SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  88
การวัดและการสร้าง
เครื่องมือ
ดร.จิตติมาภรณ์ สีหะวงษ์
jeed32@hotmail.com
081 - 5472132
(FB) Jeed Jittimaporn
ที่ทำางาน : คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
1. เข้าใจความหมาย หลักการ
การวัด รวมถึงการสร้างเครื่อง
มือวัดได้ถูกต้อง
2. อธิบายคุณสมบัติสำาคัญของ
เครื่องมือวิจัยที่มีคุณภาพได้ถูก
ต้อง
3. สามารถสร้างและตรวจสอบ
คุณภาพความตรงตามเนื้อหา
และความเที่ยงของเครื่องมือ
 ความหมาย
ยังมีความเข้าใจคลาดเคลื่อนเกี่ยวกับ การวัด และ
การวัดผล บางคนเข้าใจว่า 2 คำานี้เป็นคำาเดียวกัน
มีความหมายเหมือนกัน เพราะมาจากภาษาอังกฤษคำา
เดียวกันคือ measurement แต่ในภาษาไทย 2 คำานี้
มีความหมายแตกต่างกันเล็กน้อย ดังนี้
 การวัด เป็นกระบวนการกำาหนดตัวเลขหรือ
สัญลักษณ์แทนปริมาณหรือคุณภาพของคุณลักษณะ
หรือคุณสมบัติของสิ่งที่ต้องการวัด
 การวัดผล เป็นกระบวนการกำาหนดตัวเลขหรือ
สัญลักษณ์แทนปริมาณหรือคุณภาพของคุณลักษณะ
หรือคุณสมบัติของสิ่งที่ต้องการวัด โดยสิ่งที่ต้องการ
วัดนั้นเป็นผลมาจากการกระทำาหรือกิจกรรมอย่างใด
1. การวัดทางตรง เป็นการวัด
คุณลักษณะที่ต้องการวัดได้
โดยตรง เรียกอีกอย่างว่า การวัด
ด้านวิทยาศาสตร์ หรือการวัดทาง
กายภาพ
2. การวัดทางอ้อม เป็นการวัด
คุณลักษณะที่ต้องการโดยตรงไม่
ได้ สิ่งที่วัดเป็นนามธรรม ต้องวัด
การวัดทางอ้อมแบ่งออกเป็น 3
ด้านคือ
2.1 ด้านสติปัญญา (Cognitive
Domain)
2.2 ด้านความรู้สึก (Affective
Domain)
2.3 ด้านทักษะกลไก
(PsychomotorDomain)
องค์ประกอบของการวัดประกอบ
ด้วย
สิ่งที่ต้องการวัด
เครื่องมือวัด
ผลของการวัด
ที่สำาคัญที่สุด คือ เครื่องมือวัด
เครื่องมือที่มีคุณภาพจะให้ผล
การวัดที่เที่ยงตรงและแม่นยำา
 
 ปัญหา (สิ่งที่จะวัด) นายเก่ง
หนักเท่าไหร่
 เครื่องมือวัด (วิธีการวัด) ตาชั่ง
 ผลการวัด (ข้อมูล) 80
กิโลกรัม
การจะดำาเนินการวัดผลสิ่งใด หรือในโอกาสใดก็ตาม
ผู้วัดย่อมต้องการผลการวัดที่มีคุณภาพ เช่น ให้เชื่อถือได้
ให้ตรงกับความเป็นจริง เพื่อจะนำาผลไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์อย่างมั่นใจ การที่จะดำาเนินการตามความ
ต้องการดังกล่าวนั้น จำาเป็นต้องมีหลักเกณฑ์ที่ดีสำาหรับ
ยึดถือเป็นแนวทางของการปฏิบัติ หลักเกณฑ์หรือองค์
ประกอบสำาคัญที่ถือว่าเป็นหลักของการวัดผลการศึกษา
มีดังนี้
1. วัดให้ตรงกับวัตถุประสงค์ที่ต้องการ
1.1 ทำาความเข้าใจคุณลักษณะที่ต้องการวัด
1.2 ใช้เครื่องมือให้เหมาะสมถูกต้อง
1.3 วัดให้ครบถ้วนทุกแง่ทุกมุม
2. ใช้เครื่องมือวัดผลที่หลากหลายและมีคุณภาพ
3. มีความยุติธรรม
3.1 เครื่องมือที่ใช้
- วัดครอบคลุมทุกเรื่องทุกแง่มุม
- ไม่ควรให้ผู้เลือกตอบเพียงบางข้อได้ เช่น
ออกข้อสอบ 6 ข้อให้เลือกทำา 3 ข้อ
- ใช้ภาษาชัดเจน ไม่วกวน
- คำาถามไม่ควรตอบกันเอง เช่น ข้อหลัง ๆ
แนะนำาคำาตอบของข้อแรก ๆ เป็นต้น
- ควรใช้แบบทดสอบชุดเดียวกัน หากใช้
ข้อสอบคนละชุดจะมีความยากง่ายแตกต่างกัน
3.2 การใช้เครื่องมือ
- บอกใบ้คำาตอบระหว่างที่มีการสอบวัด
- ส่งเสียงรบกวนระหว่างที่ผู้สอบใช้ความคิด
- ใช้เครื่องมือที่พิมพ์ผิดมาก ๆ ไม่มีคำาตอบถูก
หรือมีคำาตอบถูกหลายตัว
- ทำาเฉลยผิด ตรวจผิด ให้คะแนนอย่างไม่มี
หลักเกณฑ์
4. ประเมินผลได้ถูกต้อง
5. ใช้ผลการวัดให้คุ้มค่า
- เด็กคนนี้มีความสามารถ เด่น – ด้อย
ด้านไหน
- เด็กงอกงามมากขึ้นเพียงใด
- เครื่องมือที่ใช้มีคุณภาพอย่างไร
1. ขั้นวางแผน
1.1 กำาหนดจุดมุ่งหมาย
- สอบใคร เพื่อทราบระดับความยากง่ายที่เหมาะกับกลุ่มผู้
สอบ
- สอบไปทำาไม เพื่อทราบชนิด/ลักษณะเครื่องมือที่ใช้
- สอบอะไร เพื่อทราบสิ่งที่ต้องการวัด
1.2 กำาหนดสิ่งที่จะวัด คือพยายามกำาหนดว่าเนื้อหา
ใด คุณลักษณะหรือพฤติกรรมใดที่ต้องการสอบวัด แต่ละ
เนื้อหาและพฤติกรรมนั้น ๆ จะวัดมากน้อยเพียงใด
1.3 กำาหนดเครื่องมือ การวัดคุณลักษณะหรือ
พฤติกรรมที่ต้องการนั้น ควรใช้เครื่องมืออะไรบ้าง จึงจะ
วัดได้ตรงตามความต้องการได้อย่างครบถ้วน
- รูปแบบคำาถามที่ใช้
- จำานวนข้อคำาถามและเวลาที่ใช้ในการวัด
- วิธีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ
- ผู้รับผิดชอบในการสร้างเครื่องมือ
- กำาหนดเวลาในการสร้างเครื่องมือ
- วิธีการที่จะให้ผู้ตอบ
- วิธีการตรวจให้คะแนน และการบันทึกผลคะแนน
2. ขั้นดำาเนินการสร้างเครื่องมือ
2.1 เขียนข้อคำาถาม
2.2 พิจารณาคัดเลือกข้อคำาถาม
2.3 พิจารณาข้อคำาถามทั้งหมดที่ใช้
2.4 พิมพ์และอัดสำาเนาเครื่องมือ
2.5 ทำาเฉลย
2.6 จัดเตรียมเครื่องมือที่จะใช้
3. ขั้นใช้เครื่องมือ เป็นการนำาเครื่องมือไป
ทดสอบกับผู้เรียน โดยต้องดำาเนินการสอบ
ให้เกิดความยุติธรรมแก่ผู้เข้าสอบทุกคน
พยายามหลีกเลี่ยงการรบกวนเวลาในการ
คิดของผู้เรียน ควรชี้แจงวิธีคิดคำาตอบ
ชี้แจงวิธีการตอบ
4. ขั้นตรวจและใช้ผลการวัด
4.1 แปลงคำาตอบของผู้เรียนให้เป็นคะแนน
ตามเกณฑ์ที่กำาหนด แล้วจดบันทึก
4.2 รวบรวมคะแนนของผู้เรียนที่ได้จาก
การวัดทุกชนิด ทุกระยะเพื่อนำาไปใช้ใน
การประเมินผลและใช้ผลตามจุดมุ่งหมายที่
ต้องการ
5. การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ นำาผล
การวัดมาใช้ประโยชน์ในการตรวจสอบ
คุณภาพของเครื่องมือเป็นรายข้อและทั้ง
ฉบับเพื่อใช้พิจารณาว่าข้อสอบนั้นมี
คุณภาพมากน้อยเพียงใด ควรแก้ไข
ปรับปรุงในเรื่องใด รวมทั้งยังช่วยเก็บ
รวบรวมข้อสอบที่ดีเอาไว้ใช้ต่อไป
1 เครื่องมือวัดความรู้
2. เครื่องมือวัดความคิดเห็น
3. เครื่องมือวัดพฤติกรรม
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล คือ การดำาเนินการที่จะทำาให้ได้ข้อเท็จ
จริง ประจักษ์พยาน หลักฐานต่างๆ ที่จะใช้ในการประเมินจำาแนกได้
2 ประเภท
1. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งปฐมภูมิ เป็นวิธีการเก็บรวบรวม
ข้อมูลโดยตรงจากแหล่งผู้ให้ข้อมูลด้วยวิธีต่างๆ เช่น สอบถาม
สนทนา สัมภาษณ์ สังเกต ทดสอบ ประชุมระดมสมอง เป็นต้น
2. การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งทุติยภูมิ เป็นการรวบรวมข้อมูลที่
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การทดสอบ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยวัดความรู้ความสามารถ
ทาง
สมองของนักเรียนตามจุดมุ่งหมาย และเนื้อหาที่กำาหนดไว้ในหลักสูตร
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ของนักเรียน
- การทดสอบข้อเขียน
- การทดสอบปากเปล่า
การสอบถามหรือการสำารวจ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้ชุดของ
คำาถามเกี่ยวกับเรื่องใดเรื่องหนึ่งให้กับกลุ่มผู้ตอบได้เขียนตอบ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสังเกต เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยการเฝ้าดูสิ่งของ ปรากฏการณ์
การปฏิบัติงาน พฤติกรรมของบุคคลตามสภาพความเป็นจริง โดยใช้ประสาท
สัมผัส
ต่างๆ แล้วบรรยายหรือบันทึกเหตุการณ์ต่างๆ ที่เห็นตามความสำาคัญหรือตัวบ่งชี้
ที่
กำาหนดไว้
- การสังเกตแบบมีส่วนร่วม
- การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม
การสัมภาษณ์ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับความคิด ความรู้สึกความ
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การสนทนากลุ่ม เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มผู้ทรงคุณวุฒิที่มี
ลักษณะทางเศรษฐกิจ สังคม อาชีพ หรือภูมิหลังต่างๆ ใกล้เคียงกัน โดย
การพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น มีการตัดสินใจ ตลอดจนการให้
เหตุผล
อย่างกว้างขวาง
- ใช้สะท้อนความคิดต่อผลการวิจัย
การวิเคราะห์เอกสาร เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการแยกแยะ
ข้อมูลในประเด็นต่างๆ จากเอกสาร บทความ ตำารา งาน
ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือวิจัย
. กำาหนดสิ่งที่ต้องการจะวัด
. นิยามสิ่งที่ต้องการวัด
. เลือกประเภทของเครื่องมือ
. สร้างเครื่องมือ
. ตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือ
1. กำาหนดสิ่งที่ต้องการจะวัด
ต้องการข้อมูลอะไรบ้าง
ขอบเขตของสิ่งที่ต้องการ
จะวัด
มาตราของสิ่งที่ต้องการ
1. ระดับนามบัญญัติ (nominal scale)
2. ระดับเรียงอันดับ (ordinal scale)
3. ระดับช่วง (interval scale)
4. ระดับอัตราส่วน (ratio scale)
มาตรวัด
1. มาตรวัดนามบัญญัติ (Nominal Scale)
หมายถึง ตัวเลขที่กำาหนดให้แก่ลักษณะของ
สิ่งของ
หรือเหตุการณ์เพียงเพื่อบ่งบอก แบ่งแยก หรือ
จัด
2. มาตรวัดอันดับ (Ordinal Scale) หมายถึง ตัวเลขที่วัด
ลักษณะของสิ่งของหรือ เหตุการณ์ ที่จะศึกษาที่มีความ
ละเอียดมากขึ้น โดยสามารถระบุความมากน้อยของ
ลักษณะที่วัดได้ แต่ยังไม่สามารถบอกได้ว่าลักษณะดัง
กล่าวมากกว่าหรือน้อยกว่ากันเท่าใด การวัดลักษณะนี้
จึงสนใจการเรียงลำาดับของกลุ่ม โดยไม่คำานึงถึงระยะ
3. มาตรวัดอันตรภาค (Interval Scale)
หมายถึง การกำาหนดค่าตัวเลขโดยผลการวัดมี
หน่วยแทนปริมาณที่วัดได้ แต่ละหน่วยมีช่วง
ห่างระหว่างตัวเลขเท่า ๆ กัน สามารถนำาตัวเลข
มาเปรียบเทียบกันได้ว่าว่ามีปริมาณมากน้อย
เท่าใด แต่ผลการวัดตามมาตรวัดอันตรภาคยัง
4. มาตรวัดอัตราส่วน (ratio scale) เป็นระดับการวัดขั้น
สูงสุด โดยมาตรวัดอัตราส่วนมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับ
มาตรวัดอันตรภาคทุกอย่าง แต่ที่มีเพิ่มเติม คือ เป็นมาตร
วัดที่มีจุดศูนย์สัมบูรณ์หรือมีจุดเริ่มต้นที่เป็นธรรมชาติ
เช่น ยอดขาย กำาไร ขาดทุน รายได้ของผู้บริโภค
ต้นทุนการผลิต เป็นต้น มาตรวัดลักษณะนี้สามารถเลือก
กำาหนดหมายเลขให้แก่ลักษณะของสิ่งของหรือ
ข้อมูลที่เก็บรวบรวม : พฤติกรรมผู้ใช้บริการ
ห้างสรรพสินค้า ซุนเฮง
คำาถามแบบมาตรวัดนามบัญญัติ
ท่านมาใช้บริการห้างสรรพสินค้า ซุน
เฮง หรือไม่
_________ ใช้ _________ ไม่
ใช้
คำาถามแบบมาตรวัดอันดับ
ท่านมาซื้อสินค้าที่ห้างสรรพสินค้า ซุน
ตัวอย่างคำาถามแยกตามประเภทมาตรวัด
คำาถามแบบมาตรวัดอันตรภาค
ความพึงพอใจของผู้ใช้บริการห้าง
สรรพสินค้า ซุนเฮง
พึงพอใจ
ไม่พึงพอใจ
จำานวนสินค้าให้เลือก 5 4
3 2 1
บริการที่หลากหลาย 5 4
3 2 1
การให้บริการของพนักงาน 5
2. นิยามสิ่งที่ต้องการวัด
ตัวอย่างเช่น
“งานวิจัยเรื่อง การรับรู้ความเสี่ยงของผู้บริโภคในการ
ซื้อ
”สินค้าอุปโภคบริโภคในห้างสรรพสินค้า
สิ่งที่ต้องนิยาม คือ
• การรับรู้ความเสี่ยง
การรับรู้ความเสี่ยง หมายถึง ความสามารถในการ
ประเมินค่าความเสี่ยงที่ผู้บริโภคต้องเผชิญในการตัดสิน
ใจซื้อสินค้าและบริการในห้างสรรพสินค้า ได้แก่
-ความเสี่ยงด้านหน้าที่ของสินค้า หมายถึง
คุณสมบัติ ลักษณะต่าง ๆ ของสินค้าอุปโภคบริโภค
ได้แก่ คุณภาพ ความสะอาด ความสดใหม่ ความ
นิยามศัพท์
ตัวอย่างเช่น
“งานวิจัยเรื่อง การประเมินคุณลักษณะบัณฑิตที่พึง
ประสงค์” สิ่งที่ต้องนิยาม คือ คุณลักษณะบัณฑิตที่พึง
ประสงค์ ซึ่งประกอบด้วย
• ความรับผิดชอบ
• ความมีวินัย
• ความขยันหมั่นเพียร
• ความซื่อสัตย์สุจริต
นิยามศัพท์และตัว
บ่งชี้
นิยามศัพท์ ตัวชี้วัด
ความรับผิดชอบ
ความมุ่งมั่นตั้งใจปฏิบัติ
หน้าที่ของตนอย่างเต็ม
ความสามารถ เพื่อให้
บรรลุเป้าหมายตามเวลา
โดยรู้จักสิทธิและหน้าที่
ต่อตนเองและผู้อื่นพร้อม
ทั้งยอมรับผลการกระทำา
ของตนเอง
ของกลุ่มเพื่อปรับปรุง
แก้ไขให้ดีขึ้น
1. มุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่ของ
ตนอย่างเต็มความ
สามารถเพื่อให้งานบรรลุ
ผลสำาเร็จตามเป้าหมายที่
ตั้งไว้ภายในเวลาที่
กำาหนด
2. รู้จักสิทธิและหน้าที่ต่อ
ตนเองและผู้อื่น
3. ยอมรับการกระทำาของ
ตนเองและของกลุ่มเพื่อ
ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น
3. เลือกประเภทของเครื่องมือ
เมื่อใดจะเลือกใช้เครื่องมือชนิดใดขึ้นอยู่กับ
วัตถุประสงค์ของงานวิจัย
ข้อมูลที่ต้องการและวิธีการเก็บรวบรวม
ลักษณะของผู้ตอบ
งบประมาณ ระยะเวลา สถานที่
วิธีการ ตัวอย่างเครื่องมือ
การทดสอบ แบบทดสอบ
การรายงานตนเอง
แบบทดสอบ
-แบบสอบถาม
- แบบสำารวจ
รายการ
- แบบบันทึก
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
วิธีการและเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ตัวแปรการ
วิจัย
วิธีการเก็บรวม
รวมข้อมูล
เครื่องมือเก็บ
รวบรวมข้อมูล
ด้านความรู้
ความสามารถ
การทดสอบ
การสัมภาษณ์ (สอบ
ปากเปล่า)
การประเมินทักษะ
การประเมินผลงาน
แบบทดสอบ
แบบสัมภาษณ์
แบบประเมินทักษะ
แบบประเมินผลงาน
ด้านความคิด
เห็น
ความพึงพอใจ
การสอบถาม
การสัมภาษณ์
การสนทนากลุ่ม
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
แบบรายการประเด็น
การสนทนากลุ่ม
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร
วิธีการและเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล
ตัวแปรการวิจัย วิธีการเก็บรวมรวม
ข้อมูล
เครื่องมือเก็บรวบรวม
ข้อมูล
ความรู้สึก ความ
เชื่อ
ความสนใจ
เจตคติ
บุคลิกภาพ
การวัดความรู้สึก
ความเชื่อ
การสำารวจความ
สนใจ
การวัดเจตคติ
การวัดบุคลิกภาพ
แบบวัดทางจิตวิทยา
แบบสำารวจความ
สนใจ
แบบวัดเจตคติ
แบบวัดบุคลิกภาพ
ด้านพฤติกรรม การสังเกต
การสอบถาม
การสัมภาษณ์
แบบสังเกต/แบบ
บันทึกพฤติกรรม/แบบ
ตรวจสอบรายการ
แบบสอบถาม
แบบสัมภาษณ์
4. สร้างเครื่องมือ
ความคิดเห็น
ข้อเท็จจริง ความสนใจ ความต้องการ ความคาดหวัง และ
ลักษณะต่าง ๆ
ที่ต้องการทราบโดยผู้ตอบอ่านและตอบด้วยตนเอง
แบบสอบถามมี
จุดมุ่งหมายเพื่อบรรยาย อธิบาย สำารวจและหาความสัมพันธ์
ระหว่าง
ตัวแปรที่ต้องการศึกษา เช่น พฤติกรรมผู้บริโภค ด้วยวิธี
รายงานตนเอง
ของกลุ่มตัวอย่าง เพราะฉะนั้นแบบสอบถามจึงเป็นเครื่องมือ
ข้อดี ข้อจำากัด
1. ใช้ได้ง่าย สะดวกและประหยัดเวลา
ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
1. ผู้สร้างต้องแน่ใจว่าคำาตอบที่กำาหนดให้
เป็นคำาตอบที่เป็นไปได้ทั้งหมด
2. สามารถใช้เก็บข้อมูลกับกลุ่มตัวอย่าง
ขนาดใหญ่
2. ผู้ตอบแบบสอบถามอาจไม่ตั้งใจหรือไม่
จริงใจในการให้ข้อมูล หรือให้ผู้อื่นตอบ
แบบสอบถามแทน
3. สามารถวิเคราะห์และแปลผลได้ง่าย 3. ข้อมูลที่ได้อาจจะไม่ใช่ข้อเท็จจริง ถ้าผู้
ตอบมีความโน้มเอียงที่จะตอบคำาตอบที่
ทำาให้ตนเองดูเป็นคนดี
4. ถ้าคำาถามไม่ชัดเจน ผู้ตอบมีความเข้าใจ
ที่ไม่ตรงกัน จึงอาจจะไม่ตอบคำาถามหรือ
อาจจะตอบไม่ตรงตามสิ่งที่ผู้วิจัยต้องการ
5. ถ้าคำาถามเป็นแบบปลายเปิด ส่วนใหญ่ผู้
ตอบอาจจะไม่ค่อยเขียนแสดงความคิดเห็น
ทำาให้ไม่ได้ข้อมูลครบถ้วนตามที่ต้องการ
6. ใช้ได้กับคนบางกลุ่มที่อ่านออกเขียนได้
เท่านั้น
รูปแบบของแบบสอบถามรูปแบบของแบบสอบถาม
1. แบบคำาถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธ
2. แบบคำาถามหลายตัวเลือก
3. แบบตรวจสอบรายการ
4. แบบจัดอันดับ
5. แบบสเกลการจัดลำาดับทัศนคติ
ท่านเคยมีประสบการณ์ทางด้านการวิจัยหรือไม่
 1. ไม่เคย
 2. เคย (ตอบคำาถามข้อ 2.1 -2.2)
2.1 จำานวนปีที่ทำางานด้านการวิจัย...........ปี
ตัวอย่างของแบบสอบถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธตัวอย่างของแบบสอบถามให้ตอบรับหรือปฏิเสธ
ตัวอย่างของแบบคำาถามหลายตัวเลือกตัวอย่างของแบบคำาถามหลายตัวเลือกการส่งเสริมการตลาดแบบใดที่สามารถจูงใจให้ท่านซื้อขนม
ขบเคี้ยว
มากที่สุด
 1. โฆษณา  2. การแสดงสินค้า ณ จุด
ขาย
 3. การแจกของรางวัล  4. การชิงโชค
 5. ของแถม  6. อื่น ๆ (โปรดระบุ)..........
ตัวอย่างของแบบตรวจสอบรายการตัวอย่างของแบบตรวจสอบรายการ
ใครมีส่วนร่วมในการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งที่ท่านใช้อยู่ในขณะนี้
(ตอบได้มากกว่า 1 ข้อ)
 1. ท่านเป็นผู้ตัดสินใจซื้อผู้เดียว
 2. สามี/ภรรยามีส่วนในการตัดสินใจซื้อ
 3.บุตร/หลานมีส่วนในการตัดสินใจซื้อ
 4. เพื่อนมีส่วนในการตัดสินใจซื้อ
 5. อื่น ๆ (โปรดระบุ)...................................
ตัวอย่างของแบบจัดอันดับตัวอย่างของแบบจัดอันดับ
สื่อใดที่มีอิทธิพลต่อการเลือกซื้อ
(เลือกคำาตอบโดยจัดอันดับ 1- 5 โดยเขียนเลขอันดับลงในช่อง
หน้า
สื่อที่กำาหนดให้)
------------- โฆษณาทางโทรทัศน์
------------- วิทยุกระจายเสียง
------------- นิตยสารหนังสือพิมพ์
------------- อินเทอร์เน็ต
------------- แผ่นพับสินค้า
ตัวอย่างของแบบสเกลการจัดลำาดับทัศนคติตัวอย่างของแบบสเกลการจัดลำาดับทัศนคติ
วัดลิเคิร์ท ประกอบด้วย ข้อความและตัวเลือกให้ผู้ตอบเลือกตอบ เช่น เห็นด้วย
ห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง ดังตัวอย่าง
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการ
ใช้บริการ
ระดับความคิดเห็น
มาก
ที่สุด
มาก ปาน
กลา
ง
น้อย น้อย
ที่สุด
ด้านข้อมูลที่ได้รับจากการบริการ
1. ข้อมูลที่ได้รับมี
ความทันสมัย
    
2. ข้อมูลที่ได้รับมี
ความถูกต้องแม่นยำา
    
    
ตัวอย่างของแบบสเกลการจัดลำาดับทัศนคติตัวอย่างของแบบสเกลการจัดลำาดับทัศนคติ
มแบบนัยจำาแนก เป็นมาตรวัดความแตกต่างของความหมายของคำา
ยข้อคำาถาม มีคำาคุณศัพท์ที่มีลักษณะตรงข้าม และมีช่องว่างให้ผู้ตอบ
วามคิดเห็นของตนเอง โดยมีช่องประเมินตั้งแต่ 1 ถึง 7 ช่อง ผู้ตอบ
ตอบที่ดีที่สุดตามความคิดเห็นของผู้ตอบ ดังตัวอย่าง
ทักษะด้าน
ความคิด
ตัวเลือก
1. ลักษณะการ
ทำางาน
ชอบงานแบบเดิม ____ : ____ : ____ : ____ : ___
ชอบงานใหม่ๆ
1 2 3 4 5
2. ความ
สามารถใน
การแก้ไข
ปัญหาเฉพาะ
หน้า
ปล่อยให้ปัญหา ____ : ____ : ____ : ____ : ____
ชอบแก้ปัญหา
คลี่คลายเอง 1 2 3 4
5
ตัวอย่างของแบบสเกลการจัดลำาดับทัศนคติตัวอย่างของแบบสเกลการจัดลำาดับทัศนคติ
3. คำาถามโดยใช้มาตรวัดแบบสเตเปิล (staple scale) เป็นการวัด
ทัศนคติ
ซึ่งกำาหนดตัวเลข โดยคะแนนในช่องที่กำาหนดเป็น 10 ช่องตั้งแต่
+5 ไปจนถึง-5
หมายถึง ระดับความพอใจระดับมากถึงน้อยมีค่า +5 ถึง +1 ตามลำาดับ
มายถึง ระดับความไม่พอใจระดับมากถึงน้อยมีค่า -1 ถึง -5 ตามลำาดับ
ัวอย่างเช่น การให้บริการของห้างสรรพสินค้า
-5 -4 -3 -2 -1 0 +1 +2 +3 +4 +5
เร็ว           
สะดวก          
กันมาก มีลักษณะประกอบด้วยข้อความและ
ตัวเลือกให้ผู้ตอบ
เลือกตอบ เช่น เห็นด้วยอย่างมาก เห็นด้วย
ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย
และไม่เห็นด้วยอย่างมาก หรือเหมาะสมมาก
ที่สุด เหมาะสมมาก
เหมาะสมปานกลาง ไม่เหมาะสม และไม่
เหมาะสมมากที่สุด
มาตรประมาณค่าส่วนใหญ่ใช้ในการวัด
4.2 มาตรประมาณค่า4.2 มาตรประมาณค่า
ข้อดี ข้อจำากัด
1. ประเมินได้ละเอียด 1. ผู้ตอบไม่มีโอกาสได้
แสดงความคิดเห็น ต้อง
ตอบตามตัวเลือกที่
กำาหนดให้
2. สามารถเปรียบเทียบ
คำาตอบของ
ผู้ตอบได้
2. ผลการตอบของผู้
ตอบอาจจะมีความ
ลำาเอียง ทำาให้เกิด
ความคลาดเคลื่อนใน
การประเมินได้
3. มีรูปแบบที่หลาก
หลาย ทำาให้ผู้ตอบ
ไม่เบื่อหน่าย
3. ถ้ามีระดับความเข้ม
ของความรู้สึกเป็น
จำานวนคี่ เช่น 3, 5 ,7
รูปแบบของมาตรประมาณค่ารูปแบบของมาตรประมาณค่า
1. แบบตัวเลข
2. แบบบรรยาย
3. แบบกราฟ
4. แบบใช้สัญลักษณ์
ตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบตัวเลขตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบตัวเลข
ความคิดเห็นของผู้ใช้บริการที่มีต่อกลยุทธ์การตลาดของธุรกิจสปาใน
ประเทศไทย
คำาชี้แจง กรุณาทำาเครื่องหมายถูก () ลงในช่องสี่เหลี่ยม (  ) ที่ตรงกับ
ระดับ
ความคิดเห็นของท่านมากที่สุด โดย 5 หมายถึงเห็นด้วยมากที่สุด 4 หมาย
ถึงเห็นด้วยมาก
3 หมายถึงเห็นด้วยปานกลาง 2 หมายถึงเห็นด้วยน้อย 1 หมายถึงเห็นด้วย
น้อยที่สุด
กลยุทธ์การตลาด ระดับความคิดเห็น  
5 4 3 2 1
ด้านราคา
1. อัตราค่าบริการเหมาะสมและคุ้มค่ากับการให้
บริการ
   

2. อัตราค่าบริการมีผลต่อการตัดสินใจในแต่ละ
โปรแกรมที่
เลือกใช้บริการ
   

3. อัตราค่าสมัครสมาชิกคุ้มค่ากับสิทธิประโยชน์
ที่ได้รับ
    
ตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบบรรยายตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบบรรยาย
ามคิดเห็นต่อเครื่องสำาอางนำาเข้าจากต่างประเทศด้านภาพลักษณ
1.ชอบมากที่สุด
2.ค่อนข้างชอบ
3.รู้สึกเฉย ๆ
4.ไม่ค่อยชอบ
5.ไม่ชอบเลย
แบบบรรยาย (Descriptive rating) คล้ายกับแบบตัวเลข
ต่างกันตรงที่
ใช้เฉพาะข้อความบอกระดับความรู้สึก ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบกราฟตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบกราฟ
1. คุณภาพของผลิตภัณฑ์
มาก 5 4 3 2 1 น้อย
2. ชื่อเสียงของตรายี่ห้อ
มาก 5 4 3 2 1 น้อย
แบบกราฟ (Graphic rating scales) เป็นการใช้กราฟเส้นตรงแบ่งเขตระดับ
ความรู้สึก แล้วใช้ภาษา ตัวเลข หรือ ทั้งภาษาและตัวเลข ประกอบที่กราฟ
ดังตัวอย่าง
ตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบใช้สัญลักษณ์ตัวอย่างของมาตรประมาณค่าแบบใช้สัญลักษณ์
แบบใช้สัญลักษณ์ (Symbolic rating scales) เป็นแบบที่ใช้สัญลักษณ์
หรือรูปภาพ
เป็นคำาตอบซึ่งเหมาะสำาหรับเด็กเล็กที่ต้องการสื่อสารผ่านรูปภาพ
เนื่องจากมีข้อจำากัดด้าน
การอ่านหนังสือ หรือนำาไปใช้กับกลุ่มผู้ตอบที่มีลักษณะทาง
วัฒนธรรม หรือการสื่อสารที่
แตกต่างกัน โดยใช้สอบถามความรู้สึกที่เป็นภาพรวมทั้งหมดของสิ่ง
ที่ต้องการประเมิน
ดังตัวอย่าง
1. การให้บริการของเจ้าหน้าที่สำานักงานตรวจคนเข้าเมือง
  
2. การบริการของพนักงานโรงแรม
  
การสร้างมาตรประมาณค่า
1. รวบรวมประเด็น ตัวแปร กิจกรรม พฤติกรรม หรือตัว
บ่งชี้
ของสิ่งที่ต้องการวัดให้ครบถ้วน
2. ถ้าเป็นมาตรวัดเจตคติ ควรมีข้อความทั้งที่เป็นด้าน
บวกและ
ด้านลบ
3. กรณีที่เป็นการประเมินคุณค่า ควรมีเกณฑ์กำาหนดให้
เกณฑ์การให้คะแนนความคิดเห็นมี
2 ลักษณะ
คือ ความคิดเห็น/ข้อความที่เป็นบวก
หรือที่
สนับสนุนตัวแปรที่วัดและความคิด
เห็นต่อ
ข้อความที่เป็นลบหรือต่อต้าน
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับความคิดเห็น เกณฑ์การให้คะแนน
ข้อความบวก ข้อความลบ
เห็นด้วยอย่างยิ่ง 5 1
เห็นด้วย 4 2
ไม่แน่ใจ 3 3
ไม่เห็นด้วย 2 4
ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง 1 5
ปฏิสัมพันธ์กัน
แบบเผชิญหน้าระหว่างผู้สัมภาษณ์กับผู้ให้
สัมภาษณ์
แบบสัมภาษณ์ประกอบด้วยชุดของคำาถาม
เกี่ยวกับ
ข้อเท็จจริง ความคิดเห็น เจตคติและ
พฤติกรรมต่าง ๆ
ที่ผู้สัมภาษณ์ใช้ถามผู้ให้สัมภาษณ์ และเมื่อ
4.3 แบบสัมภาษณ์4.3 แบบสัมภาษณ์
ข้อดี ข้อจำากัด
1. ได้ข้อมูลที่ตรงตามความต้องการ
ของผู้วิจัย เนื่องจากผู้สัมภาษณ์มี
โอกาสได้อธิบายคำาถามให้ชัดเจนถ้า
ผู้ถูกสัมภาษณ์ไม่เข้าใจ
1. สิ้นเปลืองเวลา ค่าใช้จ่ายและ
แรงงานมาก
2. ได้ข้อมูลครบถ้วน เพราะผู้ถูก
สัมภาษณ์มีโอกาสตรวจสอบคำาถามที่
ไม่ได้ตอบ และมีโอกาสซักถามเพิ่ม
เติมในกรณีที่ได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน
2. ผู้สัมภาษณ์อาจจะไม่กล้าพูดเมื่อ
ต้องเผชิญหน้าตัวต่อตัวทำาให้ได้ข้อมูล
ไม่พอเพียง
3. ระหว่างการสัมภาษณ์ ผู้สัมภาษณ์
มีโอกาสกระตุ้นผู้ถูกสัมภาษณ์ให้
ตอบคำาถาม
3. ข้อมูลที่ได้อาจจะไม่เป็นจริง
เนื่องจากผู้ให้สัมภาษณ์วิตกกังวล กลัว
ว่าจะถูกเปิดเผยข้อมูล ซึ่งอาจจะมีผล
เสียต่อตนเองหน้าที่การงานและอื่น ๆ
4. ได้ข้อมูลเพิ่มเติมจากที่สัมภาษณ์
โดยสังเกตจากภาษากาย เช่น
สีหน้า ท่าทาง วาจา ไหวพริบ
ปฏิภาณ เป็นต้น
4. อาจไม่ได้รับความร่วมมือจากผู้ให้
สัมภาษณ์ เพราะไม่เห็นความสำาคัญ
หรือมีความเกรงกลัว หรือไม่มีเวลาจะ
ให้สัมภาษณ์
5. เหมาะสำาหรับผู้ที่มีปัญหาในการ
รูปแบบของแบบสัมภาษณ์รูปแบบของแบบสัมภาษณ์
1. แบบที่มีคำาตอบตายตัวหรือคำาถามปลาย
ปิด
2. แบบคำาถามปลายเปิด
3. แบบสเกล
ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์
แบบที่มีคำาตอบตายตัวหรือคำาถามปลายปิด
ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์
แบบที่มีคำาตอบตายตัวหรือคำาถามปลายปิด
แบบที่มีคำาตอบตายตัวหรือคำาถามปลายปิด เป็นข้อคำาถามที่มีคำาตอบให้ผู้ตอบ
เลือกตอบ ซึ่งตัวเลือกที่ให้เลือกอาจจะมี 2 ตัวเลือกหรือมากกว่า 2 ตัวเลือก แต่ที่ใช้
กันมากจะมี 2 ตัวเลือก เช่น ใช่-ไม่ใช่ เห็นด้วย-ไม่เห็นด้วย หรือบางทีอาจจะมีตัว
เลือกที่ 3 คือ ไม่ทราบ หรือ ไม่แน่ใจ รวมอยู่ด้วย ในกรณีที่มี 3 ตัวเลือก ดังตัวอย่าง
ถ้ารัฐบาลมีนโยบายที่จะตรึงราคานำ้ามันดีเซล ท่านเห็นด้วย
หรือไม่
 เห็นด้วย
 ไม่เห็นด้วย
 ไม่แน่ใจ
ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์แบบคำาถามปลายเปิดตัวอย่างแบบสัมภาษณ์แบบคำาถามปลายเปิด
แบบคำาถามปลายเปิด เป็นข้อคำาถามที่มีความสำาคัญมากที่ใช้ในการ
สัมภาษณ์ แบบคำาถามปลายเปิด เป็นคำาถามที่เปิดโอกาสให้ผู้ตอบได้แสดง
ความคิดเห็นโดยอิสระที่ไม่มีการจำากัดในด้านเนื้อหาที่จะให้แก่ผู้ตอบ ดัง
ตัวอย่าง
1. แนวโน้มธุรกิจดิจิทัลและออนไลน์ จะเติบโตไปใน
ทิศทางใด
...................................................................................
............
2. ผู้บริโภคกลุ่มใดที่ช่วยส่งเสริมธุรกิจดิจิทัลและ
ออนไลน์
..................................................................................
............
ตัวอย่างแบบสัมภาษณ์แบบสเกลตัวอย่างแบบสัมภาษณ์แบบสเกล
แบบสเกล เป็นข้อคำาถามที่มีตัวเลือกให้ผู้ตอบเลือกตามระดับ
ความคิดเห็น
คือ เห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วย ข้อคำาถามเหล่านี้เป็นข้อคำาถามที่
จำากัดคำาตอบโดย
ให้ผู้ตอบเลือกตอบตามสเกลที่กำาหนดและอาจจะมีคำาถาม
ปลายเปิดเพื่อให้ผู้ตอบ
แสดงความคิดเห็นเพิ่มเติม ดังตัวอย่าง
ถ้ารัฐบาลมีนโยบายที่จะตรึงราคานำ้ามันดีเซล ท่านเห็นด้วยหรือไม่
......................... ................. ................ .................. ....................
เห็นด้วยอย่างยิ่ง เห็นด้วย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นด้วย ไม่เห็นด้วยอย่างยิ่ง
ถ้าท่านเห็นด้วย ท่านคิดว่าในการบริหารจัดการควรดำาเนินการอย่างไร
..............................................................................................................
รวบรวมข้อมูลที่ผู้สังเกตเป็นผู้บันทึกสิ่ง
ที่เกิดขึ้นจาก
การเห็นหรือได้ยินในสถานการณ์จริง
การสังเกตเป็น
วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ผู้วิจัยเป็น “ผู้
สังเกต”
พฤติกรรมหรือการกระทำาต่าง ๆ ซึ่งจะ
4.4 แบบสังเกต4.4 แบบสังเกต
ข้อดี ข้อจำำกัด
1. สำมำรถบันทึก
พฤติกรรมโดยตรงและ
สำมำรถเห็นกำร
เปลี่ยนแปลงของ
พฤติกรรมที่เกิดขึ้น
1. ใช้เวลำมำกกว่ำจะ
สำมำรถสรุปผลจำกกำร
สังเกตได้
2. ได้ข้อมูลที่ตรงกับ
ควำมเป็นจริง
เนื่องจำกผู้ถูกสังเกต
แสดงพฤติกรรมที่แท้
จริงให้เห็น
2. พฤติกรรมบำงอย่ำง
อำจไม่แสดงออกใน
ระหว่ำงที่สังเกตได้ ต้อง
ใช้เวลำจึงจะสังเกตได้
3. สังเกตได้หลำย
อย่ำงและสังเกตเวลำ
3. บำงครั้งผู้สังเกตอำจ
จะแปลควำมหมำยของ
รูปแบบของแบบสังเกตรูปแบบของแบบสังเกต
1. แบบมำตรประมำณค่ำ
2. แบบตรวจสอบรำยกำร
3. แบบบันทึกพฤติกรรม
ตัวอย่ำงแบบสังเกตแบบมำตรประมำณค่ำตัวอย่ำงแบบสังเกตแบบมำตรประมำณค่ำ
มำตรประมำณค่ำ ประกอบด้วยชุดของคุณลักษณะที่จะให้ประเมินและสเกลที่ให้
ระบุระดับของคุณลักษณะต่ำง ๆ มำตรประมำณค่ำเป็นเครื่องมือที่ใช้ในกำรสังเกต
พฤติกรรมต่ำง ๆ ได้โดยตรง และยังสำมำรถนำำไปใช้เปรียบเทียบคุณลักษณะต่ำง ๆ
ของผู้ถูกสังเกตด้วยกันได้ นอกจำกนี้ยังเป็นวิธีกำรที่ผู้สังเกตสำมำรถนำำไปใช้ในกำร
บันทึกข้อมูลได้สะดวกด้วย ดังตัวอย่ำง
(5) (4) (3) (2) (1)
................ . .............. ................ ................ ................
พนักงำนนำำเสนอ พนักงำนนำำเสนอ
คล่องแคล่วมำก ไม่คล่องแคล่ว
ตัวอย่ำงแบบสังเกตแบบตรวจสอบรำยกำรตัวอย่ำงแบบสังเกตแบบตรวจสอบรำยกำร
แบบตรวจสอบรำยกำร เป็นกำรให้ผู้สังเกตพิจำรณำตัดสินว่ำสิ่งที่สังเกต
ใช่หรือไม่ใช้ หรือสิ่งที่สังเกตมีควำมพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจ ซึ่งเป็นวิธี
กำรขั้นพื้นฐำนที่ใช่ในกำรบันทึกข้อมูลของคุณลักษณะต่ำง ๆ ดังตัวอย่ำง
คำำชี้แจง โปรดเขียนวงกลมล้อมรอบคำำว่ำ ใช่ หรือ ไม่ใช่ เพื่อระบุว่ำผู้
บริหำร
องค์กรมีภำวะผู้นำำหรือไม่
ใช่ ไม่ใช่ 1. มีกำรกำำหนดกลยุทธ์ในกำรทำำงำน
ใช่ ไม่ใช่ 2. มีกำรตัดสินใจโดยรับฟังควำมคิดเห็นของผู้อื่น
ใช่ ไม่ใช่ 3. มีหลักกำรบริหำรจัดกำรที่ดี
ตัวอย่ำงแบบสังเกตแบบบันทึกพฤติกรรมตัวอย่ำงแบบสังเกตแบบบันทึกพฤติกรรม
แบบบันทึกเกร็ดพฤติกรรม เป็นกำรบันทึกข้อเท็จจริงของเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ
อย่ำงมีควำมหมำยโดยกำรเขียนเหตุกำรณ์ต่ำง ๆ ที่เกิดขึ้นลงในแบบบันทึก
แยกเป็นรำยบุคคล กำรบันทึกเกร็ดพฤติกรรมควรบันทึกเหตุกำรณ์ที่เกิด
แยกออกจำกกำรแปลควำมหมำยของพฤติกรรม ดังตัวอย่ำง
กลุ่มคน วัน/เวลำ กำรเดิน
ทำง
กิจกรรม กำรใช้
บริกำร
นักท่อง
เที่ยวมำ
เป็น
ครอบครัว
วันอำทิตย์
ช่วง
9.00-12.00 น.
รถยนต์
ส่วนตัว
- ไหว้พระ
ขอพร
- แก้บน
- บูชำพระ
เครื่อง
- เสี่ยงเสียม
ซี
นักท่อง
เที่ยวมำ
เป็นกลุ่ม
ใหญ่
วันเสำร์
ช่วง 10.00 -
12.00น.
รถทัวร์ - ชมวิถีชีวิต
เกษตรกรร
ม
- ชมกำร
แสดง
- ซื้อสินค้ำ
พื้นเมือง
4.5แบบตรวจสอบรำยกำร (Checklist)
แบบตรวจสอบรำยกำรเป็นแบบวัดที่
ประกอบด้วย
รำยกำรสิ่งที่ต้องกำรตรวจสอบว่ำ มีหรือ
ไม่มี
ทำำหรือไม่ทำำ ใช่หรือไม่ใช่
รูปแบบอำจเป็นรำยกำรสิ่งที่ต้องกำร
ตรวจสอบ
วิธีกำรสร้ำง
วิเครำะห์สิ่งที่ต้องกำรตรวจสอบว่ำ
ประกอบด้วย
ตัวบ่งชี้ ตัวแปร กิจกรรม หรือพฤติกรรม
ใด
นำำมำบรรจุในแบบซึ่งอำจอยู่ในรูป
ตัวอย่ำงแบบตรวจสอบรำยกำร
ผู้วิจัยต้องกำรตรวจสอบคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ด้ำนควำมประหยัดและออมของนักเรียน โดย
กำำหนด
นิยำมศัพท์ของควำมประหยัดและออม หมำยถึง
ลักษณะของบุคคลที่แสดงถึงกำรประพฤติปฏิบัติตน
เป็นผู้ประหยัดเวลำ ทรัพย์ และแรงงำน ทั้งของ
ควำมประหยัดและออม ทำำ ไม่
ทำำ
1.ใช้จ่ำยส่วนตัวตำมสถำนภำพ
ของตน
2.ซื้อสิ่งของเครื่องใช้เท่ำที่
จำำเป็น
3.ออมทรัพย์เพื่ออนำคตในรูป
แบบต่ำงๆ
แจง โปรดทำำเครื่องหมำย ลงในช่องที่ตรง
กับควำมเป็นจริงมำกที่สุด
ณะของแบบทดสอบ
ของคำำถำมหรือสิ่งเร้ำเพื่อให้ผู้ตอบแสดงพฤติกรรม
ต้องกำรวัด
วัดควำมรู้ ควำมสำมำรถของผู้ถูกวัด
กษณะสำำคัญ
ให้กลุ่มตัวอย่ำงอ่ำน/ฟังคำำสั่งและคำำถำมแล้วตอบสน
แบบทดสอบ
รูปแบบของแบบทดสอบรูปแบบของแบบทดสอบ
ข้อสอบแบบมีคำำตอบให้เลือก
1.1 แบบถูกผิด
1.2 แบบเติมคำำ
1.3 ตอบสั้นๆ
1.4 แบบจับคู่
รูปแบบของแบบทดสอบรูปแบบของแบบทดสอบ
2. ข้อสอบแบบเขียนตอบ
2.1 แบบจำำกัดคำำตอบ
2.2 แบบขยำยคำำตอบ
ขั้นตอนกำรสร้ำงแบบทดสอบ
1. วิเครำะห์วัตถุประสงค์กำรเรียนรู้
2. สร้ำงตำรำงวิเครำะห์จุดประสงค์
• ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง
• ระดับพฤติกรรมที่จะวัด
• นำ้ำหนักควำมสำำคัญแต่ละเนื้อหำ
• จำำนวนข้อสอบตำมนำ้ำหนัก
3. เขียนข้อสอบตำมตำรำง
กำรเขียนข้อสอบ
แบบเลือกตอบหลำยตัวเลือก
กำรเขียนข้อสอบ
แบบเลือกตอบหลำยตัวเลือก
องค์ประกอบของข้อสอบแบบ
เลือกตอบหลำยตัวเลือก
1. คำำถำม
2. ตัวเลือก
- ตัวถูก
กำรเขียนคำำถำมกำรเขียนคำำถำม
คำำถำมชัดเจน ไม่คลุมเครือมี
ประเด็นคำำถำมเด่นชัด
ถำมให้ตรงวัตถุประสงค์ที่ต้องกำรวัด
กำรเขียนคำำถำมกำรเขียนคำำถำม
3. คำำถำมถูกต้องตำมหลักวิชำ มีเงื่อนไขพอเพียง
4. ใช้ภำษำรัดกุม
ไม่เยิ่นเย้อ
5. ถำมสิ่งที่ควรถำม เป็นสำระสำำคัญ มี
คุณค่ำ
กำรเขียนคำำถำมกำรเขียนคำำถำม
6. ถำมสิ่งที่เป็นแบบอย่ำงที่ดี
7. หลีกเลี่ยงคำำถำมที่เป็นปฏิเสธซ้อนปฏิเสธ
8. ใช้คำำถำม
ปลำยปิด
กำรเขียนตัว
เลือก
กำรเขียนตัว
เลือก
2. เป็นเอกพันธ์ (เรื่องเดียวกัน/โครงสร้ำงเหมือนกัน
1. สอดคล้องกับประเด็นคำำถำม
3. มีตัวถูกตัว
เดียว
กำรเขียนตัว
เลือก
กำรเขียนตัว
เลือก
5. ภำษำกระชับ ชัดเจน
4. มีควำมเป็นไปได้
6. เป็นอิสระจำกกัน
ตัวลวงต้องเป็นไปได้ และยั่วยุ
นำำควำมเข้ำใจผิดหรือควำมผิดพลำด
ของผู้สอบที่พบบ่อยๆ มำสร้ำงเป็น
ตัวลวง
ตัวเลือกแต่ละตัวใช้ภำษำที่ผู้สอบคุ้นเคย
ใช้ประโยคที่มีควำมสมบูรณ์ และมี
ควำมยำวใกล้เคียงกับตัวถูก
สร้ำงตัวเลือกให้เป็นเอกพันธ์
ตัวลวงต้องเป็นไปได้ และยั่วยุตัวลวงต้องเป็นไปได้ และยั่วยุ
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1

Contenu connexe

Tendances

การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)kaew393
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อยการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อยAlisa Rakyart
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)Sani Satjachaliao
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลNavie Bts
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 

Tendances (17)

การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
การสร้างและหาคุณภาพศูนย์วิทย์(ดร.จันทิมา)
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อยการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
 
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
สัปดาห์ที่ 7 8 (2 dec 2010)
 
Chapt3
Chapt3Chapt3
Chapt3
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัดSpss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
Spss การหาคุณภาพเครื่องมือวัด
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 

En vedette

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8pajyeeb
 
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...สร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ ลูกไก่รุ่นที่สอง
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)noinasang
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItJennifer Jones
 

En vedette (14)

ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 2
 
สถิติStat
สถิติStatสถิติStat
สถิติStat
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน
ดร.จักรพันธ์  โสมะเกษตรินดร.จักรพันธ์  โสมะเกษตริน
ดร.จักรพันธ์ โสมะเกษตริน
 
ดร.เจษฎา ชาตรี
ดร.เจษฎา  ชาตรีดร.เจษฎา  ชาตรี
ดร.เจษฎา ชาตรี
 
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
3.การออกแบบการวิจัยเชิงปริมาณ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
2.วิจัยเชิงคุณภาพ (ดร.ปกรณ์ชัย สุพัฒน์ & ผศ.ชุติญา จงมีเสร็จ)
 
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
การเขียนรายงานการวิจัย เทคนิคการนำเสนอและการนำไปใช้ประโยชน์ (อาจารย์วิไลลักษณ...
 
1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)1 สถิติ (statistics)
1 สถิติ (statistics)
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
4 statistic
4 statistic4 statistic
4 statistic
 
Guided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of ItGuided Reading: Making the Most of It
Guided Reading: Making the Most of It
 

Similaire à ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1

งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8hadesza
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลSarawut Tikummul
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1yuapawan
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลmaymymay
 

Similaire à ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1 (20)

งานบทที่ 8
งานบทที่ 8งานบทที่ 8
งานบทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
Research-tools 2014
Research-tools 2014Research-tools 2014
Research-tools 2014
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 

ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1