SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  100
Télécharger pour lire hors ligne
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 
Introduction to Read Financial Statement 
MrLikeStock 
facebook.com/MrLikeStock 
www.MrLikeStock.com 
MrLikeStock@gmail.com 
CopyRight © 2014 
สงวนลิขสิทธิ ์ตาม พรบ.ลิขสิทธิ ์พ.ศ. 2537 ท่านสามารถทำสำเนา แจกจ่าย เผยแพร่ได้ 
ห้าม การนำไปจำหน่าย หรือใช้งานในเชิงพาณิชย์ หรือหาผลประโยชน์อื่นใด 
Sep 2014
MrLikeStock 
เร็ว ๆ นี้จะมีงานสมัมนา สอนเกี่ยวกบั 
“อ่านงบการเงิน” 
เนื้อหาเหมาะสำหรับผูเ้ริ่มตน้ ที่อยากอ่านงบการเงินใหเ้ป็น 
ปูพื้นการอ่านงบการเงินแต่ละประเภท จับจุดวิธีการอ่านงบการเงิน 
เสริมทัพดว้ยอัตราส่วนทางการเงิน ที่จำเป็นและควรตอ้งรู้ 
และกำลงัจะมีหนงัสือสอนวิธี 
“อ่านงบการเงิน” 
เนื้อหาแน่น แต่เขา้ใจง่าย เขียนโดยผมเอง (อดใจรออีกสักพักครับ) 
2 
ติดตามได้ที่ facebook.com/MrLikeStock 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
3 
http://www.youtube.com/watch?v=FWcZb1XQ8eM 
MrLikeStock 
ดูย้อนหลงัได้ที่ YouTube 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
เนื้อหาประกอบด้วย 
1. งบการเงินแต่ละประเภท 
งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล), งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 
งบกระแสเงินสด, งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจา้ของ, 
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 
2. การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน 
 Liquidity Ratios, Profitability Ratios, Leverage Ratios, 
Efficiency Ratios, Marker Value Ratios 
3. วิธีการดูงบการเงินอย่างเร็วคร่าว ๆ จากเว็บ www.set.or.th 
case study : DCC (งบปี 2556) 
คำเตือน : งบการเงินที่ปรากฎในเอกสารนี้เป็นเพียงการยกตัวอย่างเท่านั้น มิได้เป็นการชี้นำแต่อย่างใด 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 4
MrLikeStock 
เกริ่นนำงบการเงิน 
 งบการเงิน คือ สิ่งที่สามารถบ่งบอกถึงสภาพของกิจการได้ 
กิจการ 
จดัทำบญัชี 
งบการเงิน 
ทำใหท้ราบถึงสภาพของกิจการ ซึ่งเป็นขอ้มูล ณ ปัจจุบัน 
และอดีตที่ผ่านมา 
แต่ในอนาคตอาจจะดีหรือแย่กว่านี้ก็เป็นไดเ้ช่น หาก กิจการ 
ยังมีรายไดน้อ้ยกว่าค่าใชจ้่าย ถา้ทำการปรับปรุงการจัดการใหดี้ 
ขึ้น ลดค่าใชจ้่าย ก็จะกลับมามีกำไรได้ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 5
MrLikeStock 
อ่านงบ ยากหรือไม่ ? 
เราไม่จำเป็นตอ้งรูว้่าบัญชีเคา้ทำกันอย่างไร 
หนา้ที่ของนักลงทุนคือ “ต้องอ่านให้เป็น !” 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 6
MrLikeStock 
งบการเงินคืออะไร ? 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 7
MrLikeStock 
Section 1 
งบการเงินแต่ละประเภท 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 8
MrLikeStock 
ส่วนประกอบของงบการเงิน 
งบการเงินของกิจการจะประกอบดว้ย 5 ส่วน ดังนี้ 
1. งบแสดงฐานะการเงิน 
(Statement of Financial Position) 
2. งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 
(Comprehensive Profit and Loss Statement) 
3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ 
(Statement of Changes Equity) 
4. งบกระแสเงินสด 
(Cash Flow Statement) 
5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน 
(Notes to Financial Statement) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 9
 งบแสดงฐานะการเงิน จะเป็นงบการเงินที่แสดง ณ จุดเวลาใดเวลา 
หนึ่ง 
 งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและงบกระแสเงินสด เป็นงบการเงินที่ 
แสดงในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง 
MrLikeStock 
รอบระยะเวลาบญัชี 
10 
วันที่ 1 มกราคม วันที่ 31 มีนาคม 
รอบระยะเวลา 1 ไตรมาส 
บริษัทในตลาดหุ้น ต้องนำส่ง งบการเงินรายไตรมาส ภายใน 45 วัน นับแต่วัน 
สุดท้ายของแต่ละไตรมาส งบการเงินประจำปี ภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นสุดรอบบัญชี 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หรือในชื่อเดิมว่า งบดุล (Balance Sheet) 
 หมายถึง งบการเงินที่แสดงขอ้มูลเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการ ณ 
วันใดวันหนึ่ง แบ่งเป็น 3 ส่วน โดยเขียนเป็นสมการทางบัญชีไดดั้งนี้ 
สินทรพัย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ 
MrLikeStock 
งบแสดงฐานะการเงิน 
11 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
สินทรพัย์ 
 หมายถึง ทรัพยากรที่มีอยู่ในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากร 
ดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งกิจการคาดว่าจะไดรั้บ 
ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต 
หนี้สิน 
 หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าวเป็น 
ผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งการชำระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผล 
ใหกิ้จการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ 
ส่วนของเจ้าของ 
 หมายถึง ส่วนของเจา้ของกิจการที่มีสิทธิหรือส่วนไดเ้สียคงเหลือใน 
สินทรัพย์ของกิจการภายหลังหักหนี้สินออกแลว้ 
MrLikeStock 
ส่วนประกอบ งบแสดงฐานะการเงิน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 12
สินทรพัย์ (Asset) 
สินทรพัย์ แบ่งได้2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ 
1. สินทรพัย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่มี 
สภาพคล่องสูงสามารถแปลงเป็นเงินสดไดร้วดเร็ว ถือไวโ้ดยมี 
วัตถุประสงค์เพื่อการคา้ หรือสินทรัพย์ที่คาดว่าจะไดรั้บประโยชน์ 
ภายในระยะสนั้ ไม่เกิน 1 ปี 
เช่น เงินสดหรือเทียบเท่า ลูกหนี้การคา้ สินคา้คงเหลือ ฯลฯ 
2. สินทรพัย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Assets) หมายถึง 
สินทรัพย์ที่กิจการมีไวใ้นครอบครองในระยะยาว เกินกว่า 1 ปี 
MrLikeStock 
รวมถึงสินทรัพย์ที่มีตัวตน และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน 
เช่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ลิขสิทธิ์ สัมปทาน ฯลฯ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 13
MrLikeStock 
สินทรพัย์ (Asset) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 14
หนี้สิน (Liabilities) 
หนี้สิน แบ่งได้2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ 
1. หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินระยะ 
สั้นที่ตอ้ง ชำระภายใน 1 ปี 
เช่น เงินเบิกเกินบัญชี เจา้หนี้การคา้ ค่าใชจ้่ายคา้งจ่าย ฯลฯ 
2. หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non-Current Liabilities) หมายถึง 
MrLikeStock 
หนี้สินระยะยาวที่ตอ้งจ่าย ชำระเกินกว่า 1 ปี 
เช่น เงินกูยื้มระยะยาว หุน้กู้ฯลฯ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 15
MrLikeStock 
หนี้สิน (Liabilities) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 16
ส่วนของเจา้ของ ประกอบไปดว้ย เช่น 
 ทุนเรือนหุ้น (Share Capital) หมายถึง การนำเงินมาลงทุนของ 
เจา้ของกิจการ 
 กำไร(ขาดทุน)สะสม (Retained Earnings) หมายถึง กำไร 
สะสมส่วนที่ไม่ไดจ้่ายเป็นเงินปันผลใหกั้บผูถื้อหุน้ เป็นกำไรที่กิจการ 
สะสมไวตั้้งแต่เริ่มก่อตั้งกิจการ 
17 
MrLikeStock 
ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
ภาพรวม งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 18
19 
MrLikeStock 
ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) 
บริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย 
งบแสดงฐานะการเงิน 
งบการเงินรวม 
31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 
2556 2555 
หมายเหตุ(ปรับปรุงใหม่) 
สินทรัพย์ 
สินทรัพย์หมุนเวียน 
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 5 169,125,129 188,624,482 
ลูกหนี้และตัว๋เงินรับการค้า - สุทธิ7 105,988,253 136,620,662 
ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - บริษัทย่อย 6 , 7 - - 
สินค้าคงเหลือ - สุทธิ8 1,604,766,656 1,549,877,058 
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 9 35,121,765 3 5,684,634 
รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,915,001,803 1,910,806,836 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
20 
ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) 
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 
เงินลงทุนในบริษัทย่อย 10 - - 
เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ - - 
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ 11 2,942,094,316 2,700,851,480 
ค่าความนิยม 103,623,825 103,623,825 
สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ12 1 4,877,346 7,121,166 
สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี21 127,336,077 118,543,998 
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 13 3 7,619,031 3 6,515,473 
รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 3,225,550,595 2,966,655,942 
รวมสินทรัพย์ 5,140,552,398 4,877,462,778 
MrLikeStock 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
21 
MrLikeStock 
ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) 
31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 
2556 2555 
หมายเหตุ(ปรับปรุงใหม่) 
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 
หนี้สินหมุนเวียน 
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 14 1 ,185,000,000 840,000,000 
เจ้าหนี้การค้าและตัว๋เงินจ่าย 15 588,126,559 688,964,036 
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - บริษัทย่อย 6 - - 
ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 148,058,104 182,525,931 
หนี้สินหมุนเวียนอื่น 16 235,718,377 175,596,665 
รวมหนี้สินหมุนเวียน 2,156,903,040 1 ,887,086,632 
หนี้สินไม่หมุนเวียน 
เงินสำรองเผื่อเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 17 53,479,429 51,447,498 
หนี้สินภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 19 135,695,957 118,464,522 
หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี21 33,300,322 22,759,402 
รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 222,475,708 192,671,422 
รวมหนี้สิน  2,379,378,748 2 ,079,758,054 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
22 
MrLikeStock 
ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) 
ส่วนของผู้ถือหุ้น 
ทุนเรือนหุ้น - หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นละ 1 
- ทุนจดทะเบียน 408,000,000 หุ้น 408,000,000 408,000,000 
- ทุนเรือนหุ้นที่ออกและรับชำระแล้ว 
408,000,000 หุ้น 408,000,000 408,000,000 
ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 506,000,000 506,000,000 
กำไรสะสม 
- จัดสรรเพื่อสำรองตามกฎหมาย 20 40,800,000 40,800,000 
- ยังไม่ได้จัดสรร 1,756,598,409 1 ,796,705,726 
รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท 2,711,398,409 2 ,751,505,726 
49,775,241 46,198,998 
ส่วนได้เสียที่ไม่อยู่ในอำนาจควบคุมในบริษัทย่อย 
 
รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 2,761,173,650 2 ,797,704,724 
รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 5,140,552,398 4 ,877,462,778 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
23 
MrLikeStock 
ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) 
รวมสินทรพัย์= รวมหนี้สิน + ส่วนของผู้ถือหุ้น 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หรือในชื่อเดิมว่า งบกำไรขาดทุน 
 หมายถึง งบการเงินที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของกิจการว่ามี 
รายได้ (Revenues) และ ค่าใช้จ่าย (Expenses) เป็นเท่าใด 
สำหรับรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น งวด 3 เดือน งวด 1 ปี 
24 
MrLikeStock 
งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 
รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร (ขาดทุน) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
25 
MrLikeStock 
งบกำไรขาดทุน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบบัญชีเกิดขึ้น 
จากการที่กิจการไดรั้บจากการขายสินคา้หรือบริการตามปกติ หรือ 
ผลตอบแทนอื่นๆ ทำใหส้่วนของเจา้ของเพิ่มขึ้น 
 แต่ไม่รวมเงินทุนที่ไดรั้บจากส่วนของเจา้ของ 
ดังนั้นการนำเงินสดมาลงทุนเพิ่มในกิจการจึงไม่ถือว่าเป็นรายได้ 
26 
MrLikeStock 
รายได้ (Revenue) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
รายได้ไดแ้ก่ 
 รายได้จากการขายและการให้บริการ คือรายไดจ้าการดำเนินงาน 
ตามปกติ 
 รายได้อื่น คือรายไดที้่ไม่ไดเ้กิดจากการดำเนินงานตามปกติ 
ไม่ไดม้าจากธุรกิจหลักของกิจการ 
27 
MrLikeStock 
รายได้ (Revenue) 
ขายสินคา้ 
ไดเ้ป็น เงินสด 
ขายส่งใหตั้วแทน 
ไดเ้ป็น ลูกหนี้การคา้ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี 
เช่น ค่าใชจ้่ายจากการขายสินคา้หรือบริการตามปกติ หรือค่าใชจ้่าย 
อื่นๆ 
 แต่ไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนใหกั้บส่วนของเจา้ของ 
ดังนั้นการจ่ายปันผลจึงไม่ถือเป็นค่าใชจ้่าย 
28 
MrLikeStock 
ค่าใช้จ่าย (Expenses) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
ค่าใชจ้่าย ไดแ้ก่ 
 ตน้ทุนขายและการใหบ้ริการ 
 ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) 
 ค่าใชจ้่ายในการขายและบริหาร (SG&A) 
 ดอกเบี้ยจ่าย (ตน้ทุนทางการเงิน) 
29 
ค่าใช้จ่าย (Expenses) 
ซื้อวัตถุดิบดว้ยเงินเชื่อ 
เป็น เจา้หนี้การคา้ 
จ่ายค่าแรง 
ดว้ย เงินสด 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
30 
MrLikeStock 
ภาพรวมของกำไรสุทธิ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
31 
MrLikeStock 
แผนภูมิของกำไรสุทธิ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
ความสมัพนัธ์ระหว่างงบดุลและงบกำไรขาดทุน 
32 
MrLikeStock 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
33 
MrLikeStock 
ตวัอย่าง งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 
2556 2555 
หมายเหตุ(ปรับปรุงใหม่) 
รายได้ 
รายได้จากการขาย 6 7 ,546,224,632 7 ,602,746,830 
ต้นทุนขาย 
ต้นทุนขาย 6, 23, 24 ( 4,447,427,512) ( 4,624,989,865) 
กำไรขั้นต้น 3,098,797,120 2 ,977,756,965 
รายได้อื่น 6 18,153,610 34,779,531 
ค่าใช้จ่ายในการขาย 24 (755,360,609) (760,574,805) 
ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 24 (701,056,641) (588,040,239) 
ต้นทุนทางการเงิน (23,877,575) (15,795,442) 
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 1,636,655,905 1 ,648,126,010 
ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (334,946,979) (378,536,483) 
กำไรสำหรับปี 1,301,708,926 1 ,269,589,527 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
34 
MrLikeStock 
ตวัอย่าง งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 
กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี 
ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก 
คณิตศาสตร์ประกันภัย - สุทธิจากภาษี 
21 - ( 8,232,673) 
กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี 1,301,708,926 1 ,261,356,854 
การแบ่งปันกำไรสำหรับปี 
ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท 1,298,132,683 1 ,265,082,389 
ส่วนได้เสียที่ไม่อยู่ในอำนาจควบคุมในบริษัทย่อย 3,576,243 4 ,507,138 
1,301,708,926 1 ,269,589,527 
การแบ่งปันกำไรเบ็ดเสร็จ 
ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท 1,298,132,683 1 ,256,976,414 
ส่วนได้เสียที่ไม่อยู่ในอำนาจควบคุมในบริษัทย่อย 3,576,243 4 ,380,440 
1,301,708,926 1 ,261,356,854 
กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน 
กำไร (บาทต่อหุ้น) 3.18 3.10 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หน่วย : หุ้น 408,000,000 408,000,000
 กำไรสุทธิเป็นกำไรที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของธุรกิจ แต่ยัง 
ไม่ใช่กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ตอ้งหัก กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก่อน 
 กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (Other comprehensive income) 
คือ รายการรายไดแ้ละค่าใชจ้่าย เกิดจากการตีมูลค่าใหม่ของ 
สินทรัพย์และหนี้สิน ทั้งระยะสั้นและยาว รวมถึง การปรับปรุงการจัด 
ประเภทรายการใหม่ ที่ไม่อนุญาตใหรั้บรูใ้นงบกำไรขาดทุนแบบปกติ 
 กำไรขาดทุนส่วนนี้ ไม่นำไปคิด EPS 
35 
MrLikeStock 
กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หมายถึง งบการเงินที่แสดงถึงการไดม้าและการใชไ้ปของเงินสด 
และรายการเทียบเท่าเงินสดในรอบระยะเวลาหนึ่ง ทำใหนั้กลงทุน 
ทราบถึงสภาพคล่องของกิจการ และกระแสเงินสดที่ไหนเวียนใน 
กิจการ แบ่งเป็น 3 กิจกรรม คือ 
1. กิจกรรมดำเนินงาน (Operating Activities) หมายถึง กิจกรรม 
MrLikeStock 
หลักที่ก่อใหเ้กิดรายไดแ้ละค่าใชจ้่ายของกิจการ 
2. กิจกรรมลงทุน (Investing Activities) หมายถึง การไดม้าและ 
จำหน่ายสินทรัพย์ระยะยาวและเงินลงทุนอื่น ๆ ที่ไม่กระทบการ 
ดำเนินงาน 
3. กิจกรรมการจดัหา (Financing Activities) หมายถึง กิจกรรม 
ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงรายการในส่วนของเจา้ของและส่วนของการ 
กูยื้ม 
36 
งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หมายถึง กิจกรรมหลักที่ก่อใหเ้กิดรายไดแ้ละค่าใชจ้่ายของกิจการ 
เป็นผลมาจากรายการต่าง ๆ ที่ใชใ้นการคำนวณกำไรหรือขาดทุน 
สะทอ้นถึงเงินสดที่แทจ้ริงจากกิจกรรมดำเนินงาน 
 เกี่ยวกับบัญชี สินทรพัย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน 
 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน ควรจะมีค่าเป็น + แสดง 
ถึงว่า กิจการมีรายไดแ้ละไดรั้บเป็นเงินสด 
37 
MrLikeStock 
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 งบกำไรขาดทุน จะจัดทำตาม เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis) 
 งบกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน เป็นการแปลงรายได้ 
และค่าใชจ้่ายทางบัญชี ใหเ้ป็น เกณฑ์เงินสด (Cash basis) 
38 
MrLikeStock 
CFO vs P/L 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หมายถึง การไดม้าและจำหน่ายสินทรัพย์ระยะยาวและเงินลงทุนอื่น ๆ 
ที่ไม่กระทบการดำเนินงาน เนน้รายการดา้นการลงทุน 
 เกี่ยวกับบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน 
(เฉพาะที่เกี่ยวกับการลงทุน) 
 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน มกัจะมีค่าเป็น – เพราะกิจการ 
มักมีการลงทุนอยู่เสมอ เพื่อดำเนินงานหรือขยายกิจการ 
39 
MrLikeStock 
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หมายถึง กิจกรรมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงรายการในส่วนของเจา้ของ 
และส่วนของการกูยื้ม 
 เกี่ยวกับบัญชี หนี้สินหมุนเวียน (เฉพาะที่เกี่ยวกับการจัดหา) 
หนี้สินไม่หมุนเวียน ส่วนของเจ้าของ (ทุน) 
 กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจดัหา ควรสังเกตว่า ถา้มีค่าเป็น + 
เกิดจากการกูยื้มเงินทั้งระยะสั้นและยาว 
40 
MrLikeStock 
กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจดัหา 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
41 
MrLikeStock 
งบกระแสเงินสด 
1. กิจกรรมดำเนินงาน 
1.1 ปรับปรุงกำไร/ขาดทุนสุทธิจากการดำเนินงาน xx 
1.2 สินทรัพย์ดำเนินงาน xx 
1.3 หนี้สินดำเนินงาน xx xx 
2. กิจกรรมลงทุน xx 
3. กิจกรรมจดัหาเงิน xx 
กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง) xx 
เงินสดตน้งวด xx 
เงินสดปลายงวด xx 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
42 
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานทางอ้อม 
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ 
งบกระแสเงินสด 
(Statement of Cash Flow) 
/ MrLikeStock.com 
http://www.mrlikestock.com 
/2013/05/27/statement-of-cash- 
MrLikeStock 
flow-likestock/ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
43 
MrLikeStock 
ตวัอย่างงบกระแสเงินสด 
งบการเงินรวม 
2556 2555 
กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน 
กำไรก่อนภาษีเงินได้ 1,636,655,905 1,648,126,010 
ปรับปรุงกำไรก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับ (จ่าย) 
จากกิจกรรมดำเนินงาน:- 
ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 232,315,410 183,001,088 
กลับรายการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (672,983) (862,389) 
กลับรายการค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย (83,286) (9,950) 
กลับรายการค่าเผื่อเงินลงทุนระยะยาวอื่น - (249,750) 
กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื่น - (137,353) 
ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่ายสินทรัพย์ 9,652,100 1,600,825 
ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 4,007,267 803,148 
ดอกเบี้ยรับ (918,379) (1,283,015) 
ดอกเบี้ยจ่าย 23,877,575 1 5,795,442 
สำรองเผื่อเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 2,530,191 2,458,715 
ค่าเผื่อภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 13,818,921 1 3,818,921 
กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง 
ในส่วนของสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน 1,921,182,721 1,863,061,692 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
44 
MrLikeStock 
ตวัอย่างงบกระแสเงินสด 
สินทรัพย์ดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) 
ลูกหนี้และตัว๋เงินรับการค้า 30,632,409 (5,581,275) 
ลูกหนี้การค้า - บริษัทย่อย - - 
สินค้าคงเหลือ (54,806,312) (283,371,980) 
สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 1,235,852 190,226 
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น (303,029) (1,950,211) 
หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) 
เจ้าหนี้การค้าและตัว๋เงินจ่าย (104,834,024) 16,719,875 
เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - บริษัทย่อย - - 
หนี้สินหมุนเวียนอื่น 59,998,814 25,828,326 
สำรองเผื่อเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (498,260) (583,716) 
หนี้สินภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (339,224) (2,734,905) 
เงินสดได้มาจากการดำเนินงาน 1,852,268,947 1,611,578,032 
จ่ายภาษีเงินได้ (367,665,964) (465,646,281) 
เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,484,602,983 1,145,931,751 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
45 
MrLikeStock 
ตวัอย่างงบกระแสเงินสด 
งบการเงินรวม 
2556 2555 
กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน 
จ่ายเงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ (483,776,545) (371,404,851) 
จ่ายเงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (12,110,040) (806,080) 
จ่ายเงินสดจ่ายค่าสิทธิการเช่า (1,578,947) - 
รับเงินสดรับจากการจำหน่ายสินทรัพย์ 5,698,477 6,220,398 
รับเงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื่น - 636,853 
ดอกเบี้ยรับ 918,379 1,283,015 
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (490,848,676) (364,070,665) 
กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน 
เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 8,690,000,000 5,840,000,000 
จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (8,345,000,000) (5,400,000,000) 
จ่ายดอกเบี้ย (20,013,660) ( 11,797,183) 
จ่ายเงินปันผล (1,338,240,000) (1,211,760,000) 
เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (1,013,253,660) (783,557,183) 
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง - สุทธิ (19,499,353) (1,696,097) 
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี 188,624,482 190,320,579 
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 169,125,129 188,624,482 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
46 
MrLikeStock 
ข้อสงัเกต 
เนื่องจาก เงินสด เป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินงาน 
ของกิจการ การที่กิจการมีกำไรมาก ๆ ไม่ไดแ้ปลว่า 
จะมีเงินสดมากเสมอไป ดังนั้นนักลงทุน ควรจะต้อง 
ดูงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ทำ ให้ทราบ 
แหล่งที่มาและใชไ้ปของเงินสด 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 หมายถึง งบการเงินที่แสดงการเปลี่ยนแปลงกระทบยอดรายการต่าง 
ๆ ในส่วนของเจา้ของ ระหว่างตน้งวดบัญชีและสิ้นงวดบัญชี เช่น ทุน 
ที่ออกและเรียกชำระแลว้ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ กำไร (ขาดทุน) สะสม 
 ส่วนของเจา้ของจะเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเพิ่มทุน ถอนทุน กำไร 
ขาดทุน จ่ายปันผล 
 เปรียบเสมือนเป็นสมุดบัญชีเงินฝากของกิจการ ใช้ดูการ 
เคลื่อนไหวส่วนของเจ้าของ 
47 
MrLikeStock 
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
 งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถื้อหุน้ (บางส่วน) 
48 
ตวัอย่างงบงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 ขอ้มูลต่าง ๆ ที่ไม่ไดเ้ปิดแสดงในงบการเงิน นโยบายทางบัญชี 
MrLikeStock 
การรับรูร้ายได้ 
 การตัดค่าเสื่อม 
การตีมูลค่าสินคา้คงเหลือ 
เจา้หนี้การคา้ 
ลูกหนี้การคา้ และ ลูกหนี้คา้งชำระ 
 ข้อควรระวงั 
บาง บ. รายไดโ้ตมาก ๆ ตอ้งมาดูว่าการรับรูร้ายไดใ้ชน้โยบายแบบไหน 
 อยู่ดี ๆ กำไรก็บวม อาจมีการเปลี่ยนแปลงการตัดค่าเสื่อม 
ลูกหนี้การคา้คา้งชำระนาน ๆ มีจำนวนเท่าใด น่ากลัวหรือไม่ ... 
49 
หมายเหตุประกอบงบการเงิน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 รายงานความเห็นผูส้อบบัญชีเป็นขอ้มูลที่แสดงไวใ้นงบการเงิน 
เพื่อใหผู้ใ้ชง้บการเงินมั่นใจในความถูกตอ้งของงบการเงินนั้น ๆ 
 ดังนั้น “รายงานผูส้อบบัญชี” ยังเป็นขอ้มูลสำคัญที่ช่วยใหผู้อ้่านงบ 
เกิดความมั่นใจในความถูกตอ้งของขอ้มูลตามมาตรการบัญชีที่รับรอง 
ทั่วไป 
50 
MrLikeStock 
รายงานความเห็นของผู้สอบบญัชี 
ก่อนที่จะทำการอ่านงบการเงิน 
ต้องอ่านรายงานความเห็นของผู้สอบบญัชีก่อน ! 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
ความเห็นของผูส้อบบัญชี ไดแ้ก่ 
 ไม่มีเงื่อนไข (งบการเงินถูกตอ้ง น่าเชื่อถือ) 
ผูส้อบบัญชีไม่พบสิ่งที่ไม่สอดคลอ้งกับหลักบัญชี 
 มีเงื่อนไข (ใหร้ะวัง) 
มีบางส่วนไม่ถูกตอ้งหรือผูส้อบบัญชีแสดงเงื่อนไขบางรายการ 
 ไม่แสดงความเห็น (ใหร้ะวังมากยิ่งขึ้น) 
ผูส้อบบัญชีไม่สามารถใหค้วามเห็นต่อความถูกตอ้งได้ 
51 
รายงานความเห็นของผู้สอบบญัชี 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
 ตัวอย่าง DCC งบประจำปี 2556 
ในงบนี้ ผูส้อบบัญชี รบัรองรายงาน 
ถือว่า งบเชื่อถือได้(ขนั้ต้น) 
52 
รายงานความเห็นของผู้สอบบญัชี 
ความเห็น 
ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมข้างต้นแสดงฐานะการเงินของบริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค 
จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และผลการดำเนินงาน 
รวมและกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และแสดงฐานะการเงินเฉพาะ 
ของบริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และผลการ 
ดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรใน 
สาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
53 
MrLikeStock 
กรณีผู้สอบบญัชีไม่แสดงความเห็น 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
การวิเคราะห์อตัราส่วนทางการเงิน 
MrLikeStock 
Section 2 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 54
55 
MrLikeStock 
อตัราส่วนทางการเงิน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
 อัตราส่วนสภาพคล่อง 
 Current ratio, Quick ratio 
 อัตราส่วนโครงสรา้งทางการเงิน 
 Debt ratio, D/E ratio, Interest coverage ratio 
 อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร 
GPM, NPM, ROA, ROE 
 อัตราส่วนประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ 
Total Asset Turnover, Cash Cycle 
 อัตราส่วนมูลค่าทางการตลาด 
EPS, PE, Book Value, PB, Dividend Yield 
56 
อตัราส่วนทางการเงิน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
MrLikeStock 
อตัราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) 
อตัราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) 
 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) 
 อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 57
อตัราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio) 
 เป็นการวัดอัตราส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) 
กับหนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) 
(Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน (เท่า) หนี้สินหมุนเวียน 
ถ้ามีค่า > 1 แสดงว่าบริษัทมีสภาพคล่อง เพราะมีสินทรัพย์หมุนเวียน 
มากกว่าหนี้สินหมุนเวียนที่บริษัทตอ้งชำระ 
 ถ้ามีค่า < 1 แสดงว่าบริษัทไม่มีสภาพคล่อง เพราะมีสินทรัพย์ 
หมุนเวียนไม่เพียงพอที่จะจ่ายหนี้สินหมุนเวียนที่บริษัทตอ้งชำระ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 58 
MrLikeStock 
อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน
อตัราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) 
 วัดอัตราส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีสภาพคล่องมาก แปรสภาพ 
เป็นเงินสดไดเ้ร็ว ตัดรายการสินคา้คงเหลือออกไป เพราะสินคา้ 
คงเหลือเปลี่ยนเป็นเงินสดไดช้า้ 
(Quick Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน – สินคา้คงเหลือ (เท่า) หนี้สินหมุนเวียน 
 ถ้ามีค่า > 1 แสดงว่าบริษัทมีสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง(สามารถ 
เปลี่ยนเป็นเงินสดไดเ้ร็ว) เพียงพอที่จะจ่ายหนี้สินหมุนเวียน ค่านี้ยิ่งสูง 
ยิ่งดี แสดงถึงสภาพคล่องของบริษัทในระดับสูง 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 59 
MrLikeStock 
อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว
อตัราส่วนโครงสร้างเงินทุน (Leverage Ratios) 
อตัราส่วนโครงสร้างเงินทุน (Leverage Ratios) 
 อัตราส่วนหนี้สิน (Debt ratio) 
 อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผูถื้อหุน้ (Debt to Equity ratio : D/E) 
 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย 
(Interest coverage ratio) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 60 
MrLikeStock
MrLikeStock 
อตัราส่วนหนี้สิน (Debt ratio) 
 แสดงถึงสัดส่วนระหว่างหนี้สินกับสินทรัพย์รวมของกิจการ 
อัตราส่วนหนี้สิน 
(Debt Ratio) = หนี้สินรวม (เท่า) สินทรัพย์รวม 
 อัตราส่วนหนี้สินมีค่าสูงเกินไปก็ไม่ดี เพราะแสดงว่าบริษัทมีหนี้สูงใน 
การดำเนินงาน อาจมีภาระดอกเบี้ยสูง 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 61
MrLikeStock 
D/E Ratio (Debt to Equity Ratio) 
 แสดงถึงสัดส่วนของเงินทุนจากการกูยื้มต่อส่วนทุน 
(D/E) = หนี้สินรวม (เท่า) ส่วนของผูถื้อหุน้ 
Debt to Equity Ratio 
ถา้ > 1 แสดงกิจการจัดหาเงินทุนดว้ยหนี้ > ทุน 
ถา้ < 1 แสดงกิจการจัดหาเงินทุนดว้ยหนี้ < ทุน 
ถา้ = 1 แสดงกิจการจัดหาเงินทุนดว้ยหนี้ = ทุน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 62
Interest Coverage Ratio = กำไรก่อดนอดกอเบกี้ยเบจี้ย่าแยละภาษี(เท่า) 
MrLikeStock 
Interest Coverage Ratio 
 อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย 
 แสดงถึงความสามารถในการชำระดอกเบี้ยเงินกูข้องกิจการ 
ถา้ > 1 แสดงว่ามีกำไรจากการดำเนินงานเพียงพอที่จะจ่ายดอกเบี้ย 
ถา้ < 1 แสดงว่ามีกำไรจากการดำเนินงานไม่เพียงพอที่จะจ่ายดอกเบี้ย 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 63
อตัราส่วนความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratios) 
 อัตรากำไรขั้นตน้ (Gross profit margin) 
 อัตรากำไรสุทธิ (Net profit margin) 
 อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด (Return On Assets : ROA) 
 อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผูถื้อหุน้ (Return On Equity : ROE) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 64 
MrLikeStock 
Profitability Ratios
 แสดงถึงความสามารถในการทำกำไรขั้นตน้ เปรียบเทียบกับยอดขาย 
(ยอดขายหักดว้ยตน้ทุนขายสินคา้หรือบริการ) 
(GPM) = กำไรขั้นตน้ x 100 (%) ยอดขาย 
อัตรากำไรขั้นตน้ ยิ่งสูงยิ่งดี เพราะแสดงถึงความสามารถในการทำ 
กำไรของกิจการ มีการควบคุมตน้ทุนการผลิตที่ดี 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 65 
MrLikeStock 
อตัรากำไรขนั้ต้น (Gross profit margin) 
อตัรากำไรขนั้ต้น
 แสดงถึงความสามารถในการทำกำไรสุทธิ เปรียบเทียบกับยอดขาย 
 กำไรสุทธิ = กำไรหลังหักค่าใชจ้่าย ดอกเบี้ย และภาษี 
(NPM) = กำไรสุทธิ x 100 (%) ยอดขาย 
อัตรากำไรขั้นสุทธิ ยิ่งสูงยิ่งดี 
แต่ตอ้งขึ้นอยู่กับธุรกิจดว้ย เช่น ธุรกิจคา้ปลีกจะมี NM ตํ่า แต่ก็สามารถ 
ทำกำไรไดม้ากเพราะการหมุนเวียนสินคา้มาก 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 66 
MrLikeStock 
อตัรากำไรสุทธิ (Net profit margin) 
อตัรากำไรสุทธิ
อตัราผลตอบแทนต่อสินทรพัย์รวม 
 แสดงใหเ้ห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลกำไรของกิจการเทียบกับ 
สินทรัพย์ทั้งหมด 
ROA ควรมีค่าสูง เพราะแสดงว่าธุรกิจสามารถใหผ้ลตอบแทนจากการ 
สินทรัพย์ทั้งหมดสูง 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 67 
MrLikeStock 
ROA 
ROA = สินกทำรไัพรสยุท์รวธมิ x ( เ1ฉ0ล0ี่ย) (%)
ROE 
อตัราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น 
 แสดงใหเ้ห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลกำไรของกิจการเทียบกับ 
ส่วนของผูถื้อหุน้ 
MrLikeStock 
ROE = ส่วนกขำอไงรเสจุทา้ขธิอ xง 1(0เฉ0ลี่ย) (%) 
ROE ควรมีค่าสูง แต่ตอ้งระวัง ROE สูง ๆ ที่เกิดจาก 
หนี้สินเยอะ ๆ 
ส่วนของผูถื้อหุน้ (ทุน) ลดลงไปเรื่อย ๆ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 68
MrLikeStock 
ROE 
 ส่วนประกอบ ROE 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 69
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 70 
MrLikeStock 
บริษทัไหนมี ROE ที่น่าสนใจกว่า 
บริษทั A 
บริษทั B
อตัราส่วนประสิทธิภาพในการบริหารสินทรพัย์ (Efficiency Ratios) 
 อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม 
 อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การคา้ (เท่า) 
 ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน) 
 อัตราส่วนหมุนเวียนสินคา้คงเหลือ (เท่า) 
 ระยะเวลาขายสินคา้เฉลี่ย (วัน) 
 อัตราส่วนหมุนเวียนเจา้หนี้การคา้ (เท่า) 
 ระยะเวลาชำระหนี้เจา้หนี้การคา้ (วัน) 
 วงจรเงินสด (วนั) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 71 
MrLikeStock 
Efficiency Ratios
อตัราส่วนหมุนเวียนของสินทรพัย์รวม 
 เป็นการวัดอัตราส่วนเปรียบเทียบยอดขายกับสินทรัพย์รวม แสดงถึง 
ความสามารถในการใชป้ระโยชน์จากสินทรัพย์ทั้งหมดที่กิจการมี 
สินทรัพย์รวม = ยอดขาย (เท่า) สินทรัพย์รวม 
อัตราส่วนนี้มียิ่งสูงยิ่งดี เพราะแสดงถึงมีประสิทธิภาพในการใช้ 
สินทรัพย์ที่กิจการมีอยู่ไดดี้ 
อตัราส่วนนี้มีค่าที่ตํ่า กิจการอาจใชท้รัพย์สินที่มีอยู่อย่างไม่เต็มที่ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 72 
MrLikeStock 
อตัราส่วนหมุนเวียนของสินทรพัย์รวม 
อัตราส่วนหมุนเวียนของ
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วนั) 
อตัราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover) 
MrLikeStock 
= ขายสุทธิ หรือ ขายเชื่อสุทธิ ลูกหนี้การคา้เฉลี่ย (ครั้ง) 
 แสดงถึงจำนวนครั้งของวงจรลูกหนี้ในระหว่างปี 
ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วนั) 
 แสดงถึงจำนวนวันที่กิจการตอ้งรอเพื่อเก็บเงินจากลูกหนี้ 
= อัตราหมุนเ3วีย65นของลูกหนี้ (วัน) 
ยิ่งน้อยยิ่งดี สามารถเก็บเงินลูกหนี้ไดไ้ว มีอำนาจต่อรองกับลูกคา้สูง 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 73
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วนั) 
อตัราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover) 
= สินคา้ตคนง้เทหุนลขือาถยัวเฉลี่ย (ครั้ง) 
 แสดงถึงจำ นวนครั้งที่สามารถขายสินคา้คงเหลือออกไปไดใ้น 
ระยะเวลาหนึ่ง 
ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วนั) 
 แสดงถึงจำนวนวันที่กิจการเก็บหรือมีสินคา้คงเหลือเพื่อรอการขาย 
MrLikeStock 
= อัตราหมุนเวียน3ข6อ5งสินคา้คงเหลือ (วัน) 
ยิ่งน้อยยิ่งดี แสดงว่าบริษัทสามารถในการขายสินคา้ไดไ้ว 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 74
ระยะเวลาชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า (วนั) 
อตัราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้การค้า (Account Payable Turnover) 
MrLikeStock 
= ตน้ทุนขาย หรือ ซื้อเชื่อ เจา้หนี้การคา้ถัวเฉลี่ย (ครั้ง) 
 แสดงถึงจำนวนครั้งของการชำระหนี้ในระหว่างปี 
ระยะเวลาชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า (วนั) 
 แสดงถึงจำนวนวันที่กิจการตอ้งชำระหนี้ทางการคา้ 
= อัตราหมุนเวียน3ข6อ5งเจา้หนี้การคา้ (วัน) 
ยิ่งมากยิ่งดี สามารถยึดระยะเวลาชำระหนี้ออกไป มีเงินสดเหลือใน 
บริษัท สภาพคล่องดี มีอำนาจต่อรองกับเจา้หนี้สูง 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 75
MrLikeStock 
วงจรเงินสด (วนั) 
วงจรเงินสด = ระยะเวลา 
ถือสินคา้ + ระยะเวลา 
เก็บหนี้ - ระยะเวลา 
จ่ายชำระหนี้ 
-50.06 = 23.18 + 0.98 - 74.22 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 76
วงจรเงินสดที่ดี 
 วงจรเงินสด ยิ่งสนั้ยิ่งดี (มีค่าน้อย) เพราะแสดงว่าบริษัทมีสภาพ 
คล่องสูงสามารถเปลี่ยนสินคา้เป็นเงินสดไดเ้ร็ว จากวงจรเงินสด 
ธุรกิจสามารถบริหารสภาพคล่องใหเ้กิดประโยชน์สูงสุดไดโ้ดย 
MrLikeStock 
 ลดระยะเวลาการถือสินคา้ใหสั้้นที่สุดเท่าที่จะทำได้ 
 ลดระยะเวลาการเก็บหนี้ใหสั้้นที่สุดเท่าที่จะทำได้ 
 ขยายระยะเวลาการจ่ายชำระหนี้ใหน้านที่สุดเท่าที่จะทำได้ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 77
อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด (Marker Value Ratios) 
MrLikeStock 
อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด (Marker Value Ratios) 
 กำไรต่อหุน้ (EPS) 
 Price to Earnings Ratio (P/E) 
 มูลค่าหุน้ทางบัญชีต่อหุน้ (Book Value Per Share: BV) 
 Price to Book Value Ratio (P/BV) 
 อัตราส่วนเงินปันผลตอบแทน (Dividend Yield) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 78
79 
MrLikeStock 
อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 http://www.set.or.th/set/companyhighlight.do?symbol=DCC 
&language=th&country=TH 
80 
MrLikeStock 
อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
81 
Total Asset T. 
MrLikeStock 
อตัราส่วนที่ใช้บ่อย (เน้น ๆ) 
Current ratio 
ROE 
D/E 
ROA 
GPM 
NPM 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
 การดูอัตราส่วนทางการเงินทำใหเ้ห็นธรรมชาติของธุรกิจว่า เป็น 
อย่างไรบา้ง แข็งแกร่งหรือไม่ ทำกำไรไดดี้หรือเปล่า บริหารจัดการ 
สินทรัพย์ หนี้สิน ที่มีอยู่ไดมี้ประสิทธิ์ภาพหรือไม่ 
 ไม่ควรที่จะดูอัตราส่วนทางการเงินแค่เพียบบริษัทเดียว ควรจะ 
เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยในอุตสาหกรรมว่าบริษัทนี้ดีหรือไม่ 
 ไม่ควรเปรียบเทียบขา้มอุตสาหกรรม เพราะทำใหอ้าจจะทำใหเ้ขา้ใจ 
ผิดพลาดได้เช่น 
เปรียบเทียบ Net Margin ระหว่าง คนขายคอนโด กับ คา้ปลีก 
เปรียบเทียบหนี้สิน ระหว่างธุรกิจสินเชื่อเช่าซื้อ กับ บ.ขายชาเขียว 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 82 
MrLikeStock 
ข้อสงัเกตในการใช้อตัราส่วนทางการเงิน 
ไม่ควรใช้อัตราส่วนทางการเงินในการวิเคราะห์บริษัทเพียงอย่างเดียว 
ควรนำข้อมูลเชิงคุณภาพมาประกอบการพิจารณาตัดสินใจลงทุนด้วย
วิธีการดูงบการเงินอย่างเร็วคร่าว ๆ 
จากเว็บ www.set.or.th 
MrLikeStock 
Section 3 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 83
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ 
1. ไปยังเวปไซต์ www.set.or.th แลว้ใส่ชื่อหุน้ที่ตอ้งการ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 84
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ 
2. เลือกเมนู งบการเงิน/ผลประกอบการ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 85
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ 
3. เลือกเมนู ผลประกอบการสำคัญ (กราฟ) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 86
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 
1. เลือกเมนู ขอ้มูลหลักทรัพย์ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 87
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 
2. เลือก สรุปขอ้สนเทศบริษัทจดทะเบียน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 88
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 
3. จะไดข้อ้มูล สรุปข้อสนเทศบริษทัจดทะเบียน 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 89
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 
4. สามารถดู ขอ้มูลงบการเงิน เบื้องตน้ได้ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 90
MrLikeStock 
ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 
5. สามารถดู อัตราส่วนทางการเงิน เบื้องตน้ได้ 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 91
92 
อ่านเพิ่มเติมได้ที่ www.MrLikeStock.com 
MrLikeStock 
ไฟล์ อ่านงบการเงินเป็นใน 3 ชั่วโมง 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 93 
MrLikeStock 
ทิ้งท้าย 
งบการเงินเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต 
การวิเคราะห์บริษทัไม่ควรจะดูแต่งบการเงิน 
ต้องดูปัจจยัเชิงคุณภาพประกอบด้วย
94 
MrLikeStock 
ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
95 
MrLikeStock 
ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
96 
MrLikeStock 
ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
97 
MrLikeStock 
ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
98 
MrLikeStock 
ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
ติดตามได้ที่ facebook.com/MrLikeStock 
MrLikeStock 
เร็ว ๆ นี้จะมีงานสมัมนา สอนเกี่ยวกบั 
“อ่านงบการเงิน” 
เนื้อหาเหมาะสำหรับผูเ้ริ่มตน้ ที่อยากอ่านงบการเงินใหเ้ป็น 
ปูพื้นการอ่านงบการเงินแต่ละประเภท จับจุดวิธีการอ่านงบการเงิน 
เสริมทัพดว้ยอัตราส่วนทางการเงิน ที่จำเป็นและควรตอ้งรู้ 
และกำลงัจะมีหนงัสือสอนวิธี 
“อ่านงบการเงิน” 
เนื้อหาแน่น แต่เขา้ใจง่าย เขียนโดยผมเอง (อดใจรออีกสักพักครับ) 
99 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
100 
MrLikeStock 
MrLikeStock 
Thank You 
Q&A 
facebook.com/MrLikeStock 
www.MrLikeStock.com 
MrLikeStock@gmail.com 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน

Contenu connexe

Tendances

เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Ruleเฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Ruleบ้านคณิต อ.มด
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารple2516
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102Chenchira Chaengson
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดOrnkapat Bualom
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...พิทักษ์ ทวี
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนtumetr1
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตPattapong Promchai
 
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)Komsun Dasri
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 

Tendances (20)

เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Ruleเฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
เฉลยแบบฝึกหัด การวางแผนผลิต MRP และการจัดลำดับงาน Johnson Rule
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอการเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
การเขียนแผนธุรกิจเพื่อการนำเสนอ
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์บทที่ 4 การพยากรณ์
บทที่ 4 การพยากรณ์
 
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
โครงงานเรขาคณิตศาสตร์ เรื่อง ความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เ...
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
แผนธุรกิจ (คู่มือการจัดทำแผนธุรกิจ Sme)
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

En vedette

Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursEarn LikeStock
 
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)Earn LikeStock
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิคพิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิคAudy Kenaydep
 
Financial statement analysis
Financial statement analysisFinancial statement analysis
Financial statement analysistumetr1
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsPeerapat Teerawattanasuk
 
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)Puff Pie
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดNattakorn Sunkdon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)Nattakorn Sunkdon
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
Chart Of Accounts Considerations
Chart Of Accounts ConsiderationsChart Of Accounts Considerations
Chart Of Accounts Considerationsduffyri
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 

En vedette (15)

Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
 
Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้นFinancial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
 
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
เริ่มต้นลงทุนหุ้นแนวพื้นฐาน - Mr.LikeStock (Start Invest by Fundamental)
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิคพิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
พิชิตหุ้นด้วยการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐาน และเทคนิค
 
Financial statement analysis
Financial statement analysisFinancial statement analysis
Financial statement analysis
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
 
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
4. กองทุนเปิดกรุงศรีโกลด์ (kf gold)
 
101ch6
101ch6101ch6
101ch6
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ดตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
ตัวอย่างแผนธุรกิจทะเลซีฟู๊ด
 
The 2017 Budget and Economic Outlook
The 2017 Budget and Economic OutlookThe 2017 Budget and Economic Outlook
The 2017 Budget and Economic Outlook
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำร้านดอกไม้(Flower shop)
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
Chart Of Accounts Considerations
Chart Of Accounts ConsiderationsChart Of Accounts Considerations
Chart Of Accounts Considerations
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 

Similaire à ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Statement)

มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐSureeraya Limpaibul
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfdrchanidap
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutiveKASETSART UNIVERSITY
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfSU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfBigmong Mong
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexPeerasak C.
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursASpyda Ch
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นsaowanee
 

Similaire à ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Statement) (20)

FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
Finanacial Management on
Finanacial Management on Finanacial Management on
Finanacial Management on
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutive
 
Robins 13 f561_th
Robins 13 f561_thRobins 13 f561_th
Robins 13 f561_th
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfSU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
งานธุรกิจ
งานธุรกิจงานธุรกิจ
งานธุรกิจ
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้น
 

ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Statement)

