SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  16
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556          22 กุมภาพันธ์ 2556

                            สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้น ม.4
                                                                                            ครูสิปป์แสง สุขผล
       วิทยาศาสตร์โลกศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น บนโลกของเรา เหนือพื้นผิวโลก ใต้พื้นผิวโลก รวมทั้งความสัมพันธ์
       ของปรากฏการณ์เหล่านั้น
       วิทยาศาสตร์โลก แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ธรณีภาค อากาศภาค อุทกภาค และชีวภาค ซึ่งการที่เราจะทาความ
       เข้าใจในโลกของเราจาเป็นที่จะต้องอาศัยความรู้จากภาคต่างๆมาวิเคราะห์และประมวลผลร่วมกัน




       วิทยาศาสตร์โลกยังมีสาขาวิชาต่างๆอีกมากมาย เช่น สมุทรศาสตร์ดาราศาสตร์และธรณีวิทยา
       ส่วนที่เป็นเปลือกแข็งของโลกที่เรียกว่า “ธรณีภาค” มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นหินอัคนีและหินแปร
       โครงสร้างส่วนบนของโลกสามารถจาแจกตามสมบัติทางวัสดุได้เป็น ชั้นธรณีภาคและชั้นฐานธรณีภาค
       แก่นโลกแบ่งออกเป็นสองชั้น คือ แก่นโลกส่วนนอก ซึ่งเป็นของเหลว และแก่นโลกส่วนในซึ่งเป็นของแข็ง




                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556           22 กุมภาพันธ์ 2556

       แก่นโลกเป็นโลหะผสมระหว่างนิคเกิลกับเหล็ก
       องค์ประกอบทางเคมีรวมของโลกมีธาตุหลักๆอยู่ 4 ชนิด คือ ธาตุเหล็ก ซิลิคอน และแมกนีเซียม
       กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกมี 2 ประเภท คือ
           - กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ได้แก่ การเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีภาค แผ่นดินใหว ภูเขาไฟระเบิด
               เป็นต้น
           - กระบวนการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลก ได้แก่ การลดและการเพิ่มระดับของผิวดิน การผุพัง การกร่อน และ
               การเคลื่อนที่ของมวลสาร
       การผุพังแบ่งออกเป็นการผุพังทางเคมีและการผุพังทางกายภาพ
       การผุพังทางกายภาพ เป็นการผุพังที่เกิดขึ้นในเชิงกล




       การผุพังทางเคมี เป็นการผุพังที่มีปฏิกิริยาเคมีเข้ามาเกี่ยวข้องโดยมีน้าเป็นตัวการสาคัญ
       แร่ คือธาตุประกอบหรือสารประกอบที่อนินทรีย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีสถานะเป็นของแข็งและมี
       โครงสร้างเป็นผลึก
       โครงสร้างทางเคมีของแร่ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
            - พันธะเคมีแบบไอออน ได้แก่ เฮไลต์ ซิลไวต์ และฟลูออไรต์
            - พันธะเคมีแบบโควาเลนด์ ได้แก่ เพชร
            - พันธะเคมีแบบแวน เดอ วาลส์ ได้แก่ แกรไฟต์ ไมกา และทัลก์
            - พันธะเคมีแบบโลหะ ได้แก่ ทองคา เงิน ทองแดง และแพลทินัม
       กาตรวจสอบแร่ทางเคมี นั้นมีหลากหลายวิธี แต่วิธีที่ง่ายและนิยมใช้ คือ การทาปฏิกิริยากับกรด การละลายใน
       กรด การทดสอบเปลวไฟ และการทดสอบสภาพหลอม

                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556            22 กุมภาพันธ์ 2556




       มาตราความแข็งของโมหส์ คือ หน่วยวัดความแข็งของแร่ ซึ่งอาศัยค่าความแข็งสัมพัทธ์ที่สูงกว่า แบ่งเป็น 10
       ระดับ




       เราแบ่งการกาเนิดหินตะกอนออกเป็น 3 วิธี คือ การสะสมตัวทางกายภาพ การสะสมตัวทางเคมีและการสะสมตัว
       ทางชีวภาพ
       เนื้อหินแปรแบ่งออกเป็นสองชนิด คือ เป็นริ้วขนาน และไม่เป็นริ้วขนาน
       ชนิดของการแปรสภาพแบ่งออกเป็น การแปรสภาพสัมผัส การแปรสภาพบริเวณไพศาล การแปรสภาพบด และ
       การแปรเปลี่ยนแบบน้าร้อน
       ตัวอย่างการเกิดผลกระทบจากการแปรสภาพของหินแปร ได้แก่ การจัดเรียงตัวใหม่ การแทนที่ และการเกิดผลึก
       ใหม่
                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556               22 กุมภาพันธ์ 2556

       การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกทาให้หินที่อยู่บนเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและตาแหน่งที่ตั้ง
       เรียกว่าวัฏจักรของหิน

       วัฏจักรของหิน คือ กระบวนการที่หินทั้งสามประเภทบนโลกของเรา เกิดการเปลี่ยนสภาพอันเนื่องมาจากสภาวะ
       บนพื้นผิวโลก และสภาวะภายในโลก ทาให้หินประเภทต่างๆสามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นชนิดอื่นๆ ได้




       เจมส์ ฮัตสันได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิชาธรณีวิทยา โดยเป็นบุคคลแรกที่นาเสนอความคิดเกี่ยวกับ
       หลักการวางตัวทับซ้อน และ นาเสนอเรื่องหลักความเป็นเอกภาพ มีเนื้อหากล่าวว่า ปัจจุบันเป็นกุญแจสู่อดีต
       สาระสาคัญของหลักการวางตัวทับซ้อน คือ หินตะกอนที่มีอายุมากจะสะสมอยู่บริเวณชั้นล่าง ส่วนหินตะกอนที่มี
       อายุน้อยจะสะสมอยู่บริเวณชั้นบน




       กฎความสัมพันธ์ของการตัดกัน มีสาระสาคัญคือ หินอัคนี หรือรอยเลื่อนที่ตัดผ่านเข้าไปในหินจะมีอายุน้อยกว่า
       หินดั้งเดิมที่ถูกตัดผ่าน ตัวอย่างเช่น เมื่อเราได้เห็นตัวอย่างของชั้นหินตะกอนที่ถูกหินอัคนีแทรก แสดงว่าหิน
       ตะกอนมีอายุมากกว่าหินอัคนี
       อายุเปรียบเทียบ อาศัยหลักฐานที่มีอยู่ในชั้นหิน เช่นซากดึกดาบรรพ์ แล้วนามาเปรียบเทียบว่า อันไหนมีอายุ
       มากกว่ากัน
       นอกจากหินตะกอนแล้ว เราสามารถพบซากดึกดาบรรพ์ในหินภูเขาไฟบางชนิด
                                 Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556            22 กุมภาพันธ์ 2556

       อายุสัมบูรณ์ เป็นอายุของหินหรือแร่ที่สามารถระบุเป็นตัวเลขได้ โดยใช้การหาอายุโดยการไอโซโทปรังสี
       หน่วยเวลาที่ใหญ่ที่สุดตามมาตราธรณีกาลเรียกว่า บรมยุค
       นักธรณีวิทยาได้จัดเอาบรมยุคมาจาแนกใหม่ เรียกว่า มหายุค โดยแบ่งออกเป็น มหายุคพรีแคมเบียน มหายุคพาลิ
       โอโซอิก มหายุคมีโซโซอิก(ช่วงที่ไดโนเสาร์กาเนิด) และมหายุคซีโนโซอิก(กาเนิดมนุษย์)
       ตารางธรณีกาลบอกให้เรารู้ว่า ในช่างเวลาต่างเกิดอะไรขึ้นบ้าง เช่น รูปแบบของสิ่งมีชีวิต การวิวัฒนาการของ
       สิ่งมีชีวิต และซากดึกดาบรรพ์




       การลาดับชั้นหินตามชนิดของหิน จะแยกออกเป็นหน่วยหินตามลาดับจากหน่วยใหญ่ไปเล็กดังนี้
           - กลุ่มหิน หน่วยใหญ่ที่สุด ประกอยด้วยหมวดหินที่อยู่ติดกันตั้งแต่สองหมวดขึ้นไป มีลักษณะหินที่สาคัญ
                 แบบเดียวกัน เกิดในยุคหรือมหายุคเดียวกัน
           - หมวดหิน เป็นหน่วยรองมาจากกลุ่มหินและเป็นหน่วยหลักในการจาแนกชั้นหิน หมวดหินหนึ่ง อาจ
                 ประกอบด้วยหินชนิดใดก็ได้ ที่มีความหนาน้อยกว่าหนึ่งเมตรจนถึงหลายพันเมตร
           - หมู่หิน เป็นลาดับของหมวดหินหรือเป็นส่วนหนนึ่งของหมวดหิน โดยเน้นหินที่มีลักษณะเนื้อหินโดดเด่น
                 แตกต่างจากส่วนอื่นของหมวดหินนั้น
           - ชั้นหิน หน่วยเล็กที่สุดอาจมีความหนาตั้งแต่ 1 เซนติเมตรจนถึง 3 เมตร มีลักษณะเนื้อหินเด่นชัด
                 แตกต่างจากชั้นหินอื่นที่วางตัวอยู่ข้างบนหรือข้างล่างของชั้นหินนั้น
       นักธรณีวิทยาได้อธิบายว่าพื้นที่จังหวัดลาปางปัจจุบันเดิมเคยเป็นทะเลมาก่อน เนื่องจากมีกลุ่มหินใน ยุคไทรแอ
       สซิก ที่เกิดจากการสะสมของตะกอนในทะเล และยังมีซากดึกดาบรรพ์ สิ่งมีชีวิตจากทะเลอีกหลายชนิด
       ในกลุ่มหินโคราช มีการค้นพบซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์หลายชนิดในชั้นหินของหมวดหินเสาขัว บริเวณแหล่งขุด
       ค้นไดโนเสาร์ภูเวียง
       ธรณีวิทยาโครงสร้าง หมายถึง การศึกษาโครงสร้างที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมของเปลือกโลก การเปลี่ยน
       รูปลักษณะทางธรณีวิทยาของแผ่นดิน มี 3 แบบ คือ
        - การยืดหยุ่น คือ การแปรรูปไปแล้วอาจกลับคืนสู่สภาพเดิม
       - การไหลเลื่อน คือ หินไหลไปจากที่เดิมแล้วไม่กลับคืนสู่สภาพเดิม
                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556                22 กุมภาพันธ์ 2556

       - การแตกแยก คือ หินอาจแตกแยก หรือเลื่อนเหลื่อมกันทาให้เกิดรอยแยกและรอยเลื่อนขึ้นในหิน
       ในการศึกษาธรณีวิทยาโครงสร้างเรามักเริ่มพิจารณาจาก จากระดับหินโผล่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งอาจมีแนว
       เลื่อน แนวโค้ง แนวแยก ปรากฏให้เห็น
       ตัวอย่างลักษณะปรากฏที่เกิดจากการเปลี่ยนรูปลักษณะทางธรณีวิทยาของแผ่นดิน แนวแตก แนวเลื่อน หรือแนว
       โค้ง
       ความเค้นที่กระทาต่อหินโดยปกติแล้วจะไม่เท่ากันทุกทิศทาง เราสามารถแยกความเค้นออกเป็น 3 ชนิดคือ -
       ความเค้นบีบอัด เกิดขึ้นในบริเวณที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน
       - ความเค้นดึง เกิดขึ้นในบริเวณที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน
       - ความเค้นเฉือน เกิดขึ้นเมื่อความเค้นกระทาต่อหินขนานกับระนาบของการเคลื่อนที่
       ความเค้นจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือปริมาตรของหิน ในบางครั้งความเค้นจะทาให้หินแตกหัก และ
       สามารถทาให้หินมีรูปร่างเปลี่ยนไปอย่างถาวรหรือเมื่อหมดแรงเค้นหินก็จะกลับสู่สภาพเดิม
       รอยโค้งเกิดขึ้นเมื่อมีแรงเค้นมากระทาต่อหินจนก่อให้เกิดความเครียดในหินโดยแสดงออกมาในรูปแบบการคดโก่ง
       โก่งงอ หรือหักพับ
       รอยโค้งของหินมีรูปร่างที่ไร้ขอบเขตและมีขนาดที่ไม่ตายตัวอาจเล็กเท่าฝ่ามือหรือใหญ่กว่า 100 กิโลเมตร
       เราสามารถแบ่งรอยโค้งออกเป็น 2 ลักษณะคือ รอยโค้งรูปประทุนกับรอยโค้งรูปประทุนหงาย โดยตัวอย่างที่
       สาคัญสาหรับการศึกษารอยโค้งคือ เทือกเขาร็อกกี้
       การโผล่ของหินที่ไม่สมบูรณ์และโครงสร้างที่ซับซ้อนทาให้การศึกษาวิเคราะห์รอยโค้งนั้นเป็นไปโดยยาก ซึ่งเรา
       สามารถนาคลื่นไหวสะเทือนมาช่วยในการศึกษาได้
       รอยเลื่อนคือ รอยแตกระนาบในหิน โดยที่หินด้านหนึ่งเคลื่อนที่ไปจากหินอีกด้านหนึ่ง ส่วนรอยเลื่อนมีพลังคือรอย
       เลื่อนที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวได้ในอนาคต
       รอยเลื่อนมักทาให้เกิดสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย เช่น ผารอยเลื่อน ผิวรอยเลื่อน และผิวรอยครูดหรือรอย
       ไถล
       แผนที่ คือสิ่งที่แสดงลักษณะภูมิประเทศของโลก ซึ่งจะมีรายละเอียดแตกต่างๆ กันออกไปตามชนิดของแผนที่
       แผนที่ภูมิประเทศสร้างขึ้นเพื่อจาลองลักษณะของผิวโลกหรือบางส่วนของพื้นที่บนผิวโลก มีสัญลักษณ์ เส้น และสี
       ที่กาหนดเป็น บ้าน ทางน้า และลักษณะของพืช
       แผนที่ธรณีวิทยาไม่ได้ถูกแบ่งด้วยขอบเขตของประเทศ แต่จะบรรจุข้อมูลต่างๆทางธรณีวิทยาเอาในพื้นที่นั้นๆ
       เอาไว้ เช่น โครงสร้างธรณีวิทยา ชั้นหิน การวางตัวของชั้นหินขอบเขตการกระจายตัวของหน่วยหินต่างๆ แหล่งแร่
       และตาแหน่งซากดึกดาบรรพ์
       การใช้สีในแผนที่ธรณีวิทยาใช้เพื่อบ่งชี้ว่าหน่วยหินในบริเวณนั้นเป็นหินชนิดใด เช่น หินอัคนีใช้สีแดง หินปูนใช้สี
       น้าเงิน นอกจากนี้สียังใช้แสดงยุคต่างๆของชุดหินอีกด้วย ซึ่งแผนที่ธรณีวิทยาของแต่ละประเทศอาจใช้สีที่แตกต่าง
       กัน




                                  Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556          22 กุมภาพันธ์ 2556




       นอกจากนี้แผนที่ธรณีวิทยายังสามารถใช้ประโยชน์ในด้าน เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ได้อีกด้วย

                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556                22 กุมภาพันธ์ 2556

       การใช้ประโยชน์จากแผนที่ธรณีวิทยาสามารถใช้ได้ตั้งแต่การวางนโยบายระดับประเทศไปจนถึงการพัฒนาส่วน
       ท้องถิ่น เช่น การพัฒนาชายฝั่งทะเล การสร้างเขื่อน หรือใช้เป็นตัวบ่งชี้ว่าแต่ละพื้นที่เหมาะสมกับการพัฒนาด้าน
       ใด
       ทรัพยากรธรณี คือ วัสดุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติด้วยกระบวนการทางธรณีวิทยาที่มนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์
       ในรูปแบบต่างๆได้
       ทรัพยากรธรณีแบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก่ ทรัพยากรพลังงาน ทรัพยากรโลหะ และทรัพยากรอโลหะ
       ทรัพยากรพลังงาน เป็นทรัพยากรที่ให้พลังงานนอกเหนือจากดวงอาทิตย์มีสามชนิดคือ ถ่านหิน ปิโตรเลียม และ
       ความร้อนใต้พิภพ
       ถ่านหินสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุสาหกรรมต่างๆ ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต ปุ๋ยยูเรีย นามาสกัดเอาน้ามันดิบ
       ถ่านหินแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้
       - ลิกไนต์ เป็นถ่านหินที่มีสีน้าตาลผิวด้าน มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีคาร์บอนร้อยละ 60-75 มีออกซิเจน
       ค่อนข้างสูง มีความชื้นสูงถึงร้อยละ 30-70 เมื่อติดไฟมีควันและเถ้าถ่านมาก มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็น
       เชื้อเพลิงสาหรับผลิตกระแสไฟฟ้า บ่มใบยาสูบ
       - ซับบิทูมินัส เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าลิกไนต์ มีสีน้าตาลถึงสีดา ผิวมีทั้งด้านและเป็นมัน มีทั้ง
       เนื้ออ่อนและเนื้อแข็ง มีความชื้นประมาณร้อยละ 25-30 มีคาร์บอนสูงกว่าลิกไนต์ เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพ
       เหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้าและงานอุตสาหกรรม
       - บิทูมินัส เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าซับบิทูมินัส เนื้อแน่น แข็ง มีสีน้าตาลถึงสีดาสนิท ประกอบด้วย
       ชั้นถ่านหินสีดามันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ และเป็นวัตถุดิบเพื่อเปลี่ยนเป็นเชื้อเพลิงอื่นๆ
       - แอนทราไซต์ เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าบิทูมินัส มีลักษณะดาเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้า
       แบบก้นหอย มีปริมาณคาร์บอนประมาณร้อยละ 90-98 ความชื้นต่าประมาณร้อยละ 2-5 มีค่าความร้อนสูงแต่ติด
       ไฟยาก เมื่อติดไฟให้เปลวไฟสีน้าเงิน ไม่มีควัน ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมต่างๆ




       เมื่อเรียงลาดับคุณภาพของถ่านหินจากคุณภาพมากไปหาคุณภาพน้อยโดยวัดจากปริมาณคาร์บอนแล้ว จะได้เป็น
       ลาดับดังนี้ แอนทราไซต์ บิทูมินัส ซับบิทูมินัส ลิกไนต์
                                  Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556                22 กุมภาพันธ์ 2556

       ปิโตรเลียม แบ่งได้เป็น น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ทรายน้ามัน และหินน้ามัน โดยทรัพยากรปิโตรเลียมที่สาคัญของ
       ประเทศไทย ได้แก่ น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งพบได้ตามแหล่งดังนี้
       - น้ามันดิบ พบได้ที่ แหล่งน้ามันดิบฝาง แหล่งสิริกิติ์ แหล่งอู่ทอง
       - ก๊าซธรรมชาติ พบได้ที่ แหล่งก๊าซเอราวัณ แหล่งก๊าซบงกช
       - พลังงานความร้อนใต้พิภพ หมายถึง พลังงานความร้อนที่ได้จากความร้อนใต้ผิวโลก ในประเทศไทยพลังงานชนิด
       นี้อยู่ในรูปของ พุน้าร้อน
       แร่โลหะ หมายถึง แร่ที่เป็นสินของธาตุโลหะ คุณสมบัติที่สาคัญคือ มีประกายโลหะ นาความร้อนและไฟฟ้าได้ดี
       เป็นต้น แร่โลหะที่สาคัญได้แก่ ดีบก ทอง แมงกานีส เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง
                                           ุ
       แร่อโลหะ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มได้แก่
       - แร่อโลหะเพื่ออุสาหกรรมต่างๆ เช่น แบไรต์ ฟลูออไรต์ ฟอสเฟต โพแทช
       - แร่อโลหะเพื่อเป็นวัสดุก่อสร้าง ได้แก่ ทราย กรวด ยิปซัม หินปูน
       - แร่เชื้อเพลิง ได้แก่ ถ่านหิน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และหินน้ามัน
       - แร่รัตนชาติ ได้แก่ เพชร พลอย และหินสีต่างๆ




       ธรณีพิบัติภัย คือ ภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่
       รวดเร็วและรุนแรง
       แม้ว่าการเกิดพิบัติภัยต่างๆนั้นเกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติแต่กิจกรรมต่างๆของมนุษย์เองก็
       ส่งผลต่อการเกิดธรณีพิบัติภัยให้เกิดได้เร็วยิ่งขึ้น
       สึนามิเป็นคลื่นยักษ์ที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 100 กิโลเมตรขึ้นไป เป็นพิบัติภัยใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สินของ
       มนุษย์




                                  Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556                22 กุมภาพันธ์ 2556




       ร้อยละ 80 ของสึนามิเกิดบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก อีกทั้งเราไม่สามารถตรวจวัดคลื่นสึนามิได้ ในขณะที่คลื่นอยู่
       ในทะเลเปิด
       สาเหตุของการเกิดสึนามิได้แก่ การระเบิดอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเล การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล
       หรือเกิดแผ่นดินไหวใต้ทะเลอย่างรุนแรง
       วิธีที่ควรปฏิบัติ เมื่อเกิดสึนามิในขณะที่อยู่บนบก คือ การอพยพขึ้นที่สูง แต่เมื่ออยู่ในทะเล ให้ลอยเรืออยู่กลาง
       ทะเลไม่ควรนาเรือเข้าฝั่ง
       แผ่นดินถล่ม มีสาเหตุมาจาก การผุกร่อนของชั้นหิน ฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน และการเปลี่ยนแปลงสภาพ
       ป่าเพื่อทาการเกษตร
       แผ่นดินทรุด มี 3 สาเหตุหลัก คือ
       - ทรุดเนื่องจากเอาของแข็งออกจากพื้นดิน การทาเหมืองแร่ ทาให้ใต้ดินเป็นโพรง
       - ทรุดเนื่องจากเอาของเหลวออกจากพื้นดิน เช่นการสูบน้าบาดาล ทาให้ดินทรุดเป็นแอ่งขนาดใหญ่มองไม่เห็น
       ด้วยตาเปล่า
       - ทรุดเนื่องจากน้าหนักกดทับ เช่น การก่อสร้างตึกขนาดใหญ่
       หลุมยุบ เป็นปรากฏการณ์ที่ดินยุบตัวลงเป็นหลุมลึก มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั่งแต่ 1 – 200 เมตร และลึกตั้งแต่ 1
       เมตร จนถึงขนาดใหญ่กว่า 20 เมตร
       สาเหตุของการเกิดหลุมยุบได้แก่ มีโพรงหรือถ้าใต้ดิน ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวที่มากกว่า 7 ริคเตอร์ มีการ
       เปลี่ยนแปลงของระดับน้าใต้ดิน
       น้าท่วมแบ่งออกเป็น น้าป่าไหลหลาก และน้าท่วมบริเวณปลายน้า
       น้าป่าไหลหลากมักจะเกิดในบริเวณพื้นที่ต้นน้า
       ภัยแล้ง เป็นการขาดแคลนน้าในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นเวลานาน
       ดาราศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ ดวงดาวต่างๆ รวมทั้งโลกที่เราดารงชีวิตอยู่
       ปีแสง เป็นหน่วยวัดระยะทางในอวกาศ โดย 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางใน 1 ปี = 9.46x1012
       กิโลเมตร
       เอกภพกาเนิด ณ จุดที่เรียกว่า " บิกแบง " เป็นจุดที่พลังงานเริ่มเปลี่ยนเป็นสสาร

                                  Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556          22 กุมภาพันธ์ 2556

       ข้อสังเกตที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ปรากฏการณ์อย่างน้อย 2 อย่าง ทีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ได้แก่ 1) การ
                                                                     ่
       ขยายตัวของเอกภพ 2) อุณหภูมิพื้นหลังอวกาศซึ่งปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน




       เอกภพขยายตัวตามกฎของฮับเบิล คือ กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไป ด้วยอัตราความเร็วที่เพิ่มขึ้นตามระยะห่าง
       กาแล็กซีที่อยู่ไกลเคลื่อนที่ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้ นั่นเอง
       อุณหภูมิของเอกภพลดลงตามเวลาที่ผ่านไป ปัจจุบันอุณหภูมิของเอกภพวัดได้ 2.73 เคลวิล
       กาแล็กซีประกอบด้วยระบบดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ เนบิวลา และที่ว่าง
       ทางช้างเผือกเป็นส่วนหนึ่งของกาแล็กซีทางช้างเผือก หรือกาแล็กซีของเรา
       ระบบสุริยะของเราอยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือก
       กาแล็กซีทางช้างเผือกหรือกาแล็กซีของเรา เป็นกาแล็กซีแบบกังหัน
       ดาวฤกษ์มีความแตกต่างกันในเรื่อง ความส่องสว่าง ระยะห่าง สี อุณหภูมิผิว สเปกตรัม มวล การสร้างธาตุ และ
       ระบบของดาวฤกษ์
       ความส่องสว่างปรากฏของดาวฤกษ์ที่สังเกตเห็น ขึ้นอยู่กับความส่องสว่างสัมบูรณ์ และระยะห่างจากโลกถึงดาว
       ฤกษ์
       โชติมาตรปรากฏ คือ ระดับความสว่างที่กาหนดขึ้นเพื่อเปรียบเทียบความส่องสว่างปรากฏ
       หน่วยวัดระยะที่นิยมใช้ทางดาราศาสตร์มีหลายหน่วย คือ หน่วยดาราศาสตร์ ปีแสง และพาร์เซก
                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556              22 กุมภาพันธ์ 2556

       สีและสเปกตรัมของดาวฤกษ์มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิของดาวฤกษ์
       ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิของผิวดาวสูงที่สุด คือ สีน้าเงิน และดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิของผิวดาวต่าที่สุด คือ สีแดง
       เนบิวลาเป็นต้นกาเนิดของดาวฤกษ์
       ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย เช่น ดวงอาทิตย์ จะจบชีวิตกลายเป็นดาวแคระขาว
       ดาวฤกษ์ที่มีมวลมาก คือ ดาวฤกษ์ที่มีมวลของดาวฤกษ์ก่อนเกิดมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าดวงอาทิตย์ประมาณ 9
       เท่า จะจบชีวิตด้วยการระเบิดอย่างรุนแรงที่เรียกว่า ซูปเปอร์โนวา และยุบตัวกลายเป็นดาวนิวตรอนหรือหลุมดา
       นักวิทยาศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์แพรัลแลกซ์ (parallax) ในการวัดระยะห่างของดาวฤกษ์
       แพรัลแลกซ์ คือการย้ายตาแหน่งปรากฏของวัตถุเมื่อผู้สังเกตอยู่ในตาแหน่งต่างกัน โดยนักดาราศาสตร์ใช้
       ปรากฏการณ์แพรัลแลกซ์ในการวัดระยะทางของดาวฤกษ์
       หน่วยดาราศาสตร์ เป็นหน่วยวัดระยะทางในระบบสุริยะที่กาหนดให้ 1 หน่วยดาราศาสตร์ มีค่าเท่ากับระยะทาง
       เฉลี่ยจากโลกถึงดวงอาทิตย์ คือประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร
       ดาวเคราะห์หิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ส่วนดาวเคราะห์แก๊ส ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์
       ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน
       วงโคจรของดาวเคราะห์เป็นวงรี
       ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์จะโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยอัตราเร็วที่มากกว่าดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลจากดวง
       อาทิตย์
       แถบดาวเคราะห์น้อยมีเศษหินจานวนมากจานวนมากซึ่งมีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกันออกไป
       ลมสุริยะ คือ อนุภาคโปรตรอน และอิเล็กตรอนที่ดวงอาทิตย์ปล่อยออกมา ถ้ามีอัตราเร็วมากกว่าลมสุริยะปกติ
       จะเรียกว่า พายุสุริยะ
       ผลกระทบของลมสุริยะหรือพายุสุริยะต่อโลก คือ การเกิดแสงเหนือใต้ (aurora) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์แสงหลายสี
       ในบรรยากาศ ส่วนใหญ่เกิดบริเวณขั้วโลก ในลักษณะเป็นแสงสีต่างๆ บนท้องฟ้า นอกจากเกิดแสงเหนือใต้แล้ว
       พายุสุริยะอาจทาให้ไฟฟ้าแรงสูงของประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลกดับ เกิดการติดขัดทางการสื่อสารโดยคลื่นวิทยุคลื่น
       สั้นทั่วโลก และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียมอาจถูกทาลาย
       เทคโนโลยีอวกาศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้สารวจอวกาศ
       แรงโน้มถ่วงของโลก หมายถึง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลของวัตถุ
       การส่งดาวเทียม ยานอวกาศ ต้องอาศัยจรวดหรือระบบขนส่งอวกาศ
       กล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวสิรินธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึงตังอยูท่ีดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นกล้อง
                                                                   ่ ้ ่
       โทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง
       นักบินอวกาศก่อนขึ้นไปปฏิบัติงานในอวกาศต้นฝึกให้สามารถทนต่อน้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้นขณะยานขึ้นจากผิวโลก
       และการอยู่ในสภาพไร้น้าหนัก
       ธรณีวิทยา คือ การศึกษาว่าโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เกิดขึ้นอย่างไร และประกอบด้วยหินอะไรบ้าง กุญแจ
       ไขประวัติศาสตร์ของโลกซ่อนอยู่ในหินทั้งหลายนั้นเอง
       การศึกษาโครงสร้างโลกจากคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโลก นั้นคลื่นที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ คลื่นปฐมภูมิ
       (Primary waves, P waves) และคลื่นทุติยภูมิ (Secondary waves, S waves) ซึ่งเป็นคลื่นในตัวกลาง (Body
       wave) โดยที่คลื่นไหวสะเทือนดังกล่าวมีสมบัติสาคัญ ดังนี้
       - คลื่น P สามารถที่ผ่านตัวกลางได้ทุกสถานะ และมีความเร็วมากกว่าคลื่น S
       - คลื่น S สามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น
       นักวิทยาศาสตร์แบ่งโครงสร้างของโลกตามลักษณะมวลสาร คือ ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก และแก่นโลก โดย
       เรียงลาดับจากผิวโลกลึกลงไปด้านใน โครงสร้างโลกแต่ละชั้นมีลักษณะทางกายภาพแตกต่างกัน

                                 Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556               22 กุมภาพันธ์ 2556

       เปลือกโลก แบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ เปลือกโลกทวีป และเปลือกโลกมหาสมุทร ทั้ง 2 แบบ มีส่วนประกอบ
       แตกต่างกัน
       ธรณีภาคมีลักษณะแตกออกเป็นแผ่นแต่ละแผ่น เรียกว่า แผ่นธรณี
       ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ ได้ตั้งสมมติฐานว่า ผืนแผ่นดินทั้งหมดบนโลกเดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย
       (Pangaea) ซึ่งเป็นภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด
       ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณี (plate tectonic theory) คือทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดและการเปลี่ยนแปลง
       ของทวีป และมหาสมุทร




       ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค คือ 1.แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน 2.แผ่นธรณีที่เคลื่อนเข้าหากัน 3.
       แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน หรือ แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่เฉือนกัน
       สาเหตุที่ทาให้แผ่นธรณีมีการเคลื่อนที่ คือ การไหลหมุนเวียนของหินหนืดในชั้นแมนเทิล ซึ่งไปดันให้แผ่นธรณีที่อยู่
       ด้านบนเกิดการเคลื่อนที่
       แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน ทาให้เกิดเทือกสันเขาใต้สมุทร
                                 Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556               22 กุมภาพันธ์ 2556

       รอยเลื่อนซานแอนเดรียสในรัฐแคลิฟอเนียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเคลื่อนที่เฉือน
       กัน
       เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ชนกับแผ่นธรณีทวีป
       สาเหตุที่แผ่นธรณีมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากัน เพราะอัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน
       แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตรงบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี
       ตาแหน่งของจุดกาเนิดแผ่นดินไหว เรียกว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ส่วนตาแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิด
       แผ่นดินไหวเรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
       คาบอุบัติซ้าเป็นระยะเวลาครบรอบการเกิดซ้าของแผ่นดินไหวในตาแหน่งเดิม
       บริเวณที่เรียกว่า วงแหวนแห่งไฟ ได้แก่ประเทศ ประเทศญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ด้านตะวันตกของประเทศเม็กซิโก และ
       ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา
       ตาแหน่งของจุดกาเนิดแผ่นดินไหว เรียกว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ส่วนตาแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิด
       แผ่นดินไหวเรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
       เครื่องตรวจวัดและบันทึกการเกิดแผ่นดินไหวเรียกว่า ไซสโมกราฟ ทางานโดยรับคลื่นไหวสะเทือนแล้วแปลงเป็น
       สัญญาณไฟฟ้า




       เมอร์คัลลี่ เป็นมาตราที่นักธรณีวิทยาแผ่นดินไหวชาวอิตาเลียน กิเชปเป เมอร์คัลลี่ เป็นผู้คิดค้น สาหรับใช้ในการ
       วัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว
       มาตราวัดขนาดของแผ่นดินไหว เรียกว่า มาตราริคเตอร์ เป็นมาตราที่นักธรณีวิทยาแผ่นดินไหว ซี.เอฟ.ริคเตอร์
       เป็นผู้คิดค้นสาหรับใช้ในการกาหนดขนาดของแผ่นดินไหว
       ภูเขาไฟดับสนิท เป็นภูเขาไฟที่ไม่มีการประทุขึ้นมาอีก พบได้มากมายบนผิวโลก และภูเขาไฟมีพลัง เป็นภูเขาไฟที่
       ยังคงคุกรุ่นอยู่ หรืออาจเกิดการปะทุขึ้นมาได้อีก ภูเขาไฟมีพลังส่วนใหญ่พบตรงบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี
       ประเทศไทยมีภูเขาไฟที่ดับแล้วมาประมาณเกือบ 2 ล้านปี เช่น บริเวณเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ , ดอยผาคอก
       หินฟู จังหวัดลาปาง
       หินที่เกิดจารการระเบิดของภูเขาไฟ คือหินอัคนี ซึ่งเกิดจากการเย็นตัวลงของแมกมาที่ประทุออกมาซึ่งอัตราการ
       เย็นตัวจะมีผลกระทบต่อความพรุนของหินที่เกิดขึ้นด้วย
                                 Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556            22 กุมภาพันธ์ 2556

       อายุทางธรณีวิทยาแบ่งเป็น 2 แบบคือ อายุเปรียบเทียบ และอายุสัมบูรณ์
       อายุเปรียบเทียบ (relative age) เป็นอายุหินเปรียบเทียบซึ่งบอกว่าหินชุดใด มีอายุมาก หรือน้อยกว่ากัน อายุ
       เปรียบเทียบหาได้โดยอาศัