่ดาวเทียม
LSAT : Interna
ใต้ชื่อของอินเทล
งานการให้บริก
ประเทศไท
มื่อ พ.ศ. 2509ปี
พิวเตอร์แอนด์ค
05 ประเทศสหรั
จรที่เรียกว่า Ge
เทียมดวงแรกข
พ.ศ. 2508 ได้มี
ถือว่าเป็นดาวเที
ายทอด สัญญา
แอตแลนติก ผ่า
เออร์ลี่เบิร์ด ปร
ational Teleco
ลแซท (INTELS
การภายในประเ
ทยเข้าร่วมเป็นส
ปี พ.ศ. 2539 ป
คอมมูนิเคชั่น เป
รัฐอเมริกา ได้ส่ง
eostationary โด
องโลกที่ใช้ในก
มีการส่งดาวเทีย
ทียมที่อยู่ในวงโ
าณเกี่ยวกับโทร
นดาวเทียมเพื่อ
ระสบความสําเ ็
ommunication
SAT) โดยมีหมา
เทศ และระหว่า
สมาชิกองค์การ
ประเทศไทยมีด
ป็นผู้ได้รับสัมป
งดาวเทียมชื่อว
ดยใช้การควบค
การสื่อสารอย่าง
เทลสตาร์ 1(Te
ยมที่ชื่อว่า " เออ
คจรแบบค้างฟ้
รทัศน์, เทเล็กซ์,
อส่งไปส่วนอื่นๆ
เออร์ลี่เบริร์ด (E
เร็จแล้ว องค์กา
ns Satellite Org
ายเลขเรียงลําด
างประเทศรวมก
รดาวเทียมเพื่อก
ดาวเทียมเป็นข
ปทาน
ว่า " เทลสตาร์ 1
คุมการโคจรจาก
งแท้จริง และใช้
elstar 1)
อร์ลี่เบริร์ด " (E
า และใช้ในเชิง
, ข่าวสารต่างๆ
ๆ ของประเทศ
arly Bird)
รดาวเทียมเพื่อ
ganization ) ก็
ดับก่อนหลังกัน
กันไป
การสื่อสารโทรค
องตัวเองชื่อว่าไ
1" (Telstar 1) ขึ
กสถานีภาคพื้น
ช้ส่งรายการโทร
arly Bird) ขึ้นไ
งพาณิชย์เป็นดา
รวมทั้งรายการ
อการสื่อสารโทร
ก็ได้ส่งดาวเทียม
น โดยโครจรอยู่ใ
คมระหว่างประ
ไทยคม ( Thaic
ขึ้นไปโคจรรอบ
นดินที่อยู่บนโลก
รทัศน์รวมลงมา
ไปโครจรในวงโ
าวแรกอย่างแท้
รโทรทัศน์ ที่รับ
รคมระหว่างปร
มขึ้นสู่วงโจรอีก
ในวงโคจร Geo
ะเทศ (INTELSA
com ) ซึ่งบริษัท
หน้า	14
โลกเป็นวงรี
ก ดาวเทียม
าด้วย
คจร
ท้จริง โดยมี
มาจากด้าน
ระเทศ (
หลายดวง
ostationary มี
AT) ลําดับที่
ทชินวัตร
4
แซทเ
 
หลั
ส่งสูง
ให้กํา
รับจะ
ดาวเที
เดอร์ใ
Down
ช่อ
เพื่อใช้
มากก
หรือส
(Verti
จํากัด
แนวตั
ทลไลท์ ทูยู	
ลักการทํ
ในระบบกา
ผ่านจานสายอ
ลังสูง ส่งผ่านจ
ะทําการขยายสัญ
ทียมนั้นอยู่ใกล้
ให้มทํางานในช
nlink 4 GHz ซึ
องสัญญ
ดาวเทียมท
ช้กับการสื่อสาร
กว่า เพื่อใช้ในงา
สามารถรับ - ส่ง
สัญญาณค
ical) และขั้วทา
ดให้ได้ช่องสัญญ
ตั้ง หรือแนวนอน
ทางานขอ
ารสื่อสารดาวเที
ากาศไปยังจาน
จานสายอากาศ
ัญญาณ แล้วดํ
กันมากอาจจะ
ช่วงความถี่ที่ต่า
ซึ่งจะต่างกัน 2
าณของ
ทุกดวงที่ใช้อยู่นี
รลักษณะต่างๆ
านต่างๆ ได้อย่า
งสัญญาณโทรศ
ความถี่ในทุกๆ
างแนวนอน (Ho
ญาณมากขึ้น ใน
น หรือจะรับทั้ง
องดาวเที
ทียมจะมีการทํ
นสายอากาศแล
เป็นสัญญาณข
าเนินกรรมวิธีนํ
ะเกิดการกวนสัญ
างกัน เช่นการใช้
GHz ซึ่งเพียงพ
ดาวเทีย
นี้จะมีช่องสัญญ
กัน ดาวเทียมด
างครบถ้วน โดย
ศัพท์พูดติดต่อพ
ทรานสปอนเด
orizontal) เพื่อใ
นการรับสัญญา
2 แนวก็ได้ ซึ่ง
ทียม
างานง่ายๆ ดังนี
ละเครื่องรับบน
ขาลง (Downlin
นําข้อมูลต่างๆ ไ
ญญาณกันได้จึ
ช้งานในย่านคว
พอที่ลดปัญหาด
ยม (Tran
ญาณซึ่งเรียกว่า
ดวงหนึ่งๆ สามา
ยแต่ละช่องสาม
พร้อมกันได้ เป็น
อร์จะมีการจัดข
ให้เหมือนกับก
าณที่สถานีภาค
ดาวเทียมจํานว
นี้สถานีภาคพื้น
นดาวเทียม ทําก
nk) มายังจานส
ไปใช้งาน เนื่อง
จึงมีการออกอุป
วามถี่ C-Band
ดังกล่าว
nsponde
า ทรายสปอนเด
ารถจะมีทรายส
มารถใช้ถ่ายทอ
นจํานวนหลาย
ขั้วของคลื่น (Po
ารขยายช่องสัญ
คพื้นดินนั้น สาม
วนมาก จะมีทร
้นดินจะส่งสัญญ
การขยายสัญญ
สายอากาศรับข
งจากอุปกรณ์รับ
กรณ์ภาคส่งแล
จะใช้ความถี่ U
er)
ดอร์ (Transpon
สปอนเดอร์ได้ม
อดสัญญาณโท
พันคู่สาย
olarization) เอ
ญญาณ จากย่า
มารถแยกรับได้
รานสปอนเดอร์
ญาณขาขึ้น (U
ญาณแปลงความ
ของสถานีภาคพื
ับและส่งสัญญ
ละภาครับในทร
Uplink 6 GHz
nder) ซึ่งมีหลา
มากถึง 24 ช่อง
รทัศน์ได้มากก
อาไว้ให้มีทั้งขั้วท
านความถี่ที่มีจํ
ด้ด้วยตนเองว่าจ
ร์ที่รับ – ส่งสัญญ
หน้า	15
plink) กําลัง
มถี่ แล้วขยาย
พื้นดิน สถานี
าณใน
รานสปอน
z และความถี่
ายๆรูปแบบ
หรืออาจจะ
ว่าหนึ่งช่อง
ทางแนวตั้ง
านวนอัน
จะรับทาง
ญาณทาง
5
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	16	
 
แนวตั้งและแนวนอนอย่างละ 12 ทรานสปอนเดอร์ และมีความถี่ซ้อนกันอยู่ แต่จะไม่เกิดการรบกวนของสัญญาณ
(Interference) กันเอง
ทรานสปอนเดอร์ของดาวเทียมจะทํางานที่ความถี่สูงกว่าความถี่ที่ใช้ในสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน เนื่องจาก
ความถี่ที่ใช้นี้อยู่ในย่าน SHF (Super High Frequency ) จึงไม่มีผลกระทบจากสภาพของอากาศ หรือการเกิดซันสปอต
(Sunspot) เท่าใดนัก ทําให้การสื่อสารด้วยดาวเทียมนี้มีความเชื่อถือได้ตลอด 24 ชั่วโมง ความถี่ส่วนใหญ่ที่ใช้ในกิจการ
ส่งสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม เพื่อส่งตรงไปยังที่พักอาศัย ในย่านเอเซีย จะใช้ความถี่ย่านตั้งแต่ 3.7 - 4.2 GHz หรือ
มักจะเรียกว่า " ความถี่ย่าน C " (C-Band) และจะใช้ความถี่ที่สูงกว่า คือตั้งแต่ 10.95 - 12.75 GHz ในการส่งสัญญาณ
รายการโทรทัศน์ต่างๆ ลงมาสู่ที่พักอาศัยของประชาชนโดยตรง ช่วงความถี่ดังกล่าวจะเรียกว่า " ความถี่ย่าน KU-Band
ย่านความถี่สัญญาณ C-Band , Ku-Band
ITU (International Telecommunication Union) ได้จัดสรรและควบคุมการใช้ความถี่ในกิจการต่างๆ ทั้งใน
ประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อไม่ให้เกิดการทับซ้อน และรบกวนกัน ความถี่ที่ใช้กับดาวเทียมจะใช้หลักการเรียกชื่อ
คล้ายกับที่ใช้ในเรดาร์ และไมโครเวฟ แต่ความถี่ใช้งานอาจแตกต่างกันบ้างตามภารกิจ และวิธีการใช้ความถี่ เช่น L-band
C-band KU-band X-band และ KA –band เป็นต้น ความถี่ที่นิยมใช้กันมาก คือ ย่าน C-band สัญญาณย่านขาขึ้น
(Uplink) ใช้ย่านความถี่ 6 GHz และสัญญาณขาลง (Downlink) ใช้ย่านความถี่ 4 GHz จึงนิยมเรียกว่า 6/4 GHz ความถี่
C-band นี้อาจรบกวนกับการสื่อสารผ่านคลื่นไมโครเวฟบนภาคพื้นดินได้ง่าย อีกความถี่ที่ใช้งานมาก คือ KU-bandใช้
ความถี่ขาขึ้น 12- 14 GHz และความถี่ขาลง 11 – 18 GHz โดยประมาณ ซึ่งนิยมใช้ในกิจการส่งสัญญาณโทรทัศน์
โดยตรง (Direct Broadcast System: DBS) แต่มีข้อเสียหลัก คือ สัญญาณจะถูกลดทอนกําลังจากเม็ดฝนค่อนข้างมาก
ความถี่ย่าน X –band (8/7 GHz) ใช้ในกิจการทหาร ส่วนความถี่ย่าน KA-band (40/20 GHz) มีแนวโน้มจะนํามาใช้กัน
มากในอนาคต เพื่อแก้ปัญหาความแออัดของความถี่ใช้งาน เช่น โครงการ IP-Star ของบริษัทไทยคม เป็นต้น
ข้อดี-ข้อเสียของระบบ C-Band และ KU-Band
ระบบ KU-Band
ข้อดี มีความเข้มของสัญญาณสูง จึงใช้จานที่มีขนาดเล็ก การติดตั้งจึงง่าย
ข้อเสีย ครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย และมีปัญหาเวลาฝนตก ส่วนใหญ่จะนิยมใช้กับการส่งทีวีบอกรับสมาชิก เช่น True
Vision ของไทย, ASTRO ของมาเลเซีย
ระบบ C-Band
ข้อดี ครอบคลุมพื้นที่ได้เป็นทวีป สามารถส่งสัญญาณข้ามทวีปได้ จึงรับรายการทีวีจากทั่วโลก โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายราย
เดือนได้ และไม่มีข้อจํากัดในเรื่องภูมิอากาศ
แซทเ
 
ข้อเ
ทลไลท์ ทูยู	
เสีย สัญญาณบีบีมกว้างกว่า ทํา
ย่าน
าให้สัญญาณอ
นความถี
อ่อน ดังนั้นเวลา
ถี่ที่ใช้งา
ารับจึงต้องใช้จา
านในดา
านขนาดใหญ่ก
าวเทียม
กว่า การติดตั้งจึ
หน้า	17
จึงยากกว่า
7
แซทเ
 
ฟุต
ฟุตปริ
กัน โด
สํ
ทิศทา
ทลไลท์ ทูยู	
ตปริ้นต์
ริ้นท์ (Foot Prin
ดยสัญญาณที่ส
าหรับสัญญาณ
างไปยังพื้นที่เป้
Footp
nt) คือ ลําของค
ส่งมานั้นจะเข้ม
ณไมโครเวฟที่ส่ง
าหมายได้ โดย
rint
คลื่นสัญญาณด
ที่สุดตรงจุดศูน
งจากดาวเทียม
ยระบบการควบ
ดาวเทียมที่ครอ
นย์กลาง และจะ
มมายังพื้นโลก
บคุมภาคพื้นดิน
บคลุมพื้นโลก
ะค่อยๆจางลงเมื
เรียกว่า บีม(Be
นั่นเอง
ดาวเทียมแต่ละ
มื่อห่างออกมา
eam) เราสามา
ะดวงจะมีฟุตป ิ
เรื่อยๆ
รถที่จะควบคุม
หน้า	18
ริ้นต์แตกต่าง
มให้บีมปรับ
8
แซทเ
 
การรับ
จริงๆแ
YAMA
ทลไลท์ ทูยู	
ระบบการส
บสัญญาณทาง
แล้วยังมีการส่ง
AL201-202
ส่งสัญญาณดา
งภาคพื้นดิน จึง
งสัญญาณแบบ
าวเทียมมี 2 ขั้วส
งต้องมีการตั้งขั้
ขั้ว
บวนซ้ายและวน
ขั้ว
สัญญาณ คือ แ
ั้วคลื่นด้วยการ
วคลื่นแนวนอน (H
ขั้วคลื่นแนวตั้ง
นขวาอีกชนิดหนึ
วคลื่นแบบวนซ้าย
แนวนอน (Horr
ตั้งขั้วคลื่นตัวรับ
Horrizontal)
(Vertical)
นึ่งมีชื่อเรียกว่า
ยและวนขวา
rizontal) และแ
บ
Circular pola
แนวตั้ง (Vertica
arization ที่ใช้ใ
หน้า	19
al) ดังนั้นเมื่อมี
ในดาวเทียม
9
แซทเ
 
ลัก
ของสั
มาจะ
สัญญ
casse
สามา
ทลไลท์ ทูยู	
กษณะขอ
ในการรับสั
ัญญาณจากดา
1 การสะท้
ะกระทบหน้าจา
ญาณจากตัว ref
egrain นั้นปัจจ
ารถรับสัญญาณ
องจานด
สัญญาณทีวีผ่า
าวเทียมที่สะท้อ
ท้อนสัญญาณ แ
านดาวเทียม รูป
flect ก็จะสะท้อ
จุบัน จานดาวเที
ณได้ดีเท่าทีควร
ดาวเทียม
นดาวเทียมนั้น
อนเข้าสู่จานได้
แบบ Cassegra
ปทรง พาราโบล
อนเข้าไปยังตัว
ทียมทีมีการรับส
ม
น เราจะแบ่งประ
สามารถแบ่งอ
จานแบบ
ain จะเห็นได้ว
ล่า ไปยังที่จานก
LNBF อีกที ลัก
สัญญาณเพื่อรั
ะเภทของจานด
ออกเป็นได้ 3 ป
บ Cassegrain
ว่าสัญญาณขาล
ก่อน และสัญญ
ักษณะโครงสร้า
รับชมทีวีบ้านเร
ดาวเทียม ได้ตา
ระเภท
ลงจากดาวเทีย
ญาณก็จะสะท้อน
างหน้าจานที่มีก
านั้นไม่นิยมใช้
ามลักษณะของ
ยม ( down link
น เข้าไปยังตัว
การสะท้อนสัญ
หรือไม่มีใช้เลย
หน้า	20
การสะท้อน
k ) ที่ถูกส่งลง
reflect และ
ญญาณ แบบ
ย เนื่องจาก ไม่
0
แซทเ
 
down
ตัว LN
ปัจจุบ
ออกแ
มาจา
และแ
ทลไลท์ ทูยู	
2 การสะท้
n link ) ที่ถูกส่ง
NBF ทีติดตั้งอย
บันเป็นที่นิยมเป็
แบบหน้าจานที่ม
ากหน้าจากตรง
แบบ ku-band
ท้อนสัญญาณ แ
ลงมาจะกระทบ
ยู่ที่จุดรวมโฟกัส
ป็นอย่างมาก สํ
มีการรับสัญญ
ๆ ไม่ต้องติดตั้ง
เพื่อให้รับดาวเที
แบบ Prime Fo
บหน้าจานดาว
ส ลักษณะการ
าหรับการออก
าณสะท้อนแบบ
งตัว reflectให้ยุ
ทียมเพิ่มได้หลา
จานแบบ
cus จะเห็นได้
เทียม รูปทรง พ
รออกโครงสร้าง
แบบจานดาวเที
บ prime focus
ยุ่งยาก และยัง
ายดวงอีกด้วย
Prime Focus
ด้ว่าสัญญาณขา
พาราโบล่า แล
งหน้าจานที่มีกา
ทียมเพื่อรับชมที
s เนื่องจาก สาม
สามารถ โมดิฟ
เช่น จานรับ D
าลงจากดาวเทีย
ะสัญญาณดาว
ารสะท้อนสัญญ
ทีวี free2air บ้
มารถรับสัญญา
ฟาย เพื่อติดตั้ง ห
UO , TRIO , แ
ยม หรือสัญญา
วเทียม ก็จะสะท
ญาณ แบบ prim
บ้านเราเองก็เช่น
าณได้ดี รับสัญ
หัว LNBF ทั้งแ
และ4หัว
หน้า	21
าณดาวลิงค์ (
ท้อนเข้าไปยัง
me focus นั้น
นกันนิยมการ
ญญาณสะท้อน
แบบ c-band
1
แซทเ
 
มาจะ
LNBF
ku-ba
โดยเฉ
สัญญ
ข้อจํา
เช่นกัน
ช่วง k
ทลไลท์ ทูยู	
3 การสะท้
ะกระทบหน้าจา
F อีกที ลักษณ
and และการรั
ฉพาะอย่างยิ่ง
ญาณแบบ offse
ากัดนั้นดาวเทีย
ัน คือสามารถอ
ku-band ข้อเสี
ท้อนสัญญาณ แ
านดาวเทียม รู
ณะโครงสร้างหน้
รับสัญญาณที่มี
เคเบิ้ลทีวีที่เป็น
et fucus ก็เช่น
มแต่ละดวงจะ
ออกแบบให้มีจ
สียก็มีเช่นกัน คือ
แบบ offset foc
รปทรง พาราโบ
น้าจานที่มีการส
มีการสะท้อนแบ
นระบบ ku-ban
นกัน สามารถ โ
ต้องไม่อยู่ห่างก
านที่ขนาดเล็ก
อการloss ของ
จานแบบ offse
cus จะเห็นได้
บล่า ในลักษณ
สะท้อนสัญญาณ
บบoffset focus
nd อย่างเช่น tr
โมดิฟาย ติดหั
กันมาก ข้อดีข
และเหมาะกัน
สัญญาณที่ผ่าน
et focus
ว่าสัญญาณขา
ณะการสะท้อนแ
ณ แบบ offset
s นั้น ก็จะนิยม
ue vision thai
ัว LBNFเพิ่มเพื
ของการสัญญา
นสัญญาณขาลง
นชั้นบรรยากาศ
าลงจากดาวเทีย
แบบ เฉียงๆ
focus นั้นปัจ
มใช้เพื่อรับสัญญ
land และ ast
พื่อให้สามารถรับ
ณ ลักษณะ of
ง ( down link
ศนั้นมีมากกว่า
ยม ( down lin
และก็จะสะท้
จจุบัน เป็นที่นิย
ญาณทีวีผ่านดา
tro cable mala
ับดาวได้หลายด
ffset fucus นั้
) ที่มีความถี่สู
หน้า	22
nk ) ที่ถูกส่งลง
อนเข้าไปยังตัว
ยมจากในระบบ
าวเทียมเช่นกัน
aysia , การรับ
ดวงเช่นกัน แต่
นั้นมีหลายอย่าง
งๆ เช่นความถี่
2	
ง
ว
บ
น
บ
ต่
ง
ถี่
แซทเ
 
ทั่วไป
มากโ
ย่าน
จะสะ
2
คว
ความ
ดา (λ
แกนน
สําหรั
เปลี่ย
ความ
ด้วยค
สามา
ทลไลท์ ทูยู	
แต่ส่วนใหญ
นั้น ช่างติดตั้งง
1.จานC-B
ครงสร้างนิยมท
KU-Band รูตะ
ะท้อนสัญญาณ
2.จานKU-Ban
วามยาวค
มยาวคลื่น คือระ
λ).
นอนในแผนภูมิ
รับคลื่นเสียง ปริ
นแปลงก็คือสน
มยาวคลื่น λ สัม
ความถี่ ถ้าเราพิ
ารถเขียนได้เป็น
ญ่แล้วในวงกา
งานดาวเทียม ม
Band ( ซีแบนด์
ทํามาจากอลูมิเ
ะแกรงจะต้องมี
ณได้ดี
d ( เคยู-แบนด์
คลื่นคือ
ะยะทางระหว่า
แทนระยะทาง
ริมาณที่กําลังเป
นามไฟฟ้ าและส
มพันธ์แบบผกผั
พิจารณาคลื่นแม
น
รดาวเทียมบ้าน
มักจะแบ่งประเ
ด์ ) ลักษณะเป็
เนียม รูตะแกรง
ขนาดไม่เกิน 2
์ ) ลักษณะเป็น
อะไร
งส่วนที่ซํ้ากันข
และแกนตั้งแท
ปลี่ยนแปลงก็คื
สนามแม่เหล็ก)
ผันกับความถี่ขอ
ม่เหล็กไฟฟ้ าใน
นเรา การติดตั้ง
เภทจานดาวเที
ป็นจานโปร่งๆ ต
งจะต้องมีขนาด
2 มิลลิเมตร แล
นจานทึบใบเล็ก
ของคลื่น สัญลัก
ทนค่า ณ เวลาห
อแรงดันอากาศ
) ซึ่งเป็นฟังก์ชัน
องคลื่นนั้น โดย
นสุญญากาศ ค
ั้งจานเพื่อการรับ
ยม ออกไปตาม
ตะแกงดํา เส้นผ
ดเล็กกว่า 1/12
ละ C-Band รูต
เส้นผ่าศูนย์ปร
กษณ์แทนความ
หนึ่ง ของปริมาณ
ศ หรือสําหรับค
นของระยะทาง
ยความยาวคลื่น
วามเร็วนั้นก็คือ
บชมทีวีผ่านดา
มลักษณะ ย่าน
ผ่าศูนย์ประมาณ
2 ของความยา
ตะแกรงจะต้องมี
ระมาณ 2ฟุต ถึ
มยาวคลื่นที่ใช้กั
ณหนึ่งซึ่งกําลังเ
คลื่นแม่เหล็กไฟ
นมีค่าเท่ากับคว
อความเร็วแสงน
าวเทียมตามบ้า
ความถี่ที่ใช้งาน
ณ 5ฟุต ถึง 10
าวคลื่น เช่นถ้าใ
มีขนาดไม่เกิน
ถึง 5ฟุต
กันทั่วไปคือ อัก
เปลี่ยนแปลง (
ฟฟ้ า ปริมาณที่กํ
วามเร็วของคลื่น
นั่นเอง ความสัม
หน้า	23
าน ร้านค้า หรือ
น คือ
ฟุต เป็นที่นิยม
ใช้รับสัญญาณ
6 มิลลิเมตรจึง
กษรกรีก แลมบ์
ตัวอย่างเช่น
กําลัง
นนั้นๆ หาร
ัมพันธ์นี้
3	
ม
ณ
ง
์
แซทเ
 
เช่นค
λ =
= 0
ทําให้
ทําให้
สรุปค
- รูตะ
ดังนั้น
เมื่อค
อัตรา
เขียนไ
เมื่อ:
ไม่ว่าค
ทลไลท์ ทูยู	
เมื่อ:
λ = ความ
c = ความ
กิโลเมตรต
f = ความถี
วามถี่ C-Band
300,000/4,00
0.000075 ก.ม
ห้เป็นเมตร 0.00
ห้เป็นเซนติเมตร
ความถี่ C-Band
ะแกรงจะต้องมีข
น 7.5/12 = 0
ลื่นแสง (หรือค
ส่วนเท่ากับดรร
ได้เป็น
λ0 คือควา
คลื่นแสงจะเดิน
มยาวคลื่น
มเร็วแสงในสุญญ
ต่อวินาที)
ถี่ของคลื่น
d 3.7 – 4.2 GH
00,000,000
.
00075x1000 =
ร 0.075x100 =
d มีความยาวค
ขนาดเล็กกว่า 1
0.625 cm
ลื่นแม่เหล็กไฟ
รชนีหักเห n ขอ
ามยาวคลื่นในส
นทางอยู่ในตัวก
ญากาศ ซึ่งมีค่า
Hz
= 0.075 เมตร
= 7.5 cm
คลื่นประมาณ 7
1/12 ของความ
ฟ้ าใดๆ) เดินทา
องตัวกลางนั้น แ
สุญญากาศ
กลางใด เมื่อเรา
าเท่ากับ 299,7
7.5 cm
มยาวคลื่น
างในตัวกลางใ
แต่ความถี่จะยัง
าอ้างถึงความย
792.458 กิโลเม
ดที่ไม่ใช่สุญญา
งคงเท่าเดิม คว
าวคลื่น มักหม
มตรต่อวินาที (ห
ากาศ ความยา
ามยาวคลื่นแส
ายถึงความยาว
หรือประมาณ 3
าวคลื่นจะลดลง
สงในตัวกลางใด
วคลื่นในสุญญ
หน้า	24
300,000
งด้วย
ดๆ สามารถ
ากาศเสมอ
4
แซทเ
 
โคร
การห
ทลไลท์ ทูยู	
รงสร้าง
หาระยะของ
งจานแบ
งจุดโฟกัส
บบพาราโโบลิค
หน้า	255
แซทเ
 
F/
หรือ
จานรั
หรือ 6
แล้วจ
F/D เ
ทลไลท์ ทูยู	
/D หรือ
สําคัญมา
LNB ให้ได้ระ
รับสัญญาณมีเส้
64.008 เซนติเม
จะทําให้ง่ายเวล
เท่ากับ 0.35 ก็ใ
ออัตราส่
กหลายคนไม่
ยะที่ถูกต้อง เ
ส้นผ่าศูนย์กลาง
มตร ทําให้การติ
ลายึดหัว LNB กั
ให้ยึดหัว LNB 
สวนของ
หน้า
เคยรู้และมอง
เช่น
ง 6 ฟุตมีค่าอัต
ติดตั้งและยึดหัว
กับหน้าจานโดย
ตรงขีด 35ก็จะ
งระยะโฟ
จาน (F/
งข้ามไปเพราะ
ตราส่วน F/D เท
ัว LNB  ได้ถูกต้
ยให้ดูที่กระบอก
ะได้ระยะโฟกัสที
ฟกัสต่อ
/D Rati
ะจะนํามาหาจุ
ท่ากับ 0.35 จะมี
ต้อง เมื่อเวลาติ
ก LNB จะมีขีด
ที่ถูกต้องของหน้
เส้นผ่าศู
io) 
ดที่จะใช้กําหน
มีระยะจุดโฟกัส
ดตั้งหัว LNB กั
และตัวเลขบอก
น้าจานใบนั้น 
ศูนย์กลา
นดระยะหัวรับ
ส เท่ากับ 6 x 0
กับจานถ้าเราทร
กระยะอยู่ เช่นก
หน้า	26
างของ
บสัญญาณ
0.35 = 2.1 ฟุต
ราบค่า F/D 
กรณีนี้มีค่า
6	
ต
แซทเ
 
Noise
สัญญ
เช่นแป
ตามส
ทลไลท์ ทูยู	
คืออุปกรณ
e Amplifier อ
ญาณรบกวน (N
ปลงความถี่ย่าน
สายสัญญาณไป
LNB(L
ณ์ขยายสัญญาณ
อยู่ภายใน จะทํ
Noise) ให้มีค่าน
น C‐Band จาก
ปยังเครื่องรับได้
ow Noi
ณรบกวนตํ่า เป็
าหน้าที่รับและ
น้อยที่สุด จากน
ก 3.7 -4.2 GH
ด้ต่อไป 
ise Bloc
ป็นภาคขยายสัญ
ะขยายบสัญญา
นั้นจะทําการส่ง
Hz ให้เหลือ 950
LNB แบบ C
ck down
ัญญาณความถี
าณที่รับมาจาก
งผ่านภาคแปลง
0-1450 MHz ห
C‐Band 
n Conve
ถี่วิทยุ (RF Amp
หน้าจานดาวเที
งความถี่ให้ตํ่าล
หรือ 2050 MH
 
erter)
plifier) ที่มี LN
ทียม และควบค
ลง (Down Co
Hz จึงจะสามาร
หน้า	27
NA : Low 
คุมระดับ
nverter)  
รถส่งผ่านไป
7
แซทเ
 
ทลไลท์ ทูยู	
LNB แบบ
LNB แบบ K
C+KU
U-Band
หน้า	288
แซทเ
 
เข็ม
ทลไลท์ ทูยู	
มทิศ
การใใช้งานเข็ข็มทิศแ
เข็มทิศแบบเล็
เข็มทิศแบบ
ละ Ang
ล็นซาติก
บซิลวา
gel วัดมุมุม
หน้า	299
แซทเ
 
เข็มทิ
อิสระ
หาทิศ
มหาทิ
ด้านห
ใต้ ทิ
มุมที่
แบริ่ง
นิยมใ
และเ
ตัวอัก
Nort
Sout
East
Wes
ทลไลท์ ทูยู	
ทิศ (อังกฤษ:
ะในแนวนอนท
ศทางโดยรอบ
ทิศอื่นได้โดย
หลังเป็นทิศใต
ศตะวันออก
นิยมใช้และเรี
ง (bearing) ซึ
ใช้ในประเทศ
เดนมาร์ก
กษรแยกทิศบ
h คือทิศเห
th คือทิศใต้
t คือทิศตะ
st คือทิศตะ
magnetic c
ทอดตัวในแน
บ เข็มทิศจึงมี
หันหน้าไปทา
ต้ การบอกทิศ
และทิศตะวัน
รียกกันในกา
ซึ่งประเทศไท
ศแถบสแกนดิ
บนเข็มทิศ N,S
นือ
ะวันออก
ะวันตก
เข็มทิ
compass) คือ
นวเหนือ-ใต้ ต
มีปลายชี้ไปทา
างทิศเหนือ ด้
ศทางในแผนที
นตก
รใช้งานเข็มทิ
ยจะนิยมใช้อ
เนเวีย ประเท
S,E,W แทนทิ
ทิศและก
อเครื่องมือสํา
ตามแรงดึงดูด
างทิศเหนือเส
้านขวามือเป็
ที่โดยทั่วไป คื
ทิศจะมีหน่วย
องศา อซิมุส (
ทศในกลุ่มสแ
ทิศ เหนือ ใต้ อ
การหาม
าหรับใช้หาทิศ
ของแม่เหล็ก
สมอ (อักษร N
นทิศตะวันออ
คือการบอกเป็
เป็นองศา อซิ
(azimuth) แบ
กนดิเนเวีย ได
ออก ตก ตาม
มุม
ศทาง มีเข็มแม
โลก และที่หน้
N หรือ น) เมื่อ
อก ด้านซ้ายมื
ปนทิศที่สําคัญ
ซิมุส (azimuth
บบอเมริกา ส
ด้แก่ ราชอาณ
มลําดับ
แม่เหล็กที่แกว่
น้าปัดมีส่วนแ
อทราบทิศเหนื
มือเป็นทิศตะ
ญ 4 ทิศ คือทิศ
h) หรือบางที
ส่วน แบริ่ง (b
ณาจักรสวีเดน
หน้า	30
่งไกวได้
แบ่งสําหรับ
นือแล้วก็ย่อ
วันตก
ศเหนือ ทิศ
ที่ก็เรียกว่า
earing) จะ
น นอร์เวย์
0
แซทเ
 
วิธีใช
1
2
3
4
ทลไลท์ ทูยู	
ช้เข็มทิศ
1. วางเข็มทิศ
2. หมุนกรอบ
ทิศทาง
3. หมุนฐานเข
4. เมื่อลูกศรสี
ทางทิศทา
ศบนฝ่ามือหรือบ
บหน้าปัดของตล
ข็มทิศจนกว่าเข็
สีแดง ( Directi
งนั้น
บนปกสมุดในแ
ลับเข็มทิศ (Com
ข็มแม่เหล็กสีแด
on of travel-a
แนวระดับโดยให
mpass Housin
ดงภายในตลับเ
rrow) ชี้ทิศทา
ห้เข็มแม่เหล็กแ
ng) ให้เลขเลขอ
เข็มทิศชี้ตรงกับ
งไปทางทิศใด
แกว่งไปมาอย่าง
องศาตามที่ต้อง
บตัวอักษร N ทิศ
ก็แสดงว่าดาวเ
งอิสระ
งการอยู่ตรงกับ
ศเหนือ บนกรอ
เทียมที่เราต้องก
หน้า	31
บปลายลูกศรชี้
อบหน้าปัด
การค้นหาอยู่
1
แซทเ
 
ทลไลท์ ทูยู	
เครื่องวัดมุ
เที่ยงตรงสู
องศาจาน ห
หรืออาจเสี
มุม (Angle)แบบ
สง ใต้ฐานของเค
หลังจากการใช้
สียไปเลย
A
บมาตรฐาน ใน
ครื่องวัดมุมมีแม
ช้งานระวัง อย่าว
Angel
กระเปาะเข็มวัด
ม่เหล็กถาวรอยู่
วางใกล้เข็มทิศโ
l วัดมุ
ดใช้นํ้ามันเป็นส
ประโยชน์เพื่อ
โดยเด็ดขาด เพร
มุม
ส่วนประกอบป
ใช้ยึดติดกับโคร
ราะแม่เหล็กจะ
ประคองเข็มวัด
รงสร้างจานดา
ทําให้ เข็มทิศไ
หน้า	32
การวัดมีความ
วเทียมเพื่อวัด
ไม่เที่ยงตรง
2
แซทเ
 
ทลไลท์ ทูยู	
เครื่องวัดมุ
ติดกับโคร
แม่เหล็กจะ
การใช้งาน
ตัววัดชี้ไปย
มุม (Angle)แบบ
งสร้างจานดาว
ะทําให้ เข็มทิศไ
นให้นํา Angel ม
ยังตําแหน่งองศ
บประหยัด ใช้วั
เทียมเพื่อวัดอง
ไม่เที่ยงตรงเช่น
มุมไปติดใต้ฐาน
ศาที่ต้องการ
วัดมุมก้ม ฐานมี
ศาจาน หลังจา
นกัน
นคอจาน หรือ ด้
มีแม่เหล็ก ดูง่าย
กการใช้งานระ
ด้านบนตรงกลา
ยด้วยหน้าปัดให
วัง อย่าวางใกล้
างจาน จากนั้น
หญ่พิเศษ ประโ
ล้เข็มทิศโดยเด็ด
นให้ปรับระดับคื
หน้า	33
โยชน์เพื่อใช้ยึด
ดขาด เพราะ
คอจานให้เข็ม
3
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	34	
 
ตารางมุมส่ายและมุมก้ม กรุงเทพมหานคร
องศา ชื่อดาวเทียม มุมส่าย มุมก้ม
166.0 E Intelsat 8 96 75
146.0 E ABS 5 103 54
138.0 E Telstar 18 107 46
132.0 E Vinasat 1 111 40
115.5 E ChinaSat 6B 131 23
113.0 E Palapa D 136 22
108.2 E Telkom 1 150 18
105.5 E AsiaSat 3S 159 17
100.5 E AsiaSat 5 180 16
95.0 E NSS 6 202 17
91.5 E Measat 3 214 19
90.0 E Yamal 201 218 20
88.0 E ST 1 223 21
78.5 E Thaicom 5 240 30
76.5 E Apstar 2R 242 32
75.0 E ABS 1 244 33
68.5 E Intelsat 20 250 40
49.0 E Yamal 202 259 60
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	35	
 
ตารางมุมส่ายและมุมก้ม Thaicom 5 ทั่วไทย
จังหวัด มุมส่าย มุมก้ม
1.กรุงเทพฯ 240 30
2.กระบี่ 249 25
3.กาญจนบุรี 237 29
4.กาฬสิน 239 34
5.กําแพงเพชร 233 31
6.ขอนแก่น 238 33
7.จันทบุรี 244 31
8.ฉะเชิงเทรา 241 30
9.ชลบุรี 240 30
10.ชัยนาท 236 30
11.ชัยภูมิ 238 32
12.ชุมพร 244 27
13.เชียงราย 229 33
14.เชียงใหม่ 229 31
15.ตรัง 251 26
16.ตราด 244 31
17.ตาก 233 30
18.นครนายก 239 31
19.นครปฐม 239 29
20.นครพนม 238 35
21.นครราชสีมา 240 32
22.นครศรี 249 26
23.นครสวรรค์ 236 31
24.นนทบุรี 239 30
25.นราธิวาส 255 28
26.น่าน 232 33
27.หนองคาย 236 34
28.บุรีรัมย์ 241 33
29.ปทุมธานี 239 30
30.ประจวบฯ 237 29
31.ปราจีนบุรี 240 30
32.ปัตตานี 255 27
33.อยุธยา 240 31
34.พะเยา 230 33
35.พังงา 248 25
36.พัทลุง 252 26
37.พิจิตร 235 31
38.พิษณุโลก 234 31
จังหวัด มุมส่าย มุมก้ม
39.เพชรบุรี 239 28
40.เพชรบูรณ์ 236 32
41.แพร่ 232 33
42.ภูเก็ต 249 25
43.มหาสารคาม 239 34
44.แม่ฮ่องสอน 226 31
45.มุกดาหาร 240 35
46.ยะลา 255 27
47.ยโสธร 241 34
48.ร ้อยเอ็ด 239 34
49.ระนอง 245 26
50.ระยอง 242 30
51.ราชบุรี 239 29
52.ลพบุรี 237 30
53.ลําปาง 230 32
54.ลําพูน 229 32
55.เลย 235 33
56.ศรีสะเกษ 241 34
57.สกลนคร 238 35
58.สงขลา 253 27
59.สตูล 254 26
60.สมุทรปราการ 240 30
61.สมุทรลงคราม 240 30
62.สมุทรสาคร 240 30
63.สระแก ้ว 241 31
64.สระบุรี 238 30
65.สิงห์บุรี 238 30
66.สุโขทัย 232 31
67.สุพรรณบุรี 238 30
68.สุราษฏร์ธานี 247 26
69.สุรินทร์ 241 33
70.หนองบัวลําพู 236 34
71.อ่างทอง 238 30
72.อํานาจเจริญ 240 35
73.อุดรธานี 236 34
74.อุตรดิตถ์ 232 32
75.อุทัยธานี 236 30
76.อุบลราชธานี 242 35
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	36	
 
ตารางความถี่ล่อ
องศา ชื่อดาวเทียม ความถี่
166.0 E Intelsat 8 4060 H 26590 1/2
146.0 E ABS 5 12301 H 25600 3/4
138.0 E Telstar 18 3692 H 9628 3/4
132.0 E Vinasat 1 11008 H 28800 3/4
115.5 E ChinaSat 6B 3840 H 27500 3/4
113.0 E Palapa D 3934 H 6500 3/4
108.2 E Telkom 1 3797 H 3900 3/4
105.5 E AsiaSat 3S 3760 H 26000 7/8
100.5 E AsiaSat 5 3760 H 27500 3/4
95.0 E NSS 6 11635 H 27500 3/4
91.5 E Measat 3a 3705 H 4288 3/4
90.0 E Yamal 201 3645 L 28000 3/4
88.0 E ST 2 3671 H 9256 3/4
78.5 E Thaicom 5 3803 V 4551 3/4
76.5 E Apstar 2R 3747 V 8000 3/4
75.0 E ABS 1 3887 V 7495 3/4
68.5 E Intelsat 20 4054 V 4400 3/4
49.0 E Yamal 202 3743 L 34075 3/4
แซทเ
 
สหภา
เรียกว
ขึ้นที่ก
พานิช
เป็นผู้
สถานี
Thaic
ลองติ
เส้นส
เส้นไพ
ละติจู
อ้างอิ
ใกล้ๆ
ทลไลท์ ทูยู	
าพโทรคมนาคม
ว่า “อินเทลแซท
กรุงวอชิงตัน ดี.
ชย์แห่งโลก INT
จัดการในธุรกิจ
นีภาคพื้นดินกา
com 5 อยู่ที่ตํา
ติจูด (Longitud
มมุติในแนวเหนื
พรม์เมอริเดียนไ
จูดมีเส้นศูนย์สูต
ง ในการประชุม
กรุงลอนดอน ป
มระหว่างประเท
ท” (INTELSAT
ซี. สหรัฐอเมริก
TELSAT ตั้งคณ
จต่าง ๆ ตามนโ
รกําหนดค่าเช่า
าแหน่ง 78.5 อง
de) หรือ เส้นแ
นือใต้ที่เรียกว่า
ไปทางตะวันออ
ตรเป็นเส้นอ้างอิ
มเมอริเดียนนา
ประเทศอังกฤษ
ตําแ
ทศ ( ITU ) ร่วม
: INTERNATI
กา โดยให้ประเท
ณะกรรมการ IN
โยบายของ ICS
าใช้ช่องสัญญา
งศาตะวันออก
แวง เป็นพิกัดที
เส้นไพรม์เมอริ
อก +180 องศา
อิงตามธรรมชา
นาชาติ () เมื่อ
ษเป็นเส้นไพรม์เ
แหน่งดา
มกันจัดตั้งองค์ก
ONAL TELLE
ทศสมาชิกเข้าถื
TERIM COMM
SC ได้แก่ การจั
าณดาวเทียม ก
โดยอ้างอิงจาก
ที่ใช้บอกตําแหน
ริเดียน (Prime
า และไปทางตะ
าติ แต่ลองติจูดไ
ค.ศ. 1884 จึง
เมอริเดียน และ
าวเทียม
การโทรคมนาคม
ECOMMUNICA
ถือหุ้นดําเนินกา
MUNICATION
ัดสร้างดาวเทีย
ารกําหนดตําแห
กเส้นลองติจูด (
น่งบนพื้นโลก โ
Meridian) ลอง
ะวันตก -180 อ
ไม่มี จึงต้องกําห
ได้กําหนดให้เส้
ะเป็นลองติจูด 0
ม
มทางดาวเทียม
ATIONS SATT
ารใช้ดาวเทียมเ
S SATELLITE
มการปล่อยดา
หน่งดาวเทียมเ
Longitude)
ดยวัดไปทางตะ
งติจูดมีหน่วยเป็
งศา ลองติจูดแ
หนดเส้นสมมุติ
ส้นเวลาที่กรีนิซ
0 องศา
มระหว่างประเท
TELLITE ORG
เพื่อกิจการโทร
E COMMITTEE
าวเทียมการกําห
เป็นต้น เช่น ดา
ะวันออก หรือต
ป็นองศา นับจา
แตกต่างจากละ
ติขึ้นมาอีกเส้นห
ซที่ผ่านหมู่บ้านที
หน้า	37
ทศหรือที่
ANIZATION )
คมนาคม
E ( ICSC )
หนดมาตรฐาน
าวเทียม
ตะวันตกจาก
าก 0 องศาที่
ะติจูดตรงที่
หนึ่งสําหรับ
ที่เดียวกัน
7	
)
แซทเ
 
ละติจู
เส้นศู
หรือใ
จะมีส
ทลไลท์ ทูยู	
จูด (Latitude)
นย์สูตร (Equa
ต้ วัดเป็นมุมจา
สภาพภูมิอากาศ
หรือ เส้นรุ้ง เป
ator) ละติจูด มี
ากเส้นศูนย์สูตร
ศ (Climate) แล
ป็นพิกัดที่ใช้บอ
ค่าตั้งแต่ 0 องศ
รที่จนถึงแนวดิ่ง
ละกาลอากาศ
อกตําแหน่งบน
ศาที่เส้นศูนย์สูต
งที่ขั้วโลกเหนือ
(weather) ต่าง
พื้นโลก ซึ่งระบุ
ตรไปจนถึง 90
หรือลงไปจนดิ่
งกัน เช่น แบ่งเป็
ว่าตําแหน่งนั้น
องศาที่บริเวณ
งที่ขั้วโลกใต้) พื
ป็นเขตร้อน เขต
นอยู่ตรงจุดที่ทํา
ณขั้วโลก (เป็น 9
พื้นที่ที่มีพิกัดละ
ตอบอุ่น เขตหน
หน้า	38
ามุมเท่าไรกับ
0 องศาเหนือ
ะติจูดต่างกัน
นาว
8
แซทเ
 
ทลไลท์ ทูยู	 หน้า	399
แซทเ
 
Coax
มันคือ
ดาวเที
1
2
3
4
ทลไลท์ ทูยู	
xial (โคแอคเชีย
อสายชนิดเดียว
ทียม หรืออุปกร
1. Conducto
Covered
ใช้เป็นแกน
ผิวของวัตถ
2. Insulator
3. Wire Brai
สัญญาณร
ถัก เช่น 60
มากก็ยิ่งช่ว
และป้ องกั
4. Jacket (เป
ภายนอกจ
ภายนอกไ
ยล) หรือ “สายแ
วกันนั่นเอง สาย
รณ์คอมพิวเตอ
or (ตัวนําสัญญ
Steel)จะบอกเ
นทองแดงล้วนเ
ถุ
(ฉนวนหุ้ม) ทํ
d Shield (ชิลด
รบกวน และกา
0% 90% 95%
วยในการนําสัญ
ันการกวนของส
ปลือกหุ้มสาย
จะใช้วัสดุที่เป็น
ด้
ส
แกนร่วม” หรือ
ย RG6 ส่วนใหญ
ร์ ส่วนประกอบ
ญาณ) ส่วนใหญ
ป็น % ของทอง
พราะ ราคาทอ
าหน้าที่ป้ องกัน
ด์หรือเส้นถัก)
รกระจายของสั
สูงสุดอยู่ที่ 95%
ญญาณได้ดี แล
สัญญาณจากภ
) ทําหน้าที่หุ้มส
น PE (Polyethy
สายนําสัญ
อ RG (Radio G
ญ่แล้วนิยมใช้ใ
บหลักๆ จะประก
ญ่แล้วจะเป็นเห
งแดงหุ้มหรือบา
องแดงราคาสูง
นสัญญาณรบก
) ส่วนใหญ่ทําจ
สัญญาณออกม
% หรือจํานวนข
ละป้ องกันสัญญ
ภายนอกได้ดี
สายทั้งหมด ถ้า
ylene ) ซึ่งมีคุณ
ญญาณ
Guide) หรือ สา
ในงานด้านกล้อ
กอบไปด้วย
หล็กหุ้มด้วยทอง
างครั้งจะใช้เป็น
และกระแสไฟฟ้
วน จะใช้เป็นโฟ
จากอลูมิเนี่ยมแ
มาภายนอก จะบ
ของเส้นที่ใช้ใน
ญาณรบกวนจา
าใช้ภายในจะทํ
ณสมบัติสามาร
ายนําสัญญาณ
องวงจรปิด สาย
งแดง ถ้าหุ้มด้วย
นทองแดงล้วนไ
ฟ้ าส่วนใหญ่จะไ
ฟม หรือ PE แล้
และทองแดง ป้ อ
บอกเป็น % คือ
การถัก เช่น 11
ากภายนอก ทําใ
ทําด้วย PVC (P
รถป้ องกันนํ้าแล
ณวิทยุ เพื่อป้ อง
ยอากาศทีวี สาย
ยทองแดง CCS
ไปเลย สาเหตุที
ะไหลผ่านตัวนํา
ล้วหุ้มทับด้วยเท
องกันการแพร่ก
อพื้นที่ความหน
12, 120, 124,
ให้เดินได้ในระ
Polyvinylchlor
ละทนแดด สาม
หน้า	40
งกันการสับสน
ยจาน
S (Copper
ที่ส่วนใหญ่ไม่
ที่บริเวณพื้นที่
ทปอลูมิเนียม
กระจายของ
นาแน่นที่ในการ
144 เส้นยิ่ง
ยะที่ไกลขึ้น
ide) ส่วน
มารถใช้
0
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	41	
 
สายนําสัญญาณทุกแบบถูกผลิตตามมาตรฐาน MIL – C -17 ในกิจการทางด้านทหารของสหรัฐอเมริกา และ JIS C 3501
ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งบริษัทผู้ผลิตต่างๆ จะนํามาผลิตสายนําสัญญาณยี่ห้อของตนตามมาตรฐานจําพวกนี้และกําหนด
เบอร์ของสายออกมา ซึ่งจะบอกคุณลักษณะของสายนําสัญญาณ เช่น
มาตรฐาน MIL- C -17
เช่น RG-58 A/U
- RG ย่อมาจาก Radio Guide ก็คือสายนําสัญญาณวิทยุนั่นเอง
- 58 เป็นเบอร์ของสาย อักษรตัวแรก อาจมีหรือไม่มีก็ได้แสดงการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงวัสดุ เช่น เปลือกหุ้ม
จํานวนลวดตัวนํา อิมพีแดนซ์เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย การสูญเสียต่างกันเล็กน้อย
- /U หมายถึง Utility หรือ Universal คือการใช้วานทั่วไป
มาตรฐาน JIS C 3501
เบอร์ของสายนําสัญญาณจะขึ้นต้นด้วยตัวเลข เช่น 3C-2V 5D-FB
ตัวเลขตัวแรก คือ ขนาดเส็นผ่าศูนย์กลางภายนอก โดยประมาณ ของไดอิเล็กทริก
อักษรหลังตัวเลข คือ ค่าอิมพีแดนซ์ C = 75 โอมห์ D = 50 โอมห์
อักษรหลังขีด แสดงวัสดุที่ทําไดอิเล็กทริก F คือ โฟม ถ้าเป็นเลข 2 คือ PE
อักษรตัวสุดท้าย แสดงลักษณะของชิลด์ และเปลือกหุ้มสาย
B = ชิลด์ทองแดง + ชิดล์ อะลูมืเนียม + PVC
E = ชีลด์ทองแดง + PE
L = ชีลด์อะลูมิเนียม + PVC
N = ชิลด์ทองแดง + ไนล่อยถัก
V = ชีลด์ทองแดง + PVC
W = ชิลด์ทองแดงทักสองชั้น + PVC
แซทเ
 
คือกล
คุณส
รองรับ
แบบใ
เครื่อง
ฟรีไม่
ข้อมูล
ทลไลท์ ทูยู	
ล่องรับสัญญาณ
มบัติเป็นหลัก
บระบบ OTA (
ใดได้บ้างเช่น B
งรับสัญญาณส่
ค่าบริการใดๆ
ลผ่านระบบเน็ต
ณดาวเทียม ซึ่ง
เช่น รองรับการ
Over The Air
BissKey, Irdeto
ส่วนใหญ่ในท้อง
ยังมีเครื่องรับที่
ตเวิร์คได้ รวมไป
เครื่องรับ
มีคุณลักษณะที
รถอดรหัสสัญาณ
r) หรือการอัพเด
o, Conax, Viac
งตลาดแบบราค
ที่มีคุณสมบัติที่สู
ปถึงรองรับระบ
บสัญญา
ที่แตกต่างกันไป
ณภาพแบบใด
ดรทข้อมูลจาก
ccess, ฯลฯ
คาถูกจะเป็นชนิ
สูงขึ้นอีก เช่นเสี
บบการการบันทึ
าณ Rece
ป เช่น DVB-S,
ที่นิยมกันมากใ
ดาวเทียมหรือไ
นิด Free To Air
สียบการ์ดดูราย
ทึกข้อมูลหรืออัด
eiver
DVB-S2 การเ
ในตอนนี้คือ M
ไม่ สามารถรอง
r หรือ FTA คือใ
การที่มีค่าบริก
ดรายการไว้ดูย้อ
เลือกซื้อให้คํานึ
Mpeg2, Mpeg
งรับการการเข้า
ใช้รับดูรายการ
การได้ หรือ สาม
อนหลังได้
หน้า	42
นึงถึง
4, H.264
รหัสสัญญาณ
รที่ปล่อยให้ดู
มารถแชร์
2
แซทเ
 
การกํ
ว่ามีสิ่
ถ้าตํา
ปัญห
ทลไลท์ ทูยู	
าหนดพื้นที่ติดต
สิ่งหนึ่งสิ่งใดบด
าแหน่งที่เราจะต
หาได้
ก
ตั้งจานดาวเทีย
บังระหว่างหน้า
ตั้งหน้าจานดาว
การกําห
ยมนั้น เมื่อเราท
าจานกับดาวเที
วเทียมนั้นมีสิ่งกี
หนดพื้น
ทราบมุมส่ายแล
ทียมหรือไม่
กีดขว้างบดบังอ
นที่การติ
ละมุมง้มของหน้
อยู่ให้หลีกเลี่ยง
ติดตั้ง
น้าจานแล้วนั้นใ
เพราะจะทําให้
ให้ทําการมองไป
ห้การรับสัญญา
หน้า	43
ปยังทิศนั้นๆ
ารนั้นเกิด
3
แซทเทลไลท์ ทูยู	 หน้า	44	
 
ภาคผนวก
สามหลักการง่ายๆ ในการติดตั้งจานดาวเทียม
1. ปรับค่า F/D ของ LNB ให้สัมพันธ์กับหน้าจาน
2. ปรับมุมง้ม
3. ปรับมุมส่าย
EL : ELEVETION มุมง้ม
AZ : AZIMUTH มุมส่าย
www.sat2you.com เว็บไซต์แหล่งค้นคว้าเกี่ยวกับจานดาวเทียม
www.facebook.com/satellite2u แฟนเพจรายการแซทเทลไลท์ ทูยู
www.lyngsat.com เว็บไซต์ที่รวบรวมความถี่ดาวเทียมทุกดวง
www.satbeams.com เว็บไซต์ที่รวบรวม Footprint ของดาวเทียมแต่ละดวง
รายการ SATELLITE 2U ออกอากาศทางดาวเทียม Thaicom5 ความถี่ 3824 V 2222 ทุกวันพุธเวลา
20.00-21.00 น. และวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 13.00-14.00 น.
Sun Outage คือ ปรากฎการณ์ที่เกิดจากดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับดาวเทียม และ
จานรับสัญญาณภาคพื้นดาวเทียมสัญญาณรบกวนที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ในขณะที่มีการใช้งานสื่อสาร
ผ่านดาวเทียม ทําให้คุณภาพของสัญญาณที่ได้รับตํ่าลงในช่วงเวลาดังกล่าวแต่ปรากฎการณ์ Sun Outage
จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ เท่านั้น และสามารถพยากรณ์การเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าจึงไม่ค่อยมีผลกระทบต่อ
ผู้ใช้งานดาวเทียมมากเท่าใด ซึ่ง Sun Outage จะเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง ส่วนวันและเวลาที่เกิดขึ้นนั้นขึ้นอยู่กับ
ตําแหน่งของดาวเทียม และจานรับสัญญาณภาคพื้นดิน

Contenu connexe

Tendances

7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาokธวัช บุตรศรี
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.rubtumproject.com
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2oraneehussem
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานBest Naklai
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์Wannarat Kasemsri
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี งานบ้าน 10 ข้อ
แบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี  งานบ้าน 10 ข้อแบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี  งานบ้าน 10 ข้อ
แบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี งานบ้าน 10 ข้อโรงเรียนอนุบาลระนอง
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..Samorn Tara
 
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐานVisaitus Palasak
 

Tendances (20)

7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
7ความรู้ความสามารถเกี่ยวกับวิชาการศึกษาok
 
ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.ตัวอย่างเอกสารปวส.
ตัวอย่างเอกสารปวส.
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
อุปกรณ์เสริมของคอมพิวเตอร์ (Computer Accessories)
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2ใบงาน 3.1 3.2
ใบงาน 3.1 3.2
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์โครงงานสิ่งประดิษฐ์
โครงงานสิ่งประดิษฐ์
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
แบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี งานบ้าน 10 ข้อ
แบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี  งานบ้าน 10 ข้อแบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี  งานบ้าน 10 ข้อ
แบบทดสอบวัดมาตรฐานการงานอาชีพและเทคโนโลยี งานบ้าน 10 ข้อ
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1  เรื่องคำนามใบงานที่ 1  เรื่องคำนาม
ใบงานที่ 1 เรื่องคำนาม
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
1 อิศรญาณภาษิต ok
1 อิศรญาณภาษิต  ok1 อิศรญาณภาษิต  ok
1 อิศรญาณภาษิต ok
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
สคริปต์ Story board-หนังสั้นเพียงเพราะ..
 
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
(Mind map)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 

En vedette

เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศthnaporn999
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศmungmat
 
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่krunum2554
 
All ch 3_may2012_list
All ch 3_may2012_listAll ch 3_may2012_list
All ch 3_may2012_listAndri Rosadi
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนครูทัศรินทร์ บุญพร้อม
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนPalasut
 
Dhammadu listname
Dhammadu listnameDhammadu listname
Dhammadu listnameMahatai
 
Dhammadu name
Dhammadu nameDhammadu name
Dhammadu nameMahatai
 
เงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือเงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือ23250945
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14Aสูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14APak Tangprakob
 
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989Kithchaya Chiang
 
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็กการทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก Vai2eene K
 

En vedette (20)

เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศเข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
เข็มทิศและการใช้เข็มทิศ
 
Cband
CbandCband
Cband
 
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศชุดที่ 13แผนที่  เข็มทิศ
ชุดที่ 13แผนที่ เข็มทิศ
 
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่วิชาเข็มทิศ   ลูกเสือกองที่ 1  หมู่ที่
วิชาเข็มทิศ ลูกเสือกองที่ 1 หมู่ที่
 
All ch 3_may2012_list
All ch 3_may2012_listAll ch 3_may2012_list
All ch 3_may2012_list
 
Asia sat 7
Asia sat 7Asia sat 7
Asia sat 7
 
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนนคู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
คู่มือการใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน นักเรีนน
 
คค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การผูกเงื่อน
การผูกเงื่อนการผูกเงื่อน
การผูกเงื่อน
 
Dhammadu listname
Dhammadu listnameDhammadu listname
Dhammadu listname
 
Dhammadu name
Dhammadu nameDhammadu name
Dhammadu name
 
เงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือเงื่อนลูกเสือ
เงื่อนลูกเสือ
 
เงื่อน
เงื่อนเงื่อน
เงื่อน
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14Aสูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
สูตร(ไม่)ลับฉบับใหม่ การตลาดมัดใจสาวออฟฟิศ : Office Lady Marketing by CMMU-MK14A
 
มยผ.1301 50
มยผ.1301 50มยผ.1301 50
มยผ.1301 50
 
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
ระบบผู้เชี่ยวชาญการทำงานบริษัทรับเหมา 55102010989
 
project with grovement
project with grovement project with grovement
project with grovement
 
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็กการทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
การทดสอบแรงดัดคานเหล็ก
 

Similaire à เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)

ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้องKru_sawang
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า Faris Singhasena
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียมNasri Sulaiman
 

Similaire à เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556) (8)

Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
ประวัติกล้อง
ประวัติกล้องประวัติกล้อง
ประวัติกล้อง
 
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
Start
StartStart
Start
 
ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า ทรงกลมฟ้า
ทรงกลมฟ้า
 
Sakanan as ser
Sakanan as serSakanan as ser
Sakanan as ser
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
ดาวเทียม
ดาวเทียมดาวเทียม
ดาวเทียม
 

Plus de sornblog2u

เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดsornblog2u
 
สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)
สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)
สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)sornblog2u
 
7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groups
7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groups7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groups
7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groupssornblog2u
 
5. Wing Energy
5. Wing Energy5. Wing Energy
5. Wing Energysornblog2u
 
4. Passive Cooling
4. Passive Cooling4. Passive Cooling
4. Passive Coolingsornblog2u
 
3. Charcoal : Small Scale Production and Use
3. Charcoal : Small Scale Production and Use3. Charcoal : Small Scale Production and Use
3. Charcoal : Small Scale Production and Usesornblog2u
 
2. Heat and Electricity from Solar Energy
2. Heat and Electricity from Solar Energy2. Heat and Electricity from Solar Energy
2. Heat and Electricity from Solar Energysornblog2u
 
1. Gas Producer Engine System from Biomass
1. Gas Producer Engine System from Biomass1. Gas Producer Engine System from Biomass
1. Gas Producer Engine System from Biomasssornblog2u
 
6. Biogas : Design and Construction Small Digester
6. Biogas : Design and Construction Small Digester6. Biogas : Design and Construction Small Digester
6. Biogas : Design and Construction Small Digestersornblog2u
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsornblog2u
 
คัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็น
คัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็นคัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็น
คัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็นsornblog2u
 
The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)
The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)
The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)sornblog2u
 
หลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช
หลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชหลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช
หลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชsornblog2u
 
คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)
คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)
คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)sornblog2u
 
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2sornblog2u
 
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1sornblog2u
 
Money101 giftversion
Money101 giftversionMoney101 giftversion
Money101 giftversionsornblog2u
 
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11sornblog2u
 
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10sornblog2u
 

Plus de sornblog2u (20)

เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ดเทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
เทคนิคและวิธีการเพาะเลี้ยงเห็ด
 
สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)
สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)
สามก๊ก ฉบับ การเมือง(ฉบับตัดตอน)
 
7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groups
7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groups7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groups
7. The Sustainable Energy Handbook for NGOs and Local Groups
 
5. Wing Energy
5. Wing Energy5. Wing Energy
5. Wing Energy
 
4. Passive Cooling
4. Passive Cooling4. Passive Cooling
4. Passive Cooling
 
3. Charcoal : Small Scale Production and Use
3. Charcoal : Small Scale Production and Use3. Charcoal : Small Scale Production and Use
3. Charcoal : Small Scale Production and Use
 
2. Heat and Electricity from Solar Energy
2. Heat and Electricity from Solar Energy2. Heat and Electricity from Solar Energy
2. Heat and Electricity from Solar Energy
 
1. Gas Producer Engine System from Biomass
1. Gas Producer Engine System from Biomass1. Gas Producer Engine System from Biomass
1. Gas Producer Engine System from Biomass
 
6. Biogas : Design and Construction Small Digester
6. Biogas : Design and Construction Small Digester6. Biogas : Design and Construction Small Digester
6. Biogas : Design and Construction Small Digester
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
คัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็น
คัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็นคัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็น
คัมภีร์เปลี่ยนเส้นเอ็น
 
The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)
The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)
The coming collapse of thailand (สู่จุดจบ)
 
หลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช
หลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืชหลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช
หลักการและวิธีการใช้สะเดา ป้องกันและกำจัดแมลงศัตรูพืช
 
คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)
คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)
คู่มือพึ่งตนเอง (Self-Sufficient Book)
 
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน2
 
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1
คู่มือการสร้างอุปกรณ์ เทคโนโลยีพลังงานทดแทน ตอน1
 
Money101 giftversion
Money101 giftversionMoney101 giftversion
Money101 giftversion
 
New species
New speciesNew species
New species
 
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม11
 
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10
มังกรหยกภาค2 อินทรีจ้าวยุทธจักร เล่ม10
 

เอกสารประกอบการอบรมติดตั้งจานดาวเทียม (Sat2u 2556)

  • 2. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 2   คํานํา   เอกสารประการการอบรมการติดตั้งจานดาวเทียมฉบับนี้จัดทําโดยทีมงานแซทเทลไลท์ ทูยู เพื่อประโยชน์ต่อผู้เข้าอบรมจะได้เข้าใจเนื้อหาได้ง่ายขึ้น โดยเนื้อหาบางส่วนทีมงานได้นํา บทความที่มีผู้เผยแพร่มาดัดแปลง เพื่อให้เนื้อหามีความถูกต้องและสอดคล้องกับการอบรม รวมทั้งรูปภาพที่นํามาประกอบกับบทความ ด้วยวิธีการเพียง 3 ขั้นตอนที่ทีมงานนํามาประยุกต์ ทําให้ผู้เข้าอบรมสามารถติดตั้งจานดาวเทียมได้อย่างง่ายดายและทํางานได้จริงกับดาวเทียมทุก ดวง ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งที่เอกสารฉบับนี้จะเป็นส่วนหนึ่งที่ทําให้ผู้ที่อบรมเข้าใจในเนื้อหา และเกิดประโยชน์อย่างสูงสุด เป็นช่างและผู้ประกอบการที่มีความรู้ความเข้าใจอย่างแท้จริงทั้ง ภาคทฤษฏีและภาคปฏิบัติ มองภาพครบทุกด้าน ไม่เป็นเพียงช่างแบบครูพักลักจํา สามารถเป็นผู้ ถ่ายทอดด้วยหลักการที่ถูกต้อง แซทเทลไลท์ ทูยู
  • 3. แซทเ   ทลไลท์ ทูยู ร วันพ รายก (แ พุธ เว C คว าร S แซท วลา 2 CAT วามถี่ ทีมงา SATE เทลไ 20.0 CHA ถี่ 382 าน ELL ไลท์ 0 น. ANN 24 v ITE ทูยู) – 21 NEL 2222 E 2U 1.00 2 หน้า 3 น. 3
  • 4. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 4   ภาคเช้า - ทฤษฏีดาวเทียม ภาคบ่าย - แยกสถานีลงมือปฏิบัติ
  • 5. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 5   ทําไมต้องรู้ทฤษฏีดาวเทียม - รู้เขารู้เรารบ 100 ครั้ง ชนะ 100 ครั้ง หลายคนที่สามารถติดตั้งจานดาวเทียมได้ อาจจะเห็นช่างคนอื่นทําก็ทําตามแล้วเจอสัญญาณก็เข้าใจว่าตนเองก็ ทําได้ แต่ในความเป็นจริงกรณีที่ไปต่างพื้นที่ ไม่มีจุดอ้างอิง ไม่มีตัวอย่างให้ดูก็ทําไม่ได้เพราะไม่รู้หลักการที่ ถูกต้อง  - ประหยัดเวลาในการติดตั้ง ไม่ต้องลองผิดลองถูกในการหาสัญญาณเมื่อรู้หลักการแล้วไม่ต้องใช้เวลา  - รู้ว่าอะไรควรทํา อะไรไม่ควรทํา บางดาวเทียมพื้นที่ให้บริการมาไม่ถึงบ้านหรือที่เรียกว่า Footprint เมื่อรู้แล้วก็ไม่ต้องเสียเวลาไปปรับรับ หรือ บางดาวเทียมแกนขั้วโพราไลน์ไม่ได้ส่งมาแบบแนวนอนและแนวตั้งอย่าง YAMAL202  ก็ต้องปรับอุปกรณ์รับ สัญญาณให้ถูกต้อง  - เป็นผู้ถ่ายทอดที่ดี ไม่คาดหวังผู้เข้าอบรมเป็นเพียงแค่ช่างติดจานดาวเทียม แต่ต้องงานให้เป็นผู้ที่จะนําองค์ความรู้เหล่านี้ไปต่อยอด ไม่ว่าจะพัฒนาอุปกรณ์ใหม่ๆ หรือถ่ายทอดให้บุคลกรท่านอื่นๆต่อไป   
  • 6. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 6   ควรรู้อะไรบ้าง - ประวัติความเป็นมาของดาวเทียม - ทรานสปอนเดอร์ (Transponder) - การส่งสัญญาณแบบ KU-Band และ C-Band - ฟุตปริ้นต์ (FootPrint) - ลักษณะของจานรับสัญญาณดาวเทียม - หัวรับสัญญาณ (LNB) - การใช้งานเข็มทิศและ Angel วัดมุม - เครื่องรับสัญญาณ ( Receiver) - สายนําสัญญาณ - การกําหนดพื้นที่การติดตั้ง
  • 7. แซทเ   ไฮน์ริช พลังง ตอนแ ชักชว ค้นพบ ไม่ใช่ค ทลไลท์ ทูยู เริ่มจากกา ช รูดอล์ฟ เฮิรต านที่ใช้งานได้จ แรกเฮิรตซ์ตั้งใจ วนจากวิทยาลัย บบางสิ่งที่มีควา คลื่นเสียง ป ารค้นพบคลื่นแม ตซ์ (Heinrich R จริง จอยากจะเป็นวิ ยเบอร์ลินให้ร่วม ามสําคัญมากน ประวัติค ม่เหล็กไฟฟ้ า โด udolf Hertz) นั เจมส์ ศวะกร แต่แล้ว มงานวิจัยเกี่ยวก นั่นคือ คลื่นวิทย ไฮน์ริช รูดอ ความเป็น ดย เจมส์ แม็กซ นักวิทยาศาสตร์ แม็กซ์เวลล์ (Ja วก็หันมาสนใจท กับคลื่นแม่เหล็ ยุ การทดลองข ล์ฟ เฮิรตซ์ (He     นมาดาว ซ์เวลล์ (James C ร์ชาวเยอรมันเป็ ames C. Maxwell) ทางด้านฟิสิกส์ ล็กไฟฟ้ า ทําให้ ของเฮิรตซ์ได้พิส einrich Rudolf วเทียม C. Maxwell) เมื่อ ป็นผู้ทดสอบว่า ) ์ ปี ค.ศ. 1885 อีก 2 ปีต่อมา ค สูจน์ว่า คลื่นวิท Hertz)   สามร้อยกว่าปี คลื่นแม่เหล็กไฟ 5 (พ.ศ. 2428) เ ค.ศ. 1887 (พ. ทยุเป็นคลื่นแม่ หน้า 7 มาแล้ว ต่อมา ฟฟ้ า เป็น เฮิรตซ์ได้รับ ศ. 2430) ได้ เหล็กไฟฟ้ า 7
  • 8. แซทเ   เฮิรต เป็นห มีควา การให       หน่วย 10 เฮิ 100 เ 1000 1,000 1000 1,000 ทลไลท์ ทูยู ตซ์ (Hertz คํา หน่วยวัดของค่า ามถี่เท่ากับ 70 ห้เกียรติกับเขาน ยวัดเฮิรตซ์  ฮรตซ์ เฮิรตซ์ เฮิรตซ์ 0,000 เฮิรตซ์ ,000,000 เฮิรต 0,000,000,000 าย่อคือ Hz) ความถี่ โดย 1 ครั้งต่อ 1 วินาที นั้นเอง  = 1 เ = 1 เ = 1 กิ = 1 เ ตซ์ = 1 0 เฮิรตซ์ = 1 Hz คือความถี่ท ที ซึ่งคําว่า He เดคาเฮิรตซ์ ห เฮกโตเฮิรตซ์ ห กิโลเฮิรตซ์ ห เมกะเฮิรตซ์ ห กิกะเฮิรตซ์ ห ื เทราเฮิรตซ์ ห ื ที่เท่ากับ 1 ครั้ง rtz ก็มาจากชื่อ หรือ 101 Hz มี หรือ 102 Hz มี หรือ 103 Hz มี หรือ 106 Hz มี หรือ 109 Hz มี รือ 1012 Hz มี ง ต่อวินาที (1/s อของ ไฮน์ริช รูด มีหน่วยเป็น d มีหน่วยเป็น h มีหน่วนเป็น k มีหน่วยเป็น M มีหน่วยเป็น G มีหน่วยเป็น T s) หรือ : 1 Hz = ดอล์ฟ เฮิรตซ์ (H daHz hHz kHz MHz GHz THz = 1/S ดังนั้น 7 Heinrich Rudo   หน้า 8 0 Hz หมายถึง olf Hertz) เป็น 8
  • 9. แซทเ   ลัก เช่นเ • เดิน • สาม • สาม • สาม • สาม • สาม การ สารค ตั้งแต่ "WIRE สัญญ ในรูป ดาวเที Geos โลก ซึ รอบพ การเค ทลไลท์ ทูยู ษณะขอ ดียวกับลักษณ นทางเป็นเส้นตร มารถหักเหได้ ( มารถสะท้อนได้ มารถแตกกระจ มารถถูกลดทอน มารถถูกลดทอน รถือกําเ ผู้ริเริ่มให้แ ดีวิทยาศาสตร์ ต่ปี ค.ศ. 1945 ห ELESS WORL ญาณขึ้นไปลอย แบบของภาคพื ทียม " โดยดาว stationary Orb ซึ่งวงโคจรนี้จะต้ พอดี ดังนั้นเมื่อ คลื่อนที่อยู่ตลอ องคลื่นวิ ณะทั่วไปของค รง Refract) ด้ (Reflect) จายได้ (Diffrac นเนื่องจากฝน นเนื่องจากชั้นบ นิดดาวเ แนวคิดการสื่อส ์ผู้มีชื่อเสียงในป หรือตรงกับ พ.ศ LD" ฉบับเดือนต ในอวกาศ เพื่อ พื้นดินสู่อวกาศ เทียมนั้นจะลอ bit " ซึ่งดาวเทีย ต้องทําให้ดาวเที เรามองไปยังดา ดเวลา ทยุไมโค คลื่น คลื่นวิทยุ t) (Attenuate) บรรยากาศ เทียม ารดาวเทียม" อ ปลายคริสต์ศตว ศ. 2488 โดยเขี ตุลาคม ปี ค.ศ. ใช้ในการส่งสัญ และจากอวกา ยอยู่ในอวกาศ มจะลอยอยู่เหนื ทียมนั้น โคจรด้ าวเทียม จึงทําใ อา ครเวฟ ยุไมโครเวฟจะ อาเธอร์ ซี คลาร์ วรรษที่ 20 เขา ขียนบทความเรื่ . 1945 ซึ่งในบท ญญาณข่าวสาร ศกลับเข้ามาสู่ภ โคจรรอบโลก นือเส้นศูนย์สูต ด้วยความเร็วเท่ ให้เป็นภาพลวง เธอร์ ซี คลาร์ก (A ะมีลักษณะดังต ร์ก " (ARTHUR ได้สร้างจินตนา อง " EXTRA T ทความได้กล่าว รต่างๆ เพื่อใช้ใน ภาคพื้นดินอีกค ในลักษณะการ ร ที่ระดับความ ่ากับที่โลกนั้นห งตาซึ่งมองเห็นว ARTHUR C. CL ต่อไปนี้ R C. CLARKE) าการของการสื่อ ERRESTRIAL วถึงว่า " ถ้ามนุษ นการสื่อสารระ ครั้งหนึ่ง โดยเรีย รโคจรเป็นแบบ มสูงประมาณ 3 หมุนรอบตัวเอง ว่า ดาวเทียมนั้น LARKE) ) เป็นนักเขียนน อสารดาวเทียม L RELAYS" ในนิ ษย์ชาติเรานําเอ ะหว่างจุดหนึ่งกั ยกสถานีทวนสั บวงกลม ที่เรียก 35,786 กิโลเมต เท่ากับ 24 ชั่ว นั้นลอยอยู่กับที่ หน้า 9 นวนิยายและ มให้เราได้รู้ นิตยสาร อาสถานีทวน กับอีกจุดหนึ่ง สัญญาณนี้ว่า " ว่า " ตร วัดจากพื้น โมง หรือหนึ่ง แต่จริงแล้วมี 9
  • 10. แซทเ   ได้อย่ สื่อสา ทลไลท์ ทูยู แนวคิดนี้เอ างกว้างขวาง แ ารภาคพื้นดินอื่น องที่ทําให้ส่งสัญ แต่มีการลงทุนที นๆ ซึ่งทําให้สา ญญาณรายการ ที่ค่อนข้างตํ่าเพ มารถส่งสัญญา รโทรทัศน์ฯและ พราะไม่จําเป็นต้ าณมายังลูกค้า ะวิทยุได้อย่างมี ต้องสร้างสถานี าโดยตรงอย่างที ประสิทธิภาพสู ทวนสัญญาน ( ที่เรียกกันว่า DT สูงมาก และครอ (Repeater) มา TH (Direct To หน้า 10 อบคลุมพื้นที่ ากเหมือนการ Home ) 0
  • 11. แซทเ   นอ การนํ มหาส โคจรเ ทําไ ล หากเร ละเอีย - - ทลไลท์ ทูยู อกจากนี้นายอ นาเอาสถานีทวน สมุทรแอตแลนติ เหนือเส้นศูนย์สู ไมดาวเทีย ลองหลับตาจินต ราขว้างลูกเทนนิ ยด ก็สามารถบ - แนวเส้นตร - แนวดิ่งที่ถู าเธอร์ ซี. คลาค นสัญญาณที่เรีย ติก, มหาสมุทร สูตร ที่มีชื่อเรียก ยมจึงสาม ตนาการดูว่าเรา นิสไปข้างหน้า อกได้ว่าลูกเทน รงตามแรงที่ขว้ กกระทําโดยแร ค ยังให้แนวคิดไ ยกว่าดาวเทียม แปซิฟิก และมห กตามสัญญานา ารถลอยค ากําลังยืนอยู่บน จะสังเกตได้ว่า นนิสนั้นมีการเค ว้างออกไป รงดึงดูดของโล ไว้ว่า โลกจะทํา ม ไปลอยอยู่ในอ หาสมุทรอินเดีย ามว่า Clarke O ค้างอยู่ในอ นยอดเขาสูง ( ป าลูกเทนนิสนั้น คลื่อนที่อยู่ 2 แน ลก (กฎของ ไอแ าการสื่อสารผ่า อวกาศเหนือมห ย ซึ่งดาวเทียมท Orbit หรือเรียก อวกาศได้ ระมาณ 35,876 จะตกลงสู่พื้นโ นว คือ แซค นิวตัน) นดาวเทียม โด หาสมุทรทั้งสาม ทั้ง 3 จุดนี้จะต้ เป็นไทยว่า " ด ด้ 6 ก.ม.) ซึ่งอยู่เห โลกในแนวโค้ง ยทั่วโลกได้นั้นจ มมหาสมุทรหลั ต้องลอยและโค ดาวเทียมค้างฟ้ า หนือชั้นบรรยาก ซึ่งหากพิจารณ หน้า 11 จําเป็นต้องมี ลักๆ คือ จรอยู่ในวง า " กาศของโลก ณาอย่าง 1
  • 12. แซทเ   หากเร นั้นจะ ไมล์ต่ การแก เทนนิ เทนนิ 40,80 จากท คิดเป็น โคจร ทลไลท์ ทูยู ราขว้างลูกเทนนิ ะไกลออกไปตา ต่อชั่วโมง) จะทํ กว่งเชือกที่ผูกติ นิสสามารถเคลื่อ นิสและถ้าเชือกข 0 กิโลเมตรต่อ ฤษฎีดังกล่าวส่ นการวิ่งจากกรุ รอบโลกได้ นิสไปข้างหน้าใ ามความเร็วที่เพิ่ ําให้ลูกเทนนิส ติดกับลูกเทนนิส อนที่เป็นวงกลม ขาดลูกเทนนิสที ชั่วโมง นั่นก็คือ สงผลให้ลูกเทนน รงเทพฯ ถึงสระ ให้เร็วขึ้นด้วยค พิ่มขึ้น ฉะนั้นถ้า ไม่ตกลงสู่พื้นโ สเป็นวงกลมรอ มได้ เนื่องจากลู ที่ผูกติดอยู่กับเชื อความเร็วที่ลูก นิสสามารถโคจ ะบุรีด้วยเวลาที่น้ ความเร็วที่มากก าหากเราขว้างลู โลก แต่ลูกเทน อบตัวเรา จะเห็น ลูกเทนนิสได้ผูก ชือกก็จะหลุดออ เทนนิสสามารถ จรรอบโลกได้ น้อยกว่า 13 วิน กว่าครั้งแรก ก็จ กเทนนิสด้วยค นิสจะวิ่งไปตาม นว่าลูกเทนนิสน กติดกับเชือกเป ี อกไป เช่นเดียว ถเอาชนะแรงดึ หรือใน 1 วินา นาที และนี่คือค ะพบว่าตําแหน่ วามเร็ว 28,000 มแนวโค้งของผิ นั้นเคลื่อนที่เป็น รียบได้กับแรงดึ วกับการขว้างลูก งดูดของโลกได ทีลูกเทนนิสจะ วามเร็วที่จะทําใ น่งที่ลูกเทนนิสจ 0 กิโลเมตรต่อชั ผิวโลกแทนหรื นวงกลม และก ดึงดูดของโลกที กเทนนิสที่มีคว ด้นั่นเอง ะวิ่งไปได้ไกลถึ ให้วัตถุสามารถ หน้า 12 จะตกลงสู่พื้น ชั่วโมง (17,000 อเราอาจนึกถึง การที่ลูก ที่กระทําต่อลูก วามเร็วมากกว่า ึง 8 กิโลเมตร ถลอยอยู่ในวง 2
  • 13. แซทเ   ดาว โคจรใ 20.00 ทีเดีย ปี พ.ศ ทลไลท์ ทูยู วเทียมด ในปี พ.ศ. ในอวกาศในระ 05 MHz และ 4 ว ศ. 2501 ประเท ดวงแรก 2500 ประเทศ ะดับตํ่า แล้วส่งข้ 40.005 MHz ซึ่ ทศสหรัฐอเมริก ก สหภาพโซเวียต ข้อมูลเกี่ยวกับค งถือว่าเป็นก้าว า ได้ส่งดาวเทีย เอ ต (รัสเซีย) เป็นช ความหนาแน่น วแรกแห่งการพั สปุตนิค ยมชื่อว่า เอ็กซ์พ อ็กซ์พลอเรอร์1 ( ชาติแรกที่ส่งดา และอุณภูมิของ ัฒนาเทคโนโลยี 1(Sputnik 1) พลอเรอร์1 (Exp (Explorer I) าวเทียมชื่อว่า " งบรรยากาศชั้น ยีทางดาวอวกา plorer I) ได้สํา " สปุตนิค 1" (S นสูงกลับมาสู่โล าศ และดาวเทีย เร็จเป็นประเทศ หน้า 13 Sputnik 1) ไป ลก ด้วยความถี่ ยมของโลก ศที่ 2 3
  • 14. แซทเ   มาถึง แต่ยัง ดวงนี้ ต่อมา Geos ช่องสั หนึ่งข หลังจ INTE ภายใ ใช้ทั้งง 49 เมื คอมพิ ทลไลท์ ทูยู ในปี พ.ศ. 250 งไม่อยู่ในวงโคจ น้ถือว่าเป็นดาวเ าอีก 3 ปี คือปี พ stationary ซึ่งถื ัญญาณการถ่า ของมหาสมุทรแ จากที่ดาวเทียม LSAT : Interna ใต้ชื่อของอินเทล งานการให้บริก ประเทศไท มื่อ พ.ศ. 2509ปี พิวเตอร์แอนด์ค 05 ประเทศสหรั จรที่เรียกว่า Ge เทียมดวงแรกข พ.ศ. 2508 ได้มี ถือว่าเป็นดาวเที ายทอด สัญญา แอตแลนติก ผ่า เออร์ลี่เบิร์ด ปร ational Teleco ลแซท (INTELS การภายในประเ ทยเข้าร่วมเป็นส ปี พ.ศ. 2539 ป คอมมูนิเคชั่น เป รัฐอเมริกา ได้ส่ง eostationary โด องโลกที่ใช้ในก มีการส่งดาวเทีย ทียมที่อยู่ในวงโ าณเกี่ยวกับโทร นดาวเทียมเพื่อ ระสบความสําเ ็ ommunication SAT) โดยมีหมา เทศ และระหว่า สมาชิกองค์การ ประเทศไทยมีด ป็นผู้ได้รับสัมป งดาวเทียมชื่อว ดยใช้การควบค การสื่อสารอย่าง เทลสตาร์ 1(Te ยมที่ชื่อว่า " เออ คจรแบบค้างฟ้ รทัศน์, เทเล็กซ์, อส่งไปส่วนอื่นๆ เออร์ลี่เบริร์ด (E เร็จแล้ว องค์กา ns Satellite Org ายเลขเรียงลําด างประเทศรวมก รดาวเทียมเพื่อก ดาวเทียมเป็นข ปทาน ว่า " เทลสตาร์ 1 คุมการโคจรจาก งแท้จริง และใช้ elstar 1) อร์ลี่เบริร์ด " (E า และใช้ในเชิง , ข่าวสารต่างๆ ๆ ของประเทศ arly Bird) รดาวเทียมเพื่อ ganization ) ก็ ดับก่อนหลังกัน กันไป การสื่อสารโทรค องตัวเองชื่อว่าไ 1" (Telstar 1) ขึ กสถานีภาคพื้น ช้ส่งรายการโทร arly Bird) ขึ้นไ งพาณิชย์เป็นดา รวมทั้งรายการ อการสื่อสารโทร ก็ได้ส่งดาวเทียม น โดยโครจรอยู่ใ คมระหว่างประ ไทยคม ( Thaic ขึ้นไปโคจรรอบ นดินที่อยู่บนโลก รทัศน์รวมลงมา ไปโครจรในวงโ าวแรกอย่างแท้ รโทรทัศน์ ที่รับ รคมระหว่างปร มขึ้นสู่วงโจรอีก ในวงโคจร Geo ะเทศ (INTELSA com ) ซึ่งบริษัท หน้า 14 โลกเป็นวงรี ก ดาวเทียม าด้วย คจร ท้จริง โดยมี มาจากด้าน ระเทศ ( หลายดวง ostationary มี AT) ลําดับที่ ทชินวัตร 4
  • 15. แซทเ   หลั ส่งสูง ให้กํา รับจะ ดาวเที เดอร์ใ Down ช่อ เพื่อใช้ มากก หรือส (Verti จํากัด แนวตั ทลไลท์ ทูยู ลักการทํ ในระบบกา ผ่านจานสายอ ลังสูง ส่งผ่านจ ะทําการขยายสัญ ทียมนั้นอยู่ใกล้ ให้มทํางานในช nlink 4 GHz ซึ องสัญญ ดาวเทียมท ช้กับการสื่อสาร กว่า เพื่อใช้ในงา สามารถรับ - ส่ง สัญญาณค ical) และขั้วทา ดให้ได้ช่องสัญญ ตั้ง หรือแนวนอน ทางานขอ ารสื่อสารดาวเที ากาศไปยังจาน จานสายอากาศ ัญญาณ แล้วดํ กันมากอาจจะ ช่วงความถี่ที่ต่า ซึ่งจะต่างกัน 2 าณของ ทุกดวงที่ใช้อยู่นี รลักษณะต่างๆ านต่างๆ ได้อย่า งสัญญาณโทรศ ความถี่ในทุกๆ างแนวนอน (Ho ญาณมากขึ้น ใน น หรือจะรับทั้ง องดาวเที ทียมจะมีการทํ นสายอากาศแล เป็นสัญญาณข าเนินกรรมวิธีนํ ะเกิดการกวนสัญ างกัน เช่นการใช้ GHz ซึ่งเพียงพ ดาวเทีย นี้จะมีช่องสัญญ กัน ดาวเทียมด างครบถ้วน โดย ศัพท์พูดติดต่อพ ทรานสปอนเด orizontal) เพื่อใ นการรับสัญญา 2 แนวก็ได้ ซึ่ง ทียม างานง่ายๆ ดังนี ละเครื่องรับบน ขาลง (Downlin นําข้อมูลต่างๆ ไ ญญาณกันได้จึ ช้งานในย่านคว พอที่ลดปัญหาด ยม (Tran ญาณซึ่งเรียกว่า ดวงหนึ่งๆ สามา ยแต่ละช่องสาม พร้อมกันได้ เป็น อร์จะมีการจัดข ให้เหมือนกับก าณที่สถานีภาค ดาวเทียมจํานว นี้สถานีภาคพื้น นดาวเทียม ทําก nk) มายังจานส ไปใช้งาน เนื่อง จึงมีการออกอุป วามถี่ C-Band ดังกล่าว nsponde า ทรายสปอนเด ารถจะมีทรายส มารถใช้ถ่ายทอ นจํานวนหลาย ขั้วของคลื่น (Po ารขยายช่องสัญ คพื้นดินนั้น สาม วนมาก จะมีทร ้นดินจะส่งสัญญ การขยายสัญญ สายอากาศรับข งจากอุปกรณ์รับ กรณ์ภาคส่งแล จะใช้ความถี่ U er) ดอร์ (Transpon สปอนเดอร์ได้ม อดสัญญาณโท พันคู่สาย olarization) เอ ญญาณ จากย่า มารถแยกรับได้ รานสปอนเดอร์ ญาณขาขึ้น (U ญาณแปลงความ ของสถานีภาคพื ับและส่งสัญญ ละภาครับในทร Uplink 6 GHz nder) ซึ่งมีหลา มากถึง 24 ช่อง รทัศน์ได้มากก อาไว้ให้มีทั้งขั้วท านความถี่ที่มีจํ ด้ด้วยตนเองว่าจ ร์ที่รับ – ส่งสัญญ หน้า 15 plink) กําลัง มถี่ แล้วขยาย พื้นดิน สถานี าณใน รานสปอน z และความถี่ ายๆรูปแบบ หรืออาจจะ ว่าหนึ่งช่อง ทางแนวตั้ง านวนอัน จะรับทาง ญาณทาง 5
  • 16. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 16   แนวตั้งและแนวนอนอย่างละ 12 ทรานสปอนเดอร์ และมีความถี่ซ้อนกันอยู่ แต่จะไม่เกิดการรบกวนของสัญญาณ (Interference) กันเอง ทรานสปอนเดอร์ของดาวเทียมจะทํางานที่ความถี่สูงกว่าความถี่ที่ใช้ในสถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน เนื่องจาก ความถี่ที่ใช้นี้อยู่ในย่าน SHF (Super High Frequency ) จึงไม่มีผลกระทบจากสภาพของอากาศ หรือการเกิดซันสปอต (Sunspot) เท่าใดนัก ทําให้การสื่อสารด้วยดาวเทียมนี้มีความเชื่อถือได้ตลอด 24 ชั่วโมง ความถี่ส่วนใหญ่ที่ใช้ในกิจการ ส่งสัญญาณโทรทัศน์ผ่านดาวเทียม เพื่อส่งตรงไปยังที่พักอาศัย ในย่านเอเซีย จะใช้ความถี่ย่านตั้งแต่ 3.7 - 4.2 GHz หรือ มักจะเรียกว่า " ความถี่ย่าน C " (C-Band) และจะใช้ความถี่ที่สูงกว่า คือตั้งแต่ 10.95 - 12.75 GHz ในการส่งสัญญาณ รายการโทรทัศน์ต่างๆ ลงมาสู่ที่พักอาศัยของประชาชนโดยตรง ช่วงความถี่ดังกล่าวจะเรียกว่า " ความถี่ย่าน KU-Band ย่านความถี่สัญญาณ C-Band , Ku-Band ITU (International Telecommunication Union) ได้จัดสรรและควบคุมการใช้ความถี่ในกิจการต่างๆ ทั้งใน ประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อไม่ให้เกิดการทับซ้อน และรบกวนกัน ความถี่ที่ใช้กับดาวเทียมจะใช้หลักการเรียกชื่อ คล้ายกับที่ใช้ในเรดาร์ และไมโครเวฟ แต่ความถี่ใช้งานอาจแตกต่างกันบ้างตามภารกิจ และวิธีการใช้ความถี่ เช่น L-band C-band KU-band X-band และ KA –band เป็นต้น ความถี่ที่นิยมใช้กันมาก คือ ย่าน C-band สัญญาณย่านขาขึ้น (Uplink) ใช้ย่านความถี่ 6 GHz และสัญญาณขาลง (Downlink) ใช้ย่านความถี่ 4 GHz จึงนิยมเรียกว่า 6/4 GHz ความถี่ C-band นี้อาจรบกวนกับการสื่อสารผ่านคลื่นไมโครเวฟบนภาคพื้นดินได้ง่าย อีกความถี่ที่ใช้งานมาก คือ KU-bandใช้ ความถี่ขาขึ้น 12- 14 GHz และความถี่ขาลง 11 – 18 GHz โดยประมาณ ซึ่งนิยมใช้ในกิจการส่งสัญญาณโทรทัศน์ โดยตรง (Direct Broadcast System: DBS) แต่มีข้อเสียหลัก คือ สัญญาณจะถูกลดทอนกําลังจากเม็ดฝนค่อนข้างมาก ความถี่ย่าน X –band (8/7 GHz) ใช้ในกิจการทหาร ส่วนความถี่ย่าน KA-band (40/20 GHz) มีแนวโน้มจะนํามาใช้กัน มากในอนาคต เพื่อแก้ปัญหาความแออัดของความถี่ใช้งาน เช่น โครงการ IP-Star ของบริษัทไทยคม เป็นต้น ข้อดี-ข้อเสียของระบบ C-Band และ KU-Band ระบบ KU-Band ข้อดี มีความเข้มของสัญญาณสูง จึงใช้จานที่มีขนาดเล็ก การติดตั้งจึงง่าย ข้อเสีย ครอบคลุมพื้นที่ได้น้อย และมีปัญหาเวลาฝนตก ส่วนใหญ่จะนิยมใช้กับการส่งทีวีบอกรับสมาชิก เช่น True Vision ของไทย, ASTRO ของมาเลเซีย ระบบ C-Band ข้อดี ครอบคลุมพื้นที่ได้เป็นทวีป สามารถส่งสัญญาณข้ามทวีปได้ จึงรับรายการทีวีจากทั่วโลก โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายราย เดือนได้ และไม่มีข้อจํากัดในเรื่องภูมิอากาศ
  • 17. แซทเ   ข้อเ ทลไลท์ ทูยู เสีย สัญญาณบีบีมกว้างกว่า ทํา ย่าน าให้สัญญาณอ นความถี อ่อน ดังนั้นเวลา ถี่ที่ใช้งา ารับจึงต้องใช้จา านในดา านขนาดใหญ่ก าวเทียม กว่า การติดตั้งจึ หน้า 17 จึงยากกว่า 7
  • 18. แซทเ   ฟุต ฟุตปริ กัน โด สํ ทิศทา ทลไลท์ ทูยู ตปริ้นต์ ริ้นท์ (Foot Prin ดยสัญญาณที่ส าหรับสัญญาณ างไปยังพื้นที่เป้ Footp nt) คือ ลําของค ส่งมานั้นจะเข้ม ณไมโครเวฟที่ส่ง าหมายได้ โดย rint คลื่นสัญญาณด ที่สุดตรงจุดศูน งจากดาวเทียม ยระบบการควบ ดาวเทียมที่ครอ นย์กลาง และจะ มมายังพื้นโลก บคุมภาคพื้นดิน บคลุมพื้นโลก ะค่อยๆจางลงเมื เรียกว่า บีม(Be นั่นเอง ดาวเทียมแต่ละ มื่อห่างออกมา eam) เราสามา ะดวงจะมีฟุตป ิ เรื่อยๆ รถที่จะควบคุม หน้า 18 ริ้นต์แตกต่าง มให้บีมปรับ 8
  • 19. แซทเ   การรับ จริงๆแ YAMA ทลไลท์ ทูยู ระบบการส บสัญญาณทาง แล้วยังมีการส่ง AL201-202 ส่งสัญญาณดา งภาคพื้นดิน จึง งสัญญาณแบบ าวเทียมมี 2 ขั้วส งต้องมีการตั้งขั้ ขั้ว บวนซ้ายและวน ขั้ว สัญญาณ คือ แ ั้วคลื่นด้วยการ วคลื่นแนวนอน (H ขั้วคลื่นแนวตั้ง นขวาอีกชนิดหนึ วคลื่นแบบวนซ้าย แนวนอน (Horr ตั้งขั้วคลื่นตัวรับ Horrizontal) (Vertical) นึ่งมีชื่อเรียกว่า ยและวนขวา rizontal) และแ บ Circular pola แนวตั้ง (Vertica arization ที่ใช้ใ หน้า 19 al) ดังนั้นเมื่อมี ในดาวเทียม 9
  • 20. แซทเ   ลัก ของสั มาจะ สัญญ casse สามา ทลไลท์ ทูยู กษณะขอ ในการรับสั ัญญาณจากดา 1 การสะท้ ะกระทบหน้าจา ญาณจากตัว ref egrain นั้นปัจจ ารถรับสัญญาณ องจานด สัญญาณทีวีผ่า าวเทียมที่สะท้อ ท้อนสัญญาณ แ านดาวเทียม รูป flect ก็จะสะท้อ จุบัน จานดาวเที ณได้ดีเท่าทีควร ดาวเทียม นดาวเทียมนั้น อนเข้าสู่จานได้ แบบ Cassegra ปทรง พาราโบล อนเข้าไปยังตัว ทียมทีมีการรับส ม น เราจะแบ่งประ สามารถแบ่งอ จานแบบ ain จะเห็นได้ว ล่า ไปยังที่จานก LNBF อีกที ลัก สัญญาณเพื่อรั ะเภทของจานด ออกเป็นได้ 3 ป บ Cassegrain ว่าสัญญาณขาล ก่อน และสัญญ ักษณะโครงสร้า รับชมทีวีบ้านเร ดาวเทียม ได้ตา ระเภท ลงจากดาวเทีย ญาณก็จะสะท้อน างหน้าจานที่มีก านั้นไม่นิยมใช้ ามลักษณะของ ยม ( down link น เข้าไปยังตัว การสะท้อนสัญ หรือไม่มีใช้เลย หน้า 20 การสะท้อน k ) ที่ถูกส่งลง reflect และ ญญาณ แบบ ย เนื่องจาก ไม่ 0
  • 21. แซทเ   down ตัว LN ปัจจุบ ออกแ มาจา และแ ทลไลท์ ทูยู 2 การสะท้ n link ) ที่ถูกส่ง NBF ทีติดตั้งอย บันเป็นที่นิยมเป็ แบบหน้าจานที่ม ากหน้าจากตรง แบบ ku-band ท้อนสัญญาณ แ ลงมาจะกระทบ ยู่ที่จุดรวมโฟกัส ป็นอย่างมาก สํ มีการรับสัญญ ๆ ไม่ต้องติดตั้ง เพื่อให้รับดาวเที แบบ Prime Fo บหน้าจานดาว ส ลักษณะการ าหรับการออก าณสะท้อนแบบ งตัว reflectให้ยุ ทียมเพิ่มได้หลา จานแบบ cus จะเห็นได้ เทียม รูปทรง พ รออกโครงสร้าง แบบจานดาวเที บ prime focus ยุ่งยาก และยัง ายดวงอีกด้วย Prime Focus ด้ว่าสัญญาณขา พาราโบล่า แล งหน้าจานที่มีกา ทียมเพื่อรับชมที s เนื่องจาก สาม สามารถ โมดิฟ เช่น จานรับ D าลงจากดาวเทีย ะสัญญาณดาว ารสะท้อนสัญญ ทีวี free2air บ้ มารถรับสัญญา ฟาย เพื่อติดตั้ง ห UO , TRIO , แ ยม หรือสัญญา วเทียม ก็จะสะท ญาณ แบบ prim บ้านเราเองก็เช่น าณได้ดี รับสัญ หัว LNBF ทั้งแ และ4หัว หน้า 21 าณดาวลิงค์ ( ท้อนเข้าไปยัง me focus นั้น นกันนิยมการ ญญาณสะท้อน แบบ c-band 1
  • 22. แซทเ   มาจะ LNBF ku-ba โดยเฉ สัญญ ข้อจํา เช่นกัน ช่วง k ทลไลท์ ทูยู 3 การสะท้ ะกระทบหน้าจา F อีกที ลักษณ and และการรั ฉพาะอย่างยิ่ง ญาณแบบ offse ากัดนั้นดาวเทีย ัน คือสามารถอ ku-band ข้อเสี ท้อนสัญญาณ แ านดาวเทียม รู ณะโครงสร้างหน้ รับสัญญาณที่มี เคเบิ้ลทีวีที่เป็น et fucus ก็เช่น มแต่ละดวงจะ ออกแบบให้มีจ สียก็มีเช่นกัน คือ แบบ offset foc รปทรง พาราโบ น้าจานที่มีการส มีการสะท้อนแบ นระบบ ku-ban นกัน สามารถ โ ต้องไม่อยู่ห่างก านที่ขนาดเล็ก อการloss ของ จานแบบ offse cus จะเห็นได้ บล่า ในลักษณ สะท้อนสัญญาณ บบoffset focus nd อย่างเช่น tr โมดิฟาย ติดหั กันมาก ข้อดีข และเหมาะกัน สัญญาณที่ผ่าน et focus ว่าสัญญาณขา ณะการสะท้อนแ ณ แบบ offset s นั้น ก็จะนิยม ue vision thai ัว LBNFเพิ่มเพื ของการสัญญา นสัญญาณขาลง นชั้นบรรยากาศ าลงจากดาวเทีย แบบ เฉียงๆ focus นั้นปัจ มใช้เพื่อรับสัญญ land และ ast พื่อให้สามารถรับ ณ ลักษณะ of ง ( down link ศนั้นมีมากกว่า ยม ( down lin และก็จะสะท้ จจุบัน เป็นที่นิย ญาณทีวีผ่านดา tro cable mala ับดาวได้หลายด ffset fucus นั้ ) ที่มีความถี่สู หน้า 22 nk ) ที่ถูกส่งลง อนเข้าไปยังตัว ยมจากในระบบ าวเทียมเช่นกัน aysia , การรับ ดวงเช่นกัน แต่ นั้นมีหลายอย่าง งๆ เช่นความถี่ 2 ง ว บ น บ ต่ ง ถี่
  • 23. แซทเ   ทั่วไป มากโ ย่าน จะสะ 2 คว ความ ดา (λ แกนน สําหรั เปลี่ย ความ ด้วยค สามา ทลไลท์ ทูยู แต่ส่วนใหญ นั้น ช่างติดตั้งง 1.จานC-B ครงสร้างนิยมท KU-Band รูตะ ะท้อนสัญญาณ 2.จานKU-Ban วามยาวค มยาวคลื่น คือระ λ). นอนในแผนภูมิ รับคลื่นเสียง ปริ นแปลงก็คือสน มยาวคลื่น λ สัม ความถี่ ถ้าเราพิ ารถเขียนได้เป็น ญ่แล้วในวงกา งานดาวเทียม ม Band ( ซีแบนด์ ทํามาจากอลูมิเ ะแกรงจะต้องมี ณได้ดี d ( เคยู-แบนด์ คลื่นคือ ะยะทางระหว่า แทนระยะทาง ริมาณที่กําลังเป นามไฟฟ้ าและส มพันธ์แบบผกผั พิจารณาคลื่นแม น รดาวเทียมบ้าน มักจะแบ่งประเ ด์ ) ลักษณะเป็ เนียม รูตะแกรง ขนาดไม่เกิน 2 ์ ) ลักษณะเป็น อะไร งส่วนที่ซํ้ากันข และแกนตั้งแท ปลี่ยนแปลงก็คื สนามแม่เหล็ก) ผันกับความถี่ขอ ม่เหล็กไฟฟ้ าใน นเรา การติดตั้ง เภทจานดาวเที ป็นจานโปร่งๆ ต งจะต้องมีขนาด 2 มิลลิเมตร แล นจานทึบใบเล็ก ของคลื่น สัญลัก ทนค่า ณ เวลาห อแรงดันอากาศ ) ซึ่งเป็นฟังก์ชัน องคลื่นนั้น โดย นสุญญากาศ ค ั้งจานเพื่อการรับ ยม ออกไปตาม ตะแกงดํา เส้นผ ดเล็กกว่า 1/12 ละ C-Band รูต เส้นผ่าศูนย์ปร กษณ์แทนความ หนึ่ง ของปริมาณ ศ หรือสําหรับค นของระยะทาง ยความยาวคลื่น วามเร็วนั้นก็คือ บชมทีวีผ่านดา มลักษณะ ย่าน ผ่าศูนย์ประมาณ 2 ของความยา ตะแกรงจะต้องมี ระมาณ 2ฟุต ถึ มยาวคลื่นที่ใช้กั ณหนึ่งซึ่งกําลังเ คลื่นแม่เหล็กไฟ นมีค่าเท่ากับคว อความเร็วแสงน าวเทียมตามบ้า ความถี่ที่ใช้งาน ณ 5ฟุต ถึง 10 าวคลื่น เช่นถ้าใ มีขนาดไม่เกิน ถึง 5ฟุต กันทั่วไปคือ อัก เปลี่ยนแปลง ( ฟฟ้ า ปริมาณที่กํ วามเร็วของคลื่น นั่นเอง ความสัม หน้า 23 าน ร้านค้า หรือ น คือ ฟุต เป็นที่นิยม ใช้รับสัญญาณ 6 มิลลิเมตรจึง กษรกรีก แลมบ์ ตัวอย่างเช่น กําลัง นนั้นๆ หาร ัมพันธ์นี้ 3 ม ณ ง ์
  • 24. แซทเ   เช่นค λ = = 0 ทําให้ ทําให้ สรุปค - รูตะ ดังนั้น เมื่อค อัตรา เขียนไ เมื่อ: ไม่ว่าค ทลไลท์ ทูยู เมื่อ: λ = ความ c = ความ กิโลเมตรต f = ความถี วามถี่ C-Band 300,000/4,00 0.000075 ก.ม ห้เป็นเมตร 0.00 ห้เป็นเซนติเมตร ความถี่ C-Band ะแกรงจะต้องมีข น 7.5/12 = 0 ลื่นแสง (หรือค ส่วนเท่ากับดรร ได้เป็น λ0 คือควา คลื่นแสงจะเดิน มยาวคลื่น มเร็วแสงในสุญญ ต่อวินาที) ถี่ของคลื่น d 3.7 – 4.2 GH 00,000,000 . 00075x1000 = ร 0.075x100 = d มีความยาวค ขนาดเล็กกว่า 1 0.625 cm ลื่นแม่เหล็กไฟ รชนีหักเห n ขอ ามยาวคลื่นในส นทางอยู่ในตัวก ญากาศ ซึ่งมีค่า Hz = 0.075 เมตร = 7.5 cm คลื่นประมาณ 7 1/12 ของความ ฟ้ าใดๆ) เดินทา องตัวกลางนั้น แ สุญญากาศ กลางใด เมื่อเรา าเท่ากับ 299,7 7.5 cm มยาวคลื่น างในตัวกลางใ แต่ความถี่จะยัง าอ้างถึงความย 792.458 กิโลเม ดที่ไม่ใช่สุญญา งคงเท่าเดิม คว าวคลื่น มักหม มตรต่อวินาที (ห ากาศ ความยา ามยาวคลื่นแส ายถึงความยาว หรือประมาณ 3 าวคลื่นจะลดลง สงในตัวกลางใด วคลื่นในสุญญ หน้า 24 300,000 งด้วย ดๆ สามารถ ากาศเสมอ 4
  • 26. แซทเ   F/ หรือ จานรั หรือ 6 แล้วจ F/D เ ทลไลท์ ทูยู /D หรือ สําคัญมา LNB ให้ได้ระ รับสัญญาณมีเส้ 64.008 เซนติเม จะทําให้ง่ายเวล เท่ากับ 0.35 ก็ใ ออัตราส่ กหลายคนไม่ ยะที่ถูกต้อง เ ส้นผ่าศูนย์กลาง มตร ทําให้การติ ลายึดหัว LNB กั ให้ยึดหัว LNB  สวนของ หน้า เคยรู้และมอง เช่น ง 6 ฟุตมีค่าอัต ติดตั้งและยึดหัว กับหน้าจานโดย ตรงขีด 35ก็จะ งระยะโฟ จาน (F/ งข้ามไปเพราะ ตราส่วน F/D เท ัว LNB  ได้ถูกต้ ยให้ดูที่กระบอก ะได้ระยะโฟกัสที ฟกัสต่อ /D Rati ะจะนํามาหาจุ ท่ากับ 0.35 จะมี ต้อง เมื่อเวลาติ ก LNB จะมีขีด ที่ถูกต้องของหน้ เส้นผ่าศู io)  ดที่จะใช้กําหน มีระยะจุดโฟกัส ดตั้งหัว LNB กั และตัวเลขบอก น้าจานใบนั้น  ศูนย์กลา นดระยะหัวรับ ส เท่ากับ 6 x 0 กับจานถ้าเราทร กระยะอยู่ เช่นก หน้า 26 างของ บสัญญาณ 0.35 = 2.1 ฟุต ราบค่า F/D  กรณีนี้มีค่า 6 ต
  • 27. แซทเ   Noise สัญญ เช่นแป ตามส ทลไลท์ ทูยู คืออุปกรณ e Amplifier อ ญาณรบกวน (N ปลงความถี่ย่าน สายสัญญาณไป LNB(L ณ์ขยายสัญญาณ อยู่ภายใน จะทํ Noise) ให้มีค่าน น C‐Band จาก ปยังเครื่องรับได้ ow Noi ณรบกวนตํ่า เป็ าหน้าที่รับและ น้อยที่สุด จากน ก 3.7 -4.2 GH ด้ต่อไป  ise Bloc ป็นภาคขยายสัญ ะขยายบสัญญา นั้นจะทําการส่ง Hz ให้เหลือ 950 LNB แบบ C ck down ัญญาณความถี าณที่รับมาจาก งผ่านภาคแปลง 0-1450 MHz ห C‐Band  n Conve ถี่วิทยุ (RF Amp หน้าจานดาวเที งความถี่ให้ตํ่าล หรือ 2050 MH   erter) plifier) ที่มี LN ทียม และควบค ลง (Down Co Hz จึงจะสามาร หน้า 27 NA : Low  คุมระดับ nverter)   รถส่งผ่านไป 7
  • 28. แซทเ   ทลไลท์ ทูยู LNB แบบ LNB แบบ K C+KU U-Band หน้า 288
  • 30. แซทเ   เข็มทิ อิสระ หาทิศ มหาทิ ด้านห ใต้ ทิ มุมที่ แบริ่ง นิยมใ และเ ตัวอัก Nort Sout East Wes ทลไลท์ ทูยู ทิศ (อังกฤษ: ะในแนวนอนท ศทางโดยรอบ ทิศอื่นได้โดย หลังเป็นทิศใต ศตะวันออก นิยมใช้และเรี ง (bearing) ซึ ใช้ในประเทศ เดนมาร์ก กษรแยกทิศบ h คือทิศเห th คือทิศใต้ t คือทิศตะ st คือทิศตะ magnetic c ทอดตัวในแน บ เข็มทิศจึงมี หันหน้าไปทา ต้ การบอกทิศ และทิศตะวัน รียกกันในกา ซึ่งประเทศไท ศแถบสแกนดิ บนเข็มทิศ N,S นือ ะวันออก ะวันตก เข็มทิ compass) คือ นวเหนือ-ใต้ ต มีปลายชี้ไปทา างทิศเหนือ ด้ ศทางในแผนที นตก รใช้งานเข็มทิ ยจะนิยมใช้อ เนเวีย ประเท S,E,W แทนทิ ทิศและก อเครื่องมือสํา ตามแรงดึงดูด างทิศเหนือเส ้านขวามือเป็ ที่โดยทั่วไป คื ทิศจะมีหน่วย องศา อซิมุส ( ทศในกลุ่มสแ ทิศ เหนือ ใต้ อ การหาม าหรับใช้หาทิศ ของแม่เหล็ก สมอ (อักษร N นทิศตะวันออ คือการบอกเป็ เป็นองศา อซิ (azimuth) แบ กนดิเนเวีย ได ออก ตก ตาม มุม ศทาง มีเข็มแม โลก และที่หน้ N หรือ น) เมื่อ อก ด้านซ้ายมื ปนทิศที่สําคัญ ซิมุส (azimuth บบอเมริกา ส ด้แก่ ราชอาณ มลําดับ แม่เหล็กที่แกว่ น้าปัดมีส่วนแ อทราบทิศเหนื มือเป็นทิศตะ ญ 4 ทิศ คือทิศ h) หรือบางที ส่วน แบริ่ง (b ณาจักรสวีเดน หน้า 30 ่งไกวได้ แบ่งสําหรับ นือแล้วก็ย่อ วันตก ศเหนือ ทิศ ที่ก็เรียกว่า earing) จะ น นอร์เวย์ 0
  • 31. แซทเ   วิธีใช 1 2 3 4 ทลไลท์ ทูยู ช้เข็มทิศ 1. วางเข็มทิศ 2. หมุนกรอบ ทิศทาง 3. หมุนฐานเข 4. เมื่อลูกศรสี ทางทิศทา ศบนฝ่ามือหรือบ บหน้าปัดของตล ข็มทิศจนกว่าเข็ สีแดง ( Directi งนั้น บนปกสมุดในแ ลับเข็มทิศ (Com ข็มแม่เหล็กสีแด on of travel-a แนวระดับโดยให mpass Housin ดงภายในตลับเ rrow) ชี้ทิศทา ห้เข็มแม่เหล็กแ ng) ให้เลขเลขอ เข็มทิศชี้ตรงกับ งไปทางทิศใด แกว่งไปมาอย่าง องศาตามที่ต้อง บตัวอักษร N ทิศ ก็แสดงว่าดาวเ งอิสระ งการอยู่ตรงกับ ศเหนือ บนกรอ เทียมที่เราต้องก หน้า 31 บปลายลูกศรชี้ อบหน้าปัด การค้นหาอยู่ 1
  • 32. แซทเ   ทลไลท์ ทูยู เครื่องวัดมุ เที่ยงตรงสู องศาจาน ห หรืออาจเสี มุม (Angle)แบบ สง ใต้ฐานของเค หลังจากการใช้ สียไปเลย A บมาตรฐาน ใน ครื่องวัดมุมมีแม ช้งานระวัง อย่าว Angel กระเปาะเข็มวัด ม่เหล็กถาวรอยู่ วางใกล้เข็มทิศโ l วัดมุ ดใช้นํ้ามันเป็นส ประโยชน์เพื่อ โดยเด็ดขาด เพร มุม ส่วนประกอบป ใช้ยึดติดกับโคร ราะแม่เหล็กจะ ประคองเข็มวัด รงสร้างจานดา ทําให้ เข็มทิศไ หน้า 32 การวัดมีความ วเทียมเพื่อวัด ไม่เที่ยงตรง 2
  • 33. แซทเ   ทลไลท์ ทูยู เครื่องวัดมุ ติดกับโคร แม่เหล็กจะ การใช้งาน ตัววัดชี้ไปย มุม (Angle)แบบ งสร้างจานดาว ะทําให้ เข็มทิศไ นให้นํา Angel ม ยังตําแหน่งองศ บประหยัด ใช้วั เทียมเพื่อวัดอง ไม่เที่ยงตรงเช่น มุมไปติดใต้ฐาน ศาที่ต้องการ วัดมุมก้ม ฐานมี ศาจาน หลังจา นกัน นคอจาน หรือ ด้ มีแม่เหล็ก ดูง่าย กการใช้งานระ ด้านบนตรงกลา ยด้วยหน้าปัดให วัง อย่าวางใกล้ างจาน จากนั้น หญ่พิเศษ ประโ ล้เข็มทิศโดยเด็ด นให้ปรับระดับคื หน้า 33 โยชน์เพื่อใช้ยึด ดขาด เพราะ คอจานให้เข็ม 3
  • 34. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 34   ตารางมุมส่ายและมุมก้ม กรุงเทพมหานคร องศา ชื่อดาวเทียม มุมส่าย มุมก้ม 166.0 E Intelsat 8 96 75 146.0 E ABS 5 103 54 138.0 E Telstar 18 107 46 132.0 E Vinasat 1 111 40 115.5 E ChinaSat 6B 131 23 113.0 E Palapa D 136 22 108.2 E Telkom 1 150 18 105.5 E AsiaSat 3S 159 17 100.5 E AsiaSat 5 180 16 95.0 E NSS 6 202 17 91.5 E Measat 3 214 19 90.0 E Yamal 201 218 20 88.0 E ST 1 223 21 78.5 E Thaicom 5 240 30 76.5 E Apstar 2R 242 32 75.0 E ABS 1 244 33 68.5 E Intelsat 20 250 40 49.0 E Yamal 202 259 60
  • 35. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 35   ตารางมุมส่ายและมุมก้ม Thaicom 5 ทั่วไทย จังหวัด มุมส่าย มุมก้ม 1.กรุงเทพฯ 240 30 2.กระบี่ 249 25 3.กาญจนบุรี 237 29 4.กาฬสิน 239 34 5.กําแพงเพชร 233 31 6.ขอนแก่น 238 33 7.จันทบุรี 244 31 8.ฉะเชิงเทรา 241 30 9.ชลบุรี 240 30 10.ชัยนาท 236 30 11.ชัยภูมิ 238 32 12.ชุมพร 244 27 13.เชียงราย 229 33 14.เชียงใหม่ 229 31 15.ตรัง 251 26 16.ตราด 244 31 17.ตาก 233 30 18.นครนายก 239 31 19.นครปฐม 239 29 20.นครพนม 238 35 21.นครราชสีมา 240 32 22.นครศรี 249 26 23.นครสวรรค์ 236 31 24.นนทบุรี 239 30 25.นราธิวาส 255 28 26.น่าน 232 33 27.หนองคาย 236 34 28.บุรีรัมย์ 241 33 29.ปทุมธานี 239 30 30.ประจวบฯ 237 29 31.ปราจีนบุรี 240 30 32.ปัตตานี 255 27 33.อยุธยา 240 31 34.พะเยา 230 33 35.พังงา 248 25 36.พัทลุง 252 26 37.พิจิตร 235 31 38.พิษณุโลก 234 31 จังหวัด มุมส่าย มุมก้ม 39.เพชรบุรี 239 28 40.เพชรบูรณ์ 236 32 41.แพร่ 232 33 42.ภูเก็ต 249 25 43.มหาสารคาม 239 34 44.แม่ฮ่องสอน 226 31 45.มุกดาหาร 240 35 46.ยะลา 255 27 47.ยโสธร 241 34 48.ร ้อยเอ็ด 239 34 49.ระนอง 245 26 50.ระยอง 242 30 51.ราชบุรี 239 29 52.ลพบุรี 237 30 53.ลําปาง 230 32 54.ลําพูน 229 32 55.เลย 235 33 56.ศรีสะเกษ 241 34 57.สกลนคร 238 35 58.สงขลา 253 27 59.สตูล 254 26 60.สมุทรปราการ 240 30 61.สมุทรลงคราม 240 30 62.สมุทรสาคร 240 30 63.สระแก ้ว 241 31 64.สระบุรี 238 30 65.สิงห์บุรี 238 30 66.สุโขทัย 232 31 67.สุพรรณบุรี 238 30 68.สุราษฏร์ธานี 247 26 69.สุรินทร์ 241 33 70.หนองบัวลําพู 236 34 71.อ่างทอง 238 30 72.อํานาจเจริญ 240 35 73.อุดรธานี 236 34 74.อุตรดิตถ์ 232 32 75.อุทัยธานี 236 30 76.อุบลราชธานี 242 35
  • 36. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 36   ตารางความถี่ล่อ องศา ชื่อดาวเทียม ความถี่ 166.0 E Intelsat 8 4060 H 26590 1/2 146.0 E ABS 5 12301 H 25600 3/4 138.0 E Telstar 18 3692 H 9628 3/4 132.0 E Vinasat 1 11008 H 28800 3/4 115.5 E ChinaSat 6B 3840 H 27500 3/4 113.0 E Palapa D 3934 H 6500 3/4 108.2 E Telkom 1 3797 H 3900 3/4 105.5 E AsiaSat 3S 3760 H 26000 7/8 100.5 E AsiaSat 5 3760 H 27500 3/4 95.0 E NSS 6 11635 H 27500 3/4 91.5 E Measat 3a 3705 H 4288 3/4 90.0 E Yamal 201 3645 L 28000 3/4 88.0 E ST 2 3671 H 9256 3/4 78.5 E Thaicom 5 3803 V 4551 3/4 76.5 E Apstar 2R 3747 V 8000 3/4 75.0 E ABS 1 3887 V 7495 3/4 68.5 E Intelsat 20 4054 V 4400 3/4 49.0 E Yamal 202 3743 L 34075 3/4
  • 37. แซทเ   สหภา เรียกว ขึ้นที่ก พานิช เป็นผู้ สถานี Thaic ลองติ เส้นส เส้นไพ ละติจู อ้างอิ ใกล้ๆ ทลไลท์ ทูยู าพโทรคมนาคม ว่า “อินเทลแซท กรุงวอชิงตัน ดี. ชย์แห่งโลก INT จัดการในธุรกิจ นีภาคพื้นดินกา com 5 อยู่ที่ตํา ติจูด (Longitud มมุติในแนวเหนื พรม์เมอริเดียนไ จูดมีเส้นศูนย์สูต ง ในการประชุม กรุงลอนดอน ป มระหว่างประเท ท” (INTELSAT ซี. สหรัฐอเมริก TELSAT ตั้งคณ จต่าง ๆ ตามนโ รกําหนดค่าเช่า าแหน่ง 78.5 อง de) หรือ เส้นแ นือใต้ที่เรียกว่า ไปทางตะวันออ ตรเป็นเส้นอ้างอิ มเมอริเดียนนา ประเทศอังกฤษ ตําแ ทศ ( ITU ) ร่วม : INTERNATI กา โดยให้ประเท ณะกรรมการ IN โยบายของ ICS าใช้ช่องสัญญา งศาตะวันออก แวง เป็นพิกัดที เส้นไพรม์เมอริ อก +180 องศา อิงตามธรรมชา นาชาติ () เมื่อ ษเป็นเส้นไพรม์เ แหน่งดา มกันจัดตั้งองค์ก ONAL TELLE ทศสมาชิกเข้าถื TERIM COMM SC ได้แก่ การจั าณดาวเทียม ก โดยอ้างอิงจาก ที่ใช้บอกตําแหน ริเดียน (Prime า และไปทางตะ าติ แต่ลองติจูดไ ค.ศ. 1884 จึง เมอริเดียน และ าวเทียม การโทรคมนาคม ECOMMUNICA ถือหุ้นดําเนินกา MUNICATION ัดสร้างดาวเทีย ารกําหนดตําแห กเส้นลองติจูด ( น่งบนพื้นโลก โ Meridian) ลอง ะวันตก -180 อ ไม่มี จึงต้องกําห ได้กําหนดให้เส้ ะเป็นลองติจูด 0 ม มทางดาวเทียม ATIONS SATT ารใช้ดาวเทียมเ S SATELLITE มการปล่อยดา หน่งดาวเทียมเ Longitude) ดยวัดไปทางตะ งติจูดมีหน่วยเป็ งศา ลองติจูดแ หนดเส้นสมมุติ ส้นเวลาที่กรีนิซ 0 องศา มระหว่างประเท TELLITE ORG เพื่อกิจการโทร E COMMITTEE าวเทียมการกําห เป็นต้น เช่น ดา ะวันออก หรือต ป็นองศา นับจา แตกต่างจากละ ติขึ้นมาอีกเส้นห ซที่ผ่านหมู่บ้านที หน้า 37 ทศหรือที่ ANIZATION ) คมนาคม E ( ICSC ) หนดมาตรฐาน าวเทียม ตะวันตกจาก าก 0 องศาที่ ะติจูดตรงที่ หนึ่งสําหรับ ที่เดียวกัน 7 )
  • 38. แซทเ   ละติจู เส้นศู หรือใ จะมีส ทลไลท์ ทูยู จูด (Latitude) นย์สูตร (Equa ต้ วัดเป็นมุมจา สภาพภูมิอากาศ หรือ เส้นรุ้ง เป ator) ละติจูด มี ากเส้นศูนย์สูตร ศ (Climate) แล ป็นพิกัดที่ใช้บอ ค่าตั้งแต่ 0 องศ รที่จนถึงแนวดิ่ง ละกาลอากาศ อกตําแหน่งบน ศาที่เส้นศูนย์สูต งที่ขั้วโลกเหนือ (weather) ต่าง พื้นโลก ซึ่งระบุ ตรไปจนถึง 90 หรือลงไปจนดิ่ งกัน เช่น แบ่งเป็ ว่าตําแหน่งนั้น องศาที่บริเวณ งที่ขั้วโลกใต้) พื ป็นเขตร้อน เขต นอยู่ตรงจุดที่ทํา ณขั้วโลก (เป็น 9 พื้นที่ที่มีพิกัดละ ตอบอุ่น เขตหน หน้า 38 ามุมเท่าไรกับ 0 องศาเหนือ ะติจูดต่างกัน นาว 8
  • 40. แซทเ   Coax มันคือ ดาวเที 1 2 3 4 ทลไลท์ ทูยู xial (โคแอคเชีย อสายชนิดเดียว ทียม หรืออุปกร 1. Conducto Covered ใช้เป็นแกน ผิวของวัตถ 2. Insulator 3. Wire Brai สัญญาณร ถัก เช่น 60 มากก็ยิ่งช่ว และป้ องกั 4. Jacket (เป ภายนอกจ ภายนอกไ ยล) หรือ “สายแ วกันนั่นเอง สาย รณ์คอมพิวเตอ or (ตัวนําสัญญ Steel)จะบอกเ นทองแดงล้วนเ ถุ (ฉนวนหุ้ม) ทํ d Shield (ชิลด รบกวน และกา 0% 90% 95% วยในการนําสัญ ันการกวนของส ปลือกหุ้มสาย จะใช้วัสดุที่เป็น ด้ ส แกนร่วม” หรือ ย RG6 ส่วนใหญ ร์ ส่วนประกอบ ญาณ) ส่วนใหญ ป็น % ของทอง พราะ ราคาทอ าหน้าที่ป้ องกัน ด์หรือเส้นถัก) รกระจายของสั สูงสุดอยู่ที่ 95% ญญาณได้ดี แล สัญญาณจากภ ) ทําหน้าที่หุ้มส น PE (Polyethy สายนําสัญ อ RG (Radio G ญ่แล้วนิยมใช้ใ บหลักๆ จะประก ญ่แล้วจะเป็นเห งแดงหุ้มหรือบา องแดงราคาสูง นสัญญาณรบก ) ส่วนใหญ่ทําจ สัญญาณออกม % หรือจํานวนข ละป้ องกันสัญญ ภายนอกได้ดี สายทั้งหมด ถ้า ylene ) ซึ่งมีคุณ ญญาณ Guide) หรือ สา ในงานด้านกล้อ กอบไปด้วย หล็กหุ้มด้วยทอง างครั้งจะใช้เป็น และกระแสไฟฟ้ วน จะใช้เป็นโฟ จากอลูมิเนี่ยมแ มาภายนอก จะบ ของเส้นที่ใช้ใน ญาณรบกวนจา าใช้ภายในจะทํ ณสมบัติสามาร ายนําสัญญาณ องวงจรปิด สาย งแดง ถ้าหุ้มด้วย นทองแดงล้วนไ ฟ้ าส่วนใหญ่จะไ ฟม หรือ PE แล้ และทองแดง ป้ อ บอกเป็น % คือ การถัก เช่น 11 ากภายนอก ทําใ ทําด้วย PVC (P รถป้ องกันนํ้าแล ณวิทยุ เพื่อป้ อง ยอากาศทีวี สาย ยทองแดง CCS ไปเลย สาเหตุที ะไหลผ่านตัวนํา ล้วหุ้มทับด้วยเท องกันการแพร่ก อพื้นที่ความหน 12, 120, 124, ให้เดินได้ในระ Polyvinylchlor ละทนแดด สาม หน้า 40 งกันการสับสน ยจาน S (Copper ที่ส่วนใหญ่ไม่ ที่บริเวณพื้นที่ ทปอลูมิเนียม กระจายของ นาแน่นที่ในการ 144 เส้นยิ่ง ยะที่ไกลขึ้น ide) ส่วน มารถใช้ 0
  • 41. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 41   สายนําสัญญาณทุกแบบถูกผลิตตามมาตรฐาน MIL – C -17 ในกิจการทางด้านทหารของสหรัฐอเมริกา และ JIS C 3501 ของประเทศญี่ปุ่น ซึ่งบริษัทผู้ผลิตต่างๆ จะนํามาผลิตสายนําสัญญาณยี่ห้อของตนตามมาตรฐานจําพวกนี้และกําหนด เบอร์ของสายออกมา ซึ่งจะบอกคุณลักษณะของสายนําสัญญาณ เช่น มาตรฐาน MIL- C -17 เช่น RG-58 A/U - RG ย่อมาจาก Radio Guide ก็คือสายนําสัญญาณวิทยุนั่นเอง - 58 เป็นเบอร์ของสาย อักษรตัวแรก อาจมีหรือไม่มีก็ได้แสดงการเพิ่มเติมหรือเปลี่ยนแปลงวัสดุ เช่น เปลือกหุ้ม จํานวนลวดตัวนํา อิมพีแดนซ์เปลี่ยนแปลงเล็กน้อย การสูญเสียต่างกันเล็กน้อย - /U หมายถึง Utility หรือ Universal คือการใช้วานทั่วไป มาตรฐาน JIS C 3501 เบอร์ของสายนําสัญญาณจะขึ้นต้นด้วยตัวเลข เช่น 3C-2V 5D-FB ตัวเลขตัวแรก คือ ขนาดเส็นผ่าศูนย์กลางภายนอก โดยประมาณ ของไดอิเล็กทริก อักษรหลังตัวเลข คือ ค่าอิมพีแดนซ์ C = 75 โอมห์ D = 50 โอมห์ อักษรหลังขีด แสดงวัสดุที่ทําไดอิเล็กทริก F คือ โฟม ถ้าเป็นเลข 2 คือ PE อักษรตัวสุดท้าย แสดงลักษณะของชิลด์ และเปลือกหุ้มสาย B = ชิลด์ทองแดง + ชิดล์ อะลูมืเนียม + PVC E = ชีลด์ทองแดง + PE L = ชีลด์อะลูมิเนียม + PVC N = ชิลด์ทองแดง + ไนล่อยถัก V = ชีลด์ทองแดง + PVC W = ชิลด์ทองแดงทักสองชั้น + PVC
  • 42. แซทเ   คือกล คุณส รองรับ แบบใ เครื่อง ฟรีไม่ ข้อมูล ทลไลท์ ทูยู ล่องรับสัญญาณ มบัติเป็นหลัก บระบบ OTA ( ใดได้บ้างเช่น B งรับสัญญาณส่ ค่าบริการใดๆ ลผ่านระบบเน็ต ณดาวเทียม ซึ่ง เช่น รองรับการ Over The Air BissKey, Irdeto ส่วนใหญ่ในท้อง ยังมีเครื่องรับที่ ตเวิร์คได้ รวมไป เครื่องรับ มีคุณลักษณะที รถอดรหัสสัญาณ r) หรือการอัพเด o, Conax, Viac งตลาดแบบราค ที่มีคุณสมบัติที่สู ปถึงรองรับระบ บสัญญา ที่แตกต่างกันไป ณภาพแบบใด ดรทข้อมูลจาก ccess, ฯลฯ คาถูกจะเป็นชนิ สูงขึ้นอีก เช่นเสี บบการการบันทึ าณ Rece ป เช่น DVB-S, ที่นิยมกันมากใ ดาวเทียมหรือไ นิด Free To Air สียบการ์ดดูราย ทึกข้อมูลหรืออัด eiver DVB-S2 การเ ในตอนนี้คือ M ไม่ สามารถรอง r หรือ FTA คือใ การที่มีค่าบริก ดรายการไว้ดูย้อ เลือกซื้อให้คํานึ Mpeg2, Mpeg งรับการการเข้า ใช้รับดูรายการ การได้ หรือ สาม อนหลังได้ หน้า 42 นึงถึง 4, H.264 รหัสสัญญาณ รที่ปล่อยให้ดู มารถแชร์ 2
  • 43. แซทเ   การกํ ว่ามีสิ่ ถ้าตํา ปัญห ทลไลท์ ทูยู าหนดพื้นที่ติดต สิ่งหนึ่งสิ่งใดบด าแหน่งที่เราจะต หาได้ ก ตั้งจานดาวเทีย บังระหว่างหน้า ตั้งหน้าจานดาว การกําห ยมนั้น เมื่อเราท าจานกับดาวเที วเทียมนั้นมีสิ่งกี หนดพื้น ทราบมุมส่ายแล ทียมหรือไม่ กีดขว้างบดบังอ นที่การติ ละมุมง้มของหน้ อยู่ให้หลีกเลี่ยง ติดตั้ง น้าจานแล้วนั้นใ เพราะจะทําให้ ให้ทําการมองไป ห้การรับสัญญา หน้า 43 ปยังทิศนั้นๆ ารนั้นเกิด 3
  • 44. แซทเทลไลท์ ทูยู หน้า 44   ภาคผนวก สามหลักการง่ายๆ ในการติดตั้งจานดาวเทียม 1. ปรับค่า F/D ของ LNB ให้สัมพันธ์กับหน้าจาน 2. ปรับมุมง้ม 3. ปรับมุมส่าย EL : ELEVETION มุมง้ม AZ : AZIMUTH มุมส่าย www.sat2you.com เว็บไซต์แหล่งค้นคว้าเกี่ยวกับจานดาวเทียม www.facebook.com/satellite2u แฟนเพจรายการแซทเทลไลท์ ทูยู www.lyngsat.com เว็บไซต์ที่รวบรวมความถี่ดาวเทียมทุกดวง www.satbeams.com เว็บไซต์ที่รวบรวม Footprint ของดาวเทียมแต่ละดวง รายการ SATELLITE 2U ออกอากาศทางดาวเทียม Thaicom5 ความถี่ 3824 V 2222 ทุกวันพุธเวลา 20.00-21.00 น. และวันเสาร์-อาทิตย์ เวลา 13.00-14.00 น. Sun Outage คือ ปรากฎการณ์ที่เกิดจากดวงอาทิตย์โคจรมาอยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกันกับดาวเทียม และ จานรับสัญญาณภาคพื้นดาวเทียมสัญญาณรบกวนที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์ในขณะที่มีการใช้งานสื่อสาร ผ่านดาวเทียม ทําให้คุณภาพของสัญญาณที่ได้รับตํ่าลงในช่วงเวลาดังกล่าวแต่ปรากฎการณ์ Sun Outage จะเกิดขึ้นในช่วงเวลาสั้น ๆ เท่านั้น และสามารถพยากรณ์การเกิดขึ้นได้ล่วงหน้าจึงไม่ค่อยมีผลกระทบต่อ ผู้ใช้งานดาวเทียมมากเท่าใด ซึ่ง Sun Outage จะเกิดขึ้นปีละ 2 ครั้ง ส่วนวันและเวลาที่เกิดขึ้นนั้นขึ้นอยู่กับ ตําแหน่งของดาวเทียม และจานรับสัญญาณภาคพื้นดิน