  • 1. ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน Introduction to Read Financial Statement MrLikeStock facebook.com/MrLikeStock www.MrLikeStock.com MrLikeStock@gmail.com CopyRight © 2014 สงวนลิขสิทธิ ์ตาม พรบ.ลิขสิทธิ ์พ.ศ. 2537 ท่านสามารถทำสำเนา แจกจ่าย เผยแพร่ได้ ห้าม การนำไปจำหน่าย หรือใช้งานในเชิงพาณิชย์ หรือหาผลประโยชน์อื่นใด Sep 2014
  • 2. MrLikeStock เร็ว ๆ นี้จะมีงานสมัมนา สอนเกี่ยวกบั “อ่านงบการเงิน” เนื้อหาเหมาะสำหรับผูเ้ริ่มตน้ ที่อยากอ่านงบการเงินใหเ้ป็น ปูพื้นการอ่านงบการเงินแต่ละประเภท จับจุดวิธีการอ่านงบการเงิน เสริมทัพดว้ยอัตราส่วนทางการเงิน ที่จำเป็นและควรตอ้งรู้ และกำลงัจะมีหนงัสือสอนวิธี “อ่านงบการเงิน” เนื้อหาแน่น แต่เขา้ใจง่าย เขียนโดยผมเอง (อดใจรออีกสักพักครับ) 2 ติดตามได้ที่ facebook.com/MrLikeStock ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 3. 3 http://www.youtube.com/watch?v=FWcZb1XQ8eM MrLikeStock ดูย้อนหลงัได้ที่ YouTube ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 4. MrLikeStock เนื้อหาประกอบด้วย 1. งบการเงินแต่ละประเภท งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล), งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ งบกระแสเงินสด, งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจา้ของ, หมายเหตุประกอบงบการเงิน 2. การวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน  Liquidity Ratios, Profitability Ratios, Leverage Ratios, Efficiency Ratios, Marker Value Ratios 3. วิธีการดูงบการเงินอย่างเร็วคร่าว ๆ จากเว็บ www.set.or.th case study : DCC (งบปี 2556) คำเตือน : งบการเงินที่ปรากฎในเอกสารนี้เป็นเพียงการยกตัวอย่างเท่านั้น มิได้เป็นการชี้นำแต่อย่างใด ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 4
  • 5. MrLikeStock เกริ่นนำงบการเงิน  งบการเงิน คือ สิ่งที่สามารถบ่งบอกถึงสภาพของกิจการได้ กิจการ จดัทำบญัชี งบการเงิน ทำใหท้ราบถึงสภาพของกิจการ ซึ่งเป็นขอ้มูล ณ ปัจจุบัน และอดีตที่ผ่านมา แต่ในอนาคตอาจจะดีหรือแย่กว่านี้ก็เป็นไดเ้ช่น หาก กิจการ ยังมีรายไดน้อ้ยกว่าค่าใชจ้่าย ถา้ทำการปรับปรุงการจัดการใหดี้ ขึ้น ลดค่าใชจ้่าย ก็จะกลับมามีกำไรได้ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 5
  • 6. MrLikeStock อ่านงบ ยากหรือไม่ ? เราไม่จำเป็นตอ้งรูว้่าบัญชีเคา้ทำกันอย่างไร หนา้ที่ของนักลงทุนคือ “ต้องอ่านให้เป็น !” ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 6
  • 7. MrLikeStock งบการเงินคืออะไร ? ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 7
  • 8. MrLikeStock Section 1 งบการเงินแต่ละประเภท ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 8
  • 9. MrLikeStock ส่วนประกอบของงบการเงิน งบการเงินของกิจการจะประกอบดว้ย 5 ส่วน ดังนี้ 1. งบแสดงฐานะการเงิน (Statement of Financial Position) 2. งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ (Comprehensive Profit and Loss Statement) 3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ (Statement of Changes Equity) 4. งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) 5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน (Notes to Financial Statement) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 9
  • 10.  งบแสดงฐานะการเงิน จะเป็นงบการเงินที่แสดง ณ จุดเวลาใดเวลา หนึ่ง  งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จและงบกระแสเงินสด เป็นงบการเงินที่ แสดงในช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง MrLikeStock รอบระยะเวลาบญัชี 10 วันที่ 1 มกราคม วันที่ 31 มีนาคม รอบระยะเวลา 1 ไตรมาส บริษัทในตลาดหุ้น ต้องนำส่ง งบการเงินรายไตรมาส ภายใน 45 วัน นับแต่วัน สุดท้ายของแต่ละไตรมาส งบการเงินประจำปี ภายใน 60 วัน นับแต่วันสิ้นสุดรอบบัญชี ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 11.  หรือในชื่อเดิมว่า งบดุล (Balance Sheet)  หมายถึง งบการเงินที่แสดงขอ้มูลเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ง แบ่งเป็น 3 ส่วน โดยเขียนเป็นสมการทางบัญชีไดดั้งนี้ สินทรพัย์ = หนี้สิน + ส่วนของเจ้าของ MrLikeStock งบแสดงฐานะการเงิน 11 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 12. สินทรพัย์  หมายถึง ทรัพยากรที่มีอยู่ในความควบคุมของกิจการ ทรัพยากร ดังกล่าวเป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งกิจการคาดว่าจะไดรั้บ ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต หนี้สิน  หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบันของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าวเป็น ผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่งการชำระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่งผล ใหกิ้จการสูญเสียทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ส่วนของเจ้าของ  หมายถึง ส่วนของเจา้ของกิจการที่มีสิทธิหรือส่วนไดเ้สียคงเหลือใน สินทรัพย์ของกิจการภายหลังหักหนี้สินออกแลว้ MrLikeStock ส่วนประกอบ งบแสดงฐานะการเงิน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 12
  • 13. สินทรพัย์ (Asset) สินทรพัย์ แบ่งได้2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ 1. สินทรพัย์หมุนเวียน (Current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่มี สภาพคล่องสูงสามารถแปลงเป็นเงินสดไดร้วดเร็ว ถือไวโ้ดยมี วัตถุประสงค์เพื่อการคา้ หรือสินทรัพย์ที่คาดว่าจะไดรั้บประโยชน์ ภายในระยะสนั้ ไม่เกิน 1 ปี เช่น เงินสดหรือเทียบเท่า ลูกหนี้การคา้ สินคา้คงเหลือ ฯลฯ 2. สินทรพัย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Assets) หมายถึง สินทรัพย์ที่กิจการมีไวใ้นครอบครองในระยะยาว เกินกว่า 1 ปี MrLikeStock รวมถึงสินทรัพย์ที่มีตัวตน และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน เช่น ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ลิขสิทธิ์ สัมปทาน ฯลฯ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 13
  • 14. MrLikeStock สินทรพัย์ (Asset) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 14
  • 15. หนี้สิน (Liabilities) หนี้สิน แบ่งได้2 ประเภทหลัก ๆ ดังนี้ 1. หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สินระยะ สั้นที่ตอ้ง ชำระภายใน 1 ปี เช่น เงินเบิกเกินบัญชี เจา้หนี้การคา้ ค่าใชจ้่ายคา้งจ่าย ฯลฯ 2. หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non-Current Liabilities) หมายถึง MrLikeStock หนี้สินระยะยาวที่ตอ้งจ่าย ชำระเกินกว่า 1 ปี เช่น เงินกูยื้มระยะยาว หุน้กู้ฯลฯ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 15
  • 16. MrLikeStock หนี้สิน (Liabilities) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 16
  • 17. ส่วนของเจา้ของ ประกอบไปดว้ย เช่น  ทุนเรือนหุ้น (Share Capital) หมายถึง การนำเงินมาลงทุนของ เจา้ของกิจการ  กำไร(ขาดทุน)สะสม (Retained Earnings) หมายถึง กำไร สะสมส่วนที่ไม่ไดจ้่ายเป็นเงินปันผลใหกั้บผูถื้อหุน้ เป็นกำไรที่กิจการ สะสมไวตั้้งแต่เริ่มก่อตั้งกิจการ 17 MrLikeStock ส่วนของเจ้าของ (Owner’s Equity) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 18. MrLikeStock ภาพรวม งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 18
  • 19. 19 MrLikeStock ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) บริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย งบแสดงฐานะการเงิน งบการเงินรวม 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555 หมายเหตุ(ปรับปรุงใหม่) สินทรัพย์ สินทรัพย์หมุนเวียน เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด 5 169,125,129 188,624,482 ลูกหนี้และตัว๋เงินรับการค้า - สุทธิ7 105,988,253 136,620,662 ลูกหนี้การค้าและลูกหนี้อื่น - บริษัทย่อย 6 , 7 - - สินค้าคงเหลือ - สุทธิ8 1,604,766,656 1,549,877,058 สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 9 35,121,765 3 5,684,634 รวมสินทรัพย์หมุนเวียน 1,915,001,803 1,910,806,836 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 20. 20 ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เงินลงทุนในบริษัทย่อย 10 - - เงินลงทุนระยะยาวอื่น - สุทธิ - - ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ - สุทธิ 11 2,942,094,316 2,700,851,480 ค่าความนิยม 103,623,825 103,623,825 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน - สุทธิ12 1 4,877,346 7,121,166 สินทรัพย์ภาษีเงินได้รอตัดบัญชี21 127,336,077 118,543,998 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น 13 3 7,619,031 3 6,515,473 รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 3,225,550,595 2,966,655,942 รวมสินทรัพย์ 5,140,552,398 4,877,462,778 MrLikeStock ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 21. 21 MrLikeStock ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) 31 ธันวาคม 31 ธันวาคม 2556 2555 หมายเหตุ(ปรับปรุงใหม่) หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น หนี้สินหมุนเวียน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน 14 1 ,185,000,000 840,000,000 เจ้าหนี้การค้าและตัว๋เงินจ่าย 15 588,126,559 688,964,036 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - บริษัทย่อย 6 - - ภาษีเงินได้ค้างจ่าย 148,058,104 182,525,931 หนี้สินหมุนเวียนอื่น 16 235,718,377 175,596,665 รวมหนี้สินหมุนเวียน 2,156,903,040 1 ,887,086,632 หนี้สินไม่หมุนเวียน เงินสำรองเผื่อเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 17 53,479,429 51,447,498 หนี้สินภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 19 135,695,957 118,464,522 หนี้สินภาษีเงินได้รอตัดบัญชี21 33,300,322 22,759,402 รวมหนี้สินไม่หมุนเวียน 222,475,708 192,671,422 รวมหนี้สิน  2,379,378,748 2 ,079,758,054 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 22. 22 MrLikeStock ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) ส่วนของผู้ถือหุ้น ทุนเรือนหุ้น - หุ้นสามัญ มูลค่าหุ้นละ 1 - ทุนจดทะเบียน 408,000,000 หุ้น 408,000,000 408,000,000 - ทุนเรือนหุ้นที่ออกและรับชำระแล้ว 408,000,000 หุ้น 408,000,000 408,000,000 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 506,000,000 506,000,000 กำไรสะสม - จัดสรรเพื่อสำรองตามกฎหมาย 20 40,800,000 40,800,000 - ยังไม่ได้จัดสรร 1,756,598,409 1 ,796,705,726 รวมส่วนของผู้ถือหุ้นของบริษัท 2,711,398,409 2 ,751,505,726 49,775,241 46,198,998 ส่วนได้เสียที่ไม่อยู่ในอำนาจควบคุมในบริษัทย่อย  รวมส่วนของผู้ถือหุ้น 2,761,173,650 2 ,797,704,724 รวมหนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 5,140,552,398 4 ,877,462,778 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 23. 23 MrLikeStock ตวัอย่าง งบแสดงฐานะการเงิน (งบดุล) รวมสินทรพัย์= รวมหนี้สิน + ส่วนของผู้ถือหุ้น ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 24.  หรือในชื่อเดิมว่า งบกำไรขาดทุน  หมายถึง งบการเงินที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของกิจการว่ามี รายได้ (Revenues) และ ค่าใช้จ่าย (Expenses) เป็นเท่าใด สำหรับรอบระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง เช่น งวด 3 เดือน งวด 1 ปี 24 MrLikeStock งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ รายได้ - ค่าใช้จ่าย = กำไร (ขาดทุน) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 25. 25 MrLikeStock งบกำไรขาดทุน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 26.  หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบบัญชีเกิดขึ้น จากการที่กิจการไดรั้บจากการขายสินคา้หรือบริการตามปกติ หรือ ผลตอบแทนอื่นๆ ทำใหส้่วนของเจา้ของเพิ่มขึ้น  แต่ไม่รวมเงินทุนที่ไดรั้บจากส่วนของเจา้ของ ดังนั้นการนำเงินสดมาลงทุนเพิ่มในกิจการจึงไม่ถือว่าเป็นรายได้ 26 MrLikeStock รายได้ (Revenue) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 27. รายได้ไดแ้ก่  รายได้จากการขายและการให้บริการ คือรายไดจ้าการดำเนินงาน ตามปกติ  รายได้อื่น คือรายไดที้่ไม่ไดเ้กิดจากการดำเนินงานตามปกติ ไม่ไดม้าจากธุรกิจหลักของกิจการ 27 MrLikeStock รายได้ (Revenue) ขายสินคา้ ไดเ้ป็น เงินสด ขายส่งใหตั้วแทน ไดเ้ป็น ลูกหนี้การคา้ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 28.  หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชี เช่น ค่าใชจ้่ายจากการขายสินคา้หรือบริการตามปกติ หรือค่าใชจ้่าย อื่นๆ  แต่ไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนใหกั้บส่วนของเจา้ของ ดังนั้นการจ่ายปันผลจึงไม่ถือเป็นค่าใชจ้่าย 28 MrLikeStock ค่าใช้จ่าย (Expenses) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 29. MrLikeStock ค่าใชจ้่าย ไดแ้ก่  ตน้ทุนขายและการใหบ้ริการ  ค่าเสื่อมราคา (Depreciation)  ค่าใชจ้่ายในการขายและบริหาร (SG&A)  ดอกเบี้ยจ่าย (ตน้ทุนทางการเงิน) 29 ค่าใช้จ่าย (Expenses) ซื้อวัตถุดิบดว้ยเงินเชื่อ เป็น เจา้หนี้การคา้ จ่ายค่าแรง ดว้ย เงินสด ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 30. 30 MrLikeStock ภาพรวมของกำไรสุทธิ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 31. 31 MrLikeStock แผนภูมิของกำไรสุทธิ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 33. 33 MrLikeStock ตวัอย่าง งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ 2556 2555 หมายเหตุ(ปรับปรุงใหม่) รายได้ รายได้จากการขาย 6 7 ,546,224,632 7 ,602,746,830 ต้นทุนขาย ต้นทุนขาย 6, 23, 24 ( 4,447,427,512) ( 4,624,989,865) กำไรขั้นต้น 3,098,797,120 2 ,977,756,965 รายได้อื่น 6 18,153,610 34,779,531 ค่าใช้จ่ายในการขาย 24 (755,360,609) (760,574,805) ค่าใช้จ่ายในการบริหาร 24 (701,056,641) (588,040,239) ต้นทุนทางการเงิน (23,877,575) (15,795,442) กำไรก่อนภาษีเงินได้ 1,636,655,905 1 ,648,126,010 ค่าใช้จ่ายภาษีเงินได้ (334,946,979) (378,536,483) กำไรสำหรับปี 1,301,708,926 1 ,269,589,527 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 34. 34 MrLikeStock ตวัอย่าง งบกำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จอื่นสำหรับปี ขาดทุนจากการประมาณการตามหลัก คณิตศาสตร์ประกันภัย - สุทธิจากภาษี 21 - ( 8,232,673) กำไร (ขาดทุน) เบ็ดเสร็จรวมสำหรับปี 1,301,708,926 1 ,261,356,854 การแบ่งปันกำไรสำหรับปี ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท 1,298,132,683 1 ,265,082,389 ส่วนได้เสียที่ไม่อยู่ในอำนาจควบคุมในบริษัทย่อย 3,576,243 4 ,507,138 1,301,708,926 1 ,269,589,527 การแบ่งปันกำไรเบ็ดเสร็จ ส่วนที่เป็นของผู้ถือหุ้นของบริษัท 1,298,132,683 1 ,256,976,414 ส่วนได้เสียที่ไม่อยู่ในอำนาจควบคุมในบริษัทย่อย 3,576,243 4 ,380,440 1,301,708,926 1 ,261,356,854 กำไรต่อหุ้นขั้นพื้นฐาน กำไร (บาทต่อหุ้น) 3.18 3.10 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน จำนวนหุ้นสามัญถัวเฉลี่ยถ่วงน้ำหนัก (หน่วย : หุ้น 408,000,000 408,000,000
  • 35.  กำไรสุทธิเป็นกำไรที่แสดงถึงผลการดำเนินงานของธุรกิจ แต่ยัง ไม่ใช่กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ตอ้งหัก กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น ก่อน  กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จอื่น (Other comprehensive income) คือ รายการรายไดแ้ละค่าใชจ้่าย เกิดจากการตีมูลค่าใหม่ของ สินทรัพย์และหนี้สิน ทั้งระยะสั้นและยาว รวมถึง การปรับปรุงการจัด ประเภทรายการใหม่ ที่ไม่อนุญาตใหรั้บรูใ้นงบกำไรขาดทุนแบบปกติ  กำไรขาดทุนส่วนนี้ ไม่นำไปคิด EPS 35 MrLikeStock กำไรขาดทุนเบ็ดเสร็จ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 36.  หมายถึง งบการเงินที่แสดงถึงการไดม้าและการใชไ้ปของเงินสด และรายการเทียบเท่าเงินสดในรอบระยะเวลาหนึ่ง ทำใหนั้กลงทุน ทราบถึงสภาพคล่องของกิจการ และกระแสเงินสดที่ไหนเวียนใน กิจการ แบ่งเป็น 3 กิจกรรม คือ 1. กิจกรรมดำเนินงาน (Operating Activities) หมายถึง กิจกรรม MrLikeStock หลักที่ก่อใหเ้กิดรายไดแ้ละค่าใชจ้่ายของกิจการ 2. กิจกรรมลงทุน (Investing Activities) หมายถึง การไดม้าและ จำหน่ายสินทรัพย์ระยะยาวและเงินลงทุนอื่น ๆ ที่ไม่กระทบการ ดำเนินงาน 3. กิจกรรมการจดัหา (Financing Activities) หมายถึง กิจกรรม ที่เกิดการเปลี่ยนแปลงรายการในส่วนของเจา้ของและส่วนของการ กูยื้ม 36 งบกระแสเงินสด (Cash Flow Statement) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 37.  หมายถึง กิจกรรมหลักที่ก่อใหเ้กิดรายไดแ้ละค่าใชจ้่ายของกิจการ เป็นผลมาจากรายการต่าง ๆ ที่ใชใ้นการคำนวณกำไรหรือขาดทุน สะทอ้นถึงเงินสดที่แทจ้ริงจากกิจกรรมดำเนินงาน  เกี่ยวกับบัญชี สินทรพัย์หมุนเวียน หนี้สินหมุนเวียน  กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน ควรจะมีค่าเป็น + แสดง ถึงว่า กิจการมีรายไดแ้ละไดรั้บเป็นเงินสด 37 MrLikeStock กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 38.  งบกำไรขาดทุน จะจัดทำตาม เกณฑ์คงค้าง (Accrual basis)  งบกระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน เป็นการแปลงรายได้ และค่าใชจ้่ายทางบัญชี ใหเ้ป็น เกณฑ์เงินสด (Cash basis) 38 MrLikeStock CFO vs P/L ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 39.  หมายถึง การไดม้าและจำหน่ายสินทรัพย์ระยะยาวและเงินลงทุนอื่น ๆ ที่ไม่กระทบการดำเนินงาน เนน้รายการดา้นการลงทุน  เกี่ยวกับบัญชี สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน สินทรัพย์หมุนเวียน (เฉพาะที่เกี่ยวกับการลงทุน)  กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน มกัจะมีค่าเป็น – เพราะกิจการ มักมีการลงทุนอยู่เสมอ เพื่อดำเนินงานหรือขยายกิจการ 39 MrLikeStock กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 40.  หมายถึง กิจกรรมที่เกิดการเปลี่ยนแปลงรายการในส่วนของเจา้ของ และส่วนของการกูยื้ม  เกี่ยวกับบัญชี หนี้สินหมุนเวียน (เฉพาะที่เกี่ยวกับการจัดหา) หนี้สินไม่หมุนเวียน ส่วนของเจ้าของ (ทุน)  กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจดัหา ควรสังเกตว่า ถา้มีค่าเป็น + เกิดจากการกูยื้มเงินทั้งระยะสั้นและยาว 40 MrLikeStock กระแสเงินสดจากกิจกรรมการจดัหา ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 41. 41 MrLikeStock งบกระแสเงินสด 1. กิจกรรมดำเนินงาน 1.1 ปรับปรุงกำไร/ขาดทุนสุทธิจากการดำเนินงาน xx 1.2 สินทรัพย์ดำเนินงาน xx 1.3 หนี้สินดำเนินงาน xx xx 2. กิจกรรมลงทุน xx 3. กิจกรรมจดัหาเงิน xx กระแสเงินสดสุทธิเพิ่มขึ้น (ลดลง) xx เงินสดตน้งวด xx เงินสดปลายงวด xx ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 42. 42 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงานทางอ้อม อ่านเพิ่มเติมได้ที่ งบกระแสเงินสด (Statement of Cash Flow) / MrLikeStock.com http://www.mrlikestock.com /2013/05/27/statement-of-cash- MrLikeStock flow-likestock/ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 43. 43 MrLikeStock ตวัอย่างงบกระแสเงินสด งบการเงินรวม 2556 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมดำเนินงาน กำไรก่อนภาษีเงินได้ 1,636,655,905 1,648,126,010 ปรับปรุงกำไรก่อนภาษีเงินได้เป็นเงินสดรับ (จ่าย) จากกิจกรรมดำเนินงาน:- ค่าเสื่อมราคาและค่าตัดจำหน่าย 232,315,410 183,001,088 กลับรายการค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ (672,983) (862,389) กลับรายการค่าเผื่อสินค้าล้าสมัย (83,286) (9,950) กลับรายการค่าเผื่อเงินลงทุนระยะยาวอื่น - (249,750) กำไรจากการจำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื่น - (137,353) ขาดทุน (กำไร) จากการจำหน่ายสินทรัพย์ 9,652,100 1,600,825 ขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง 4,007,267 803,148 ดอกเบี้ยรับ (918,379) (1,283,015) ดอกเบี้ยจ่าย 23,877,575 1 5,795,442 สำรองเผื่อเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ 2,530,191 2,458,715 ค่าเผื่อภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน 13,818,921 1 3,818,921 กำไรจากการดำเนินงานก่อนการเปลี่ยนแปลง ในส่วนของสินทรัพย์และหนี้สินดำเนินงาน 1,921,182,721 1,863,061,692 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 44. 44 MrLikeStock ตวัอย่างงบกระแสเงินสด สินทรัพย์ดำเนินงานลดลง (เพิ่มขึ้น) ลูกหนี้และตัว๋เงินรับการค้า 30,632,409 (5,581,275) ลูกหนี้การค้า - บริษัทย่อย - - สินค้าคงเหลือ (54,806,312) (283,371,980) สินทรัพย์หมุนเวียนอื่น 1,235,852 190,226 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น (303,029) (1,950,211) หนี้สินดำเนินงานเพิ่มขึ้น (ลดลง) เจ้าหนี้การค้าและตัว๋เงินจ่าย (104,834,024) 16,719,875 เจ้าหนี้การค้าและเจ้าหนี้อื่น - บริษัทย่อย - - หนี้สินหมุนเวียนอื่น 59,998,814 25,828,326 สำรองเผื่อเงินกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (498,260) (583,716) หนี้สินภาระผูกพันผลประโยชน์พนักงาน (339,224) (2,734,905) เงินสดได้มาจากการดำเนินงาน 1,852,268,947 1,611,578,032 จ่ายภาษีเงินได้ (367,665,964) (465,646,281) เงินสดสุทธิได้มาจากกิจกรรมดำเนินงาน 1,484,602,983 1,145,931,751 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 45. 45 MrLikeStock ตวัอย่างงบกระแสเงินสด งบการเงินรวม 2556 2555 กระแสเงินสดจากกิจกรรมลงทุน จ่ายเงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ (483,776,545) (371,404,851) จ่ายเงินสดจ่ายเพื่อซื้อสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (12,110,040) (806,080) จ่ายเงินสดจ่ายค่าสิทธิการเช่า (1,578,947) - รับเงินสดรับจากการจำหน่ายสินทรัพย์ 5,698,477 6,220,398 รับเงินสดรับจากการจำหน่ายเงินลงทุนระยะยาวอื่น - 636,853 ดอกเบี้ยรับ 918,379 1,283,015 เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมลงทุน (490,848,676) (364,070,665) กระแสเงินสดจากกิจกรรมจัดหาเงิน เงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงินเพิ่มขึ้น 8,690,000,000 5,840,000,000 จ่ายชำระเงินกู้ยืมระยะสั้นจากสถาบันการเงิน (8,345,000,000) (5,400,000,000) จ่ายดอกเบี้ย (20,013,660) ( 11,797,183) จ่ายเงินปันผล (1,338,240,000) (1,211,760,000) เงินสดสุทธิใช้ไปในกิจกรรมจัดหาเงิน (1,013,253,660) (783,557,183) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดลดลง - สุทธิ (19,499,353) (1,696,097) เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันต้นปี 188,624,482 190,320,579 เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ณ วันสิ้นปี 169,125,129 188,624,482 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 46. 46 MrLikeStock ข้อสงัเกต เนื่องจาก เงินสด เป็นสิ่งจำเป็นในการดำเนินงาน ของกิจการ การที่กิจการมีกำไรมาก ๆ ไม่ไดแ้ปลว่า จะมีเงินสดมากเสมอไป ดังนั้นนักลงทุน ควรจะต้อง ดูงบกระแสเงินสดประกอบด้วย ทำ ให้ทราบ แหล่งที่มาและใชไ้ปของเงินสด ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 47.  หมายถึง งบการเงินที่แสดงการเปลี่ยนแปลงกระทบยอดรายการต่าง ๆ ในส่วนของเจา้ของ ระหว่างตน้งวดบัญชีและสิ้นงวดบัญชี เช่น ทุน ที่ออกและเรียกชำระแลว้ ส่วนเกินมูลค่าหุน้ กำไร (ขาดทุน) สะสม  ส่วนของเจา้ของจะเปลี่ยนแปลงเมื่อมีการเพิ่มทุน ถอนทุน กำไร ขาดทุน จ่ายปันผล  เปรียบเสมือนเป็นสมุดบัญชีเงินฝากของกิจการ ใช้ดูการ เคลื่อนไหวส่วนของเจ้าของ 47 MrLikeStock งบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 48. MrLikeStock  งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่วนของผูถื้อหุน้ (บางส่วน) 48 ตวัอย่างงบงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของเจ้าของ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 49.  ขอ้มูลต่าง ๆ ที่ไม่ไดเ้ปิดแสดงในงบการเงิน นโยบายทางบัญชี MrLikeStock การรับรูร้ายได้  การตัดค่าเสื่อม การตีมูลค่าสินคา้คงเหลือ เจา้หนี้การคา้ ลูกหนี้การคา้ และ ลูกหนี้คา้งชำระ  ข้อควรระวงั บาง บ. รายไดโ้ตมาก ๆ ตอ้งมาดูว่าการรับรูร้ายไดใ้ชน้โยบายแบบไหน  อยู่ดี ๆ กำไรก็บวม อาจมีการเปลี่ยนแปลงการตัดค่าเสื่อม ลูกหนี้การคา้คา้งชำระนาน ๆ มีจำนวนเท่าใด น่ากลัวหรือไม่ ... 49 หมายเหตุประกอบงบการเงิน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 50.  รายงานความเห็นผูส้อบบัญชีเป็นขอ้มูลที่แสดงไวใ้นงบการเงิน เพื่อใหผู้ใ้ชง้บการเงินมั่นใจในความถูกตอ้งของงบการเงินนั้น ๆ  ดังนั้น “รายงานผูส้อบบัญชี” ยังเป็นขอ้มูลสำคัญที่ช่วยใหผู้อ้่านงบ เกิดความมั่นใจในความถูกตอ้งของขอ้มูลตามมาตรการบัญชีที่รับรอง ทั่วไป 50 MrLikeStock รายงานความเห็นของผู้สอบบญัชี ก่อนที่จะทำการอ่านงบการเงิน ต้องอ่านรายงานความเห็นของผู้สอบบญัชีก่อน ! ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 51. MrLikeStock ความเห็นของผูส้อบบัญชี ไดแ้ก่  ไม่มีเงื่อนไข (งบการเงินถูกตอ้ง น่าเชื่อถือ) ผูส้อบบัญชีไม่พบสิ่งที่ไม่สอดคลอ้งกับหลักบัญชี  มีเงื่อนไข (ใหร้ะวัง) มีบางส่วนไม่ถูกตอ้งหรือผูส้อบบัญชีแสดงเงื่อนไขบางรายการ  ไม่แสดงความเห็น (ใหร้ะวังมากยิ่งขึ้น) ผูส้อบบัญชีไม่สามารถใหค้วามเห็นต่อความถูกตอ้งได้ 51 รายงานความเห็นของผู้สอบบญัชี ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 52. MrLikeStock  ตัวอย่าง DCC งบประจำปี 2556 ในงบนี้ ผูส้อบบัญชี รบัรองรายงาน ถือว่า งบเชื่อถือได้(ขนั้ต้น) 52 รายงานความเห็นของผู้สอบบญัชี ความเห็น ข้าพเจ้าเห็นว่า งบการเงินรวมข้างต้นแสดงฐานะการเงินของบริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค จำกัด (มหาชน) และบริษัทย่อย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และผลการดำเนินงาน รวมและกระแสเงินสดรวมสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน และแสดงฐานะการเงินเฉพาะ ของบริษัท ไดนาสตี้ เซรามิค จำกัด (มหาชน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2556 และผลการ ดำเนินงานและกระแสเงินสดสำหรับปีสิ้นสุดวันเดียวกัน โดยถูกต้องตามที่ควรใน สาระสำคัญตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินของไทย ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 53. 53 MrLikeStock กรณีผู้สอบบญัชีไม่แสดงความเห็น ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 54. การวิเคราะห์อตัราส่วนทางการเงิน MrLikeStock Section 2 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 54
  • 55. 55 MrLikeStock อตัราส่วนทางการเงิน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 56. MrLikeStock  อัตราส่วนสภาพคล่อง  Current ratio, Quick ratio  อัตราส่วนโครงสรา้งทางการเงิน  Debt ratio, D/E ratio, Interest coverage ratio  อัตราส่วนความสามารถในการทำกำไร GPM, NPM, ROA, ROE  อัตราส่วนประสิทธิภาพในการบริหารสินทรัพย์ Total Asset Turnover, Cash Cycle  อัตราส่วนมูลค่าทางการตลาด EPS, PE, Book Value, PB, Dividend Yield 56 อตัราส่วนทางการเงิน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 57. MrLikeStock อตัราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios) อตัราส่วนสภาพคล่อง (Liquidity Ratios)  อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio)  อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 57
  • 58. อตัราส่วนเงินทุนหมุนเวียน (Current ratio)  เป็นการวัดอัตราส่วนระหว่างสินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) กับหนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) (Current Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน (เท่า) หนี้สินหมุนเวียน ถ้ามีค่า > 1 แสดงว่าบริษัทมีสภาพคล่อง เพราะมีสินทรัพย์หมุนเวียน มากกว่าหนี้สินหมุนเวียนที่บริษัทตอ้งชำระ  ถ้ามีค่า < 1 แสดงว่าบริษัทไม่มีสภาพคล่อง เพราะมีสินทรัพย์ หมุนเวียนไม่เพียงพอที่จะจ่ายหนี้สินหมุนเวียนที่บริษัทตอ้งชำระ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 58 MrLikeStock อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียน
  • 59. อตัราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว (Quick ratio)  วัดอัตราส่วนของสินทรัพย์หมุนเวียนที่มีสภาพคล่องมาก แปรสภาพ เป็นเงินสดไดเ้ร็ว ตัดรายการสินคา้คงเหลือออกไป เพราะสินคา้ คงเหลือเปลี่ยนเป็นเงินสดไดช้า้ (Quick Ratio) = สินทรัพย์หมุนเวียน – สินคา้คงเหลือ (เท่า) หนี้สินหมุนเวียน  ถ้ามีค่า > 1 แสดงว่าบริษัทมีสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องสูง(สามารถ เปลี่ยนเป็นเงินสดไดเ้ร็ว) เพียงพอที่จะจ่ายหนี้สินหมุนเวียน ค่านี้ยิ่งสูง ยิ่งดี แสดงถึงสภาพคล่องของบริษัทในระดับสูง ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 59 MrLikeStock อัตราส่วนเงินทุนหมุนเวียนเร็ว
  • 60. อตัราส่วนโครงสร้างเงินทุน (Leverage Ratios) อตัราส่วนโครงสร้างเงินทุน (Leverage Ratios)  อัตราส่วนหนี้สิน (Debt ratio)  อัตราส่วนหนี้สินต่อส่วนของผูถื้อหุน้ (Debt to Equity ratio : D/E)  อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย (Interest coverage ratio) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 60 MrLikeStock
  • 61. MrLikeStock อตัราส่วนหนี้สิน (Debt ratio)  แสดงถึงสัดส่วนระหว่างหนี้สินกับสินทรัพย์รวมของกิจการ อัตราส่วนหนี้สิน (Debt Ratio) = หนี้สินรวม (เท่า) สินทรัพย์รวม  อัตราส่วนหนี้สินมีค่าสูงเกินไปก็ไม่ดี เพราะแสดงว่าบริษัทมีหนี้สูงใน การดำเนินงาน อาจมีภาระดอกเบี้ยสูง ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 61
  • 62. MrLikeStock D/E Ratio (Debt to Equity Ratio)  แสดงถึงสัดส่วนของเงินทุนจากการกูยื้มต่อส่วนทุน (D/E) = หนี้สินรวม (เท่า) ส่วนของผูถื้อหุน้ Debt to Equity Ratio ถา้ > 1 แสดงกิจการจัดหาเงินทุนดว้ยหนี้ > ทุน ถา้ < 1 แสดงกิจการจัดหาเงินทุนดว้ยหนี้ < ทุน ถา้ = 1 แสดงกิจการจัดหาเงินทุนดว้ยหนี้ = ทุน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 62
  • 63. Interest Coverage Ratio = กำไรก่อดนอดกอเบกี้ยเบจี้ย่าแยละภาษี(เท่า) MrLikeStock Interest Coverage Ratio  อัตราส่วนความสามารถในการจ่ายดอกเบี้ย  แสดงถึงความสามารถในการชำระดอกเบี้ยเงินกูข้องกิจการ ถา้ > 1 แสดงว่ามีกำไรจากการดำเนินงานเพียงพอที่จะจ่ายดอกเบี้ย ถา้ < 1 แสดงว่ามีกำไรจากการดำเนินงานไม่เพียงพอที่จะจ่ายดอกเบี้ย ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 63
  • 64. อตัราส่วนความสามารถในการทำกำไร (Profitability Ratios)  อัตรากำไรขั้นตน้ (Gross profit margin)  อัตรากำไรสุทธิ (Net profit margin)  อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทั้งหมด (Return On Assets : ROA)  อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผูถื้อหุน้ (Return On Equity : ROE) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 64 MrLikeStock Profitability Ratios
  • 65.  แสดงถึงความสามารถในการทำกำไรขั้นตน้ เปรียบเทียบกับยอดขาย (ยอดขายหักดว้ยตน้ทุนขายสินคา้หรือบริการ) (GPM) = กำไรขั้นตน้ x 100 (%) ยอดขาย อัตรากำไรขั้นตน้ ยิ่งสูงยิ่งดี เพราะแสดงถึงความสามารถในการทำ กำไรของกิจการ มีการควบคุมตน้ทุนการผลิตที่ดี ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 65 MrLikeStock อตัรากำไรขนั้ต้น (Gross profit margin) อตัรากำไรขนั้ต้น
  • 66.  แสดงถึงความสามารถในการทำกำไรสุทธิ เปรียบเทียบกับยอดขาย  กำไรสุทธิ = กำไรหลังหักค่าใชจ้่าย ดอกเบี้ย และภาษี (NPM) = กำไรสุทธิ x 100 (%) ยอดขาย อัตรากำไรขั้นสุทธิ ยิ่งสูงยิ่งดี แต่ตอ้งขึ้นอยู่กับธุรกิจดว้ย เช่น ธุรกิจคา้ปลีกจะมี NM ตํ่า แต่ก็สามารถ ทำกำไรไดม้ากเพราะการหมุนเวียนสินคา้มาก ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 66 MrLikeStock อตัรากำไรสุทธิ (Net profit margin) อตัรากำไรสุทธิ
  • 67. อตัราผลตอบแทนต่อสินทรพัย์รวม  แสดงใหเ้ห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลกำไรของกิจการเทียบกับ สินทรัพย์ทั้งหมด ROA ควรมีค่าสูง เพราะแสดงว่าธุรกิจสามารถใหผ้ลตอบแทนจากการ สินทรัพย์ทั้งหมดสูง ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 67 MrLikeStock ROA ROA = สินกทำรไัพรสยุท์รวธมิ x ( เ1ฉ0ล0ี่ย) (%)
  • 68. ROE อตัราผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น  แสดงใหเ้ห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างผลกำไรของกิจการเทียบกับ ส่วนของผูถื้อหุน้ MrLikeStock ROE = ส่วนกขำอไงรเสจุทา้ขธิอ xง 1(0เฉ0ลี่ย) (%) ROE ควรมีค่าสูง แต่ตอ้งระวัง ROE สูง ๆ ที่เกิดจาก หนี้สินเยอะ ๆ ส่วนของผูถื้อหุน้ (ทุน) ลดลงไปเรื่อย ๆ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 68
  • 69. MrLikeStock ROE  ส่วนประกอบ ROE ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 69
  • 70. ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 70 MrLikeStock บริษทัไหนมี ROE ที่น่าสนใจกว่า บริษทั A บริษทั B
  • 71. อตัราส่วนประสิทธิภาพในการบริหารสินทรพัย์ (Efficiency Ratios)  อัตราส่วนหมุนเวียนของสินทรัพย์รวม  อัตราส่วนหมุนเวียนลูกหนี้การคา้ (เท่า)  ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วัน)  อัตราส่วนหมุนเวียนสินคา้คงเหลือ (เท่า)  ระยะเวลาขายสินคา้เฉลี่ย (วัน)  อัตราส่วนหมุนเวียนเจา้หนี้การคา้ (เท่า)  ระยะเวลาชำระหนี้เจา้หนี้การคา้ (วัน)  วงจรเงินสด (วนั) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 71 MrLikeStock Efficiency Ratios
  • 72. อตัราส่วนหมุนเวียนของสินทรพัย์รวม  เป็นการวัดอัตราส่วนเปรียบเทียบยอดขายกับสินทรัพย์รวม แสดงถึง ความสามารถในการใชป้ระโยชน์จากสินทรัพย์ทั้งหมดที่กิจการมี สินทรัพย์รวม = ยอดขาย (เท่า) สินทรัพย์รวม อัตราส่วนนี้มียิ่งสูงยิ่งดี เพราะแสดงถึงมีประสิทธิภาพในการใช้ สินทรัพย์ที่กิจการมีอยู่ไดดี้ อตัราส่วนนี้มีค่าที่ตํ่า กิจการอาจใชท้รัพย์สินที่มีอยู่อย่างไม่เต็มที่ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 72 MrLikeStock อตัราส่วนหมุนเวียนของสินทรพัย์รวม อัตราส่วนหมุนเวียนของ
  • 73. ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วนั) อตัราหมุนเวียนของลูกหนี้ (Account Receivable Turnover) MrLikeStock = ขายสุทธิ หรือ ขายเชื่อสุทธิ ลูกหนี้การคา้เฉลี่ย (ครั้ง)  แสดงถึงจำนวนครั้งของวงจรลูกหนี้ในระหว่างปี ระยะเวลาเก็บหนี้เฉลี่ย (วนั)  แสดงถึงจำนวนวันที่กิจการตอ้งรอเพื่อเก็บเงินจากลูกหนี้ = อัตราหมุนเ3วีย65นของลูกหนี้ (วัน) ยิ่งน้อยยิ่งดี สามารถเก็บเงินลูกหนี้ไดไ้ว มีอำนาจต่อรองกับลูกคา้สูง ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 73
  • 74. ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วนั) อตัราหมุนเวียนของสินค้าคงเหลือ (Inventory Turnover) = สินคา้ตคนง้เทหุนลขือาถยัวเฉลี่ย (ครั้ง)  แสดงถึงจำ นวนครั้งที่สามารถขายสินคา้คงเหลือออกไปไดใ้น ระยะเวลาหนึ่ง ระยะเวลาขายสินค้าเฉลี่ย (วนั)  แสดงถึงจำนวนวันที่กิจการเก็บหรือมีสินคา้คงเหลือเพื่อรอการขาย MrLikeStock = อัตราหมุนเวียน3ข6อ5งสินคา้คงเหลือ (วัน) ยิ่งน้อยยิ่งดี แสดงว่าบริษัทสามารถในการขายสินคา้ไดไ้ว ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 74
  • 75. ระยะเวลาชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า (วนั) อตัราส่วนหมุนเวียนเจ้าหนี้การค้า (Account Payable Turnover) MrLikeStock = ตน้ทุนขาย หรือ ซื้อเชื่อ เจา้หนี้การคา้ถัวเฉลี่ย (ครั้ง)  แสดงถึงจำนวนครั้งของการชำระหนี้ในระหว่างปี ระยะเวลาชำระหนี้เจ้าหนี้การค้า (วนั)  แสดงถึงจำนวนวันที่กิจการตอ้งชำระหนี้ทางการคา้ = อัตราหมุนเวียน3ข6อ5งเจา้หนี้การคา้ (วัน) ยิ่งมากยิ่งดี สามารถยึดระยะเวลาชำระหนี้ออกไป มีเงินสดเหลือใน บริษัท สภาพคล่องดี มีอำนาจต่อรองกับเจา้หนี้สูง ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 75
  • 76. MrLikeStock วงจรเงินสด (วนั) วงจรเงินสด = ระยะเวลา ถือสินคา้ + ระยะเวลา เก็บหนี้ - ระยะเวลา จ่ายชำระหนี้ -50.06 = 23.18 + 0.98 - 74.22 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 76
  • 77. วงจรเงินสดที่ดี  วงจรเงินสด ยิ่งสนั้ยิ่งดี (มีค่าน้อย) เพราะแสดงว่าบริษัทมีสภาพ คล่องสูงสามารถเปลี่ยนสินคา้เป็นเงินสดไดเ้ร็ว จากวงจรเงินสด ธุรกิจสามารถบริหารสภาพคล่องใหเ้กิดประโยชน์สูงสุดไดโ้ดย MrLikeStock  ลดระยะเวลาการถือสินคา้ใหสั้้นที่สุดเท่าที่จะทำได้  ลดระยะเวลาการเก็บหนี้ใหสั้้นที่สุดเท่าที่จะทำได้  ขยายระยะเวลาการจ่ายชำระหนี้ใหน้านที่สุดเท่าที่จะทำได้ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 77
  • 78. อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด (Marker Value Ratios) MrLikeStock อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด (Marker Value Ratios)  กำไรต่อหุน้ (EPS)  Price to Earnings Ratio (P/E)  มูลค่าหุน้ทางบัญชีต่อหุน้ (Book Value Per Share: BV)  Price to Book Value Ratio (P/BV)  อัตราส่วนเงินปันผลตอบแทน (Dividend Yield) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 78
  • 79. 79 MrLikeStock อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 80.  http://www.set.or.th/set/companyhighlight.do?symbol=DCC &language=th&country=TH 80 MrLikeStock อตัราส่วนมูลค่าทางการตลาด ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 81. 81 Total Asset T. MrLikeStock อตัราส่วนที่ใช้บ่อย (เน้น ๆ) Current ratio ROE D/E ROA GPM NPM ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 82.  การดูอัตราส่วนทางการเงินทำใหเ้ห็นธรรมชาติของธุรกิจว่า เป็น อย่างไรบา้ง แข็งแกร่งหรือไม่ ทำกำไรไดดี้หรือเปล่า บริหารจัดการ สินทรัพย์ หนี้สิน ที่มีอยู่ไดมี้ประสิทธิ์ภาพหรือไม่  ไม่ควรที่จะดูอัตราส่วนทางการเงินแค่เพียบบริษัทเดียว ควรจะ เปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยในอุตสาหกรรมว่าบริษัทนี้ดีหรือไม่  ไม่ควรเปรียบเทียบขา้มอุตสาหกรรม เพราะทำใหอ้าจจะทำใหเ้ขา้ใจ ผิดพลาดได้เช่น เปรียบเทียบ Net Margin ระหว่าง คนขายคอนโด กับ คา้ปลีก เปรียบเทียบหนี้สิน ระหว่างธุรกิจสินเชื่อเช่าซื้อ กับ บ.ขายชาเขียว ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 82 MrLikeStock ข้อสงัเกตในการใช้อตัราส่วนทางการเงิน ไม่ควรใช้อัตราส่วนทางการเงินในการวิเคราะห์บริษัทเพียงอย่างเดียว ควรนำข้อมูลเชิงคุณภาพมาประกอบการพิจารณาตัดสินใจลงทุนด้วย
  • 83. วิธีการดูงบการเงินอย่างเร็วคร่าว ๆ จากเว็บ www.set.or.th MrLikeStock Section 3 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 83
  • 84. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ 1. ไปยังเวปไซต์ www.set.or.th แลว้ใส่ชื่อหุน้ที่ตอ้งการ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 84
  • 85. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ 2. เลือกเมนู งบการเงิน/ผลประกอบการ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 85
  • 86. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ 3. เลือกเมนู ผลประกอบการสำคัญ (กราฟ) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 86
  • 87. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 1. เลือกเมนู ขอ้มูลหลักทรัพย์ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 87
  • 88. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 2. เลือก สรุปขอ้สนเทศบริษัทจดทะเบียน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 88
  • 89. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 3. จะไดข้อ้มูล สรุปข้อสนเทศบริษทัจดทะเบียน ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 89
  • 90. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 4. สามารถดู ขอ้มูลงบการเงิน เบื้องตน้ได้ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 90
  • 91. MrLikeStock ขนั้ตอนการดูงบคร่าว ๆ (ละเอียดขึ้น) 5. สามารถดู อัตราส่วนทางการเงิน เบื้องตน้ได้ ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 91
  • 92. 92 อ่านเพิ่มเติมได้ที่ www.MrLikeStock.com MrLikeStock ไฟล์ อ่านงบการเงินเป็นใน 3 ชั่วโมง ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 93. ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน 93 MrLikeStock ทิ้งท้าย งบการเงินเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นแล้วในอดีต การวิเคราะห์บริษทัไม่ควรจะดูแต่งบการเงิน ต้องดูปัจจยัเชิงคุณภาพประกอบด้วย
  • 94. 94 MrLikeStock ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 95. 95 MrLikeStock ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 96. 96 MrLikeStock ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 97. 97 MrLikeStock ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 98. 98 MrLikeStock ตวัอย่างหนงัสือ (อดใจรออีกสกัพกัครบั) ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 99. ติดตามได้ที่ facebook.com/MrLikeStock MrLikeStock เร็ว ๆ นี้จะมีงานสมัมนา สอนเกี่ยวกบั “อ่านงบการเงิน” เนื้อหาเหมาะสำหรับผูเ้ริ่มตน้ ที่อยากอ่านงบการเงินใหเ้ป็น ปูพื้นการอ่านงบการเงินแต่ละประเภท จับจุดวิธีการอ่านงบการเงิน เสริมทัพดว้ยอัตราส่วนทางการเงิน ที่จำเป็นและควรตอ้งรู้ และกำลงัจะมีหนงัสือสอนวิธี “อ่านงบการเงิน” เนื้อหาแน่น แต่เขา้ใจง่าย เขียนโดยผมเอง (อดใจรออีกสักพักครับ) 99 ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน
  • 100. 100 MrLikeStock MrLikeStock Thank You Q&A facebook.com/MrLikeStock www.MrLikeStock.com MrLikeStock@gmail.com ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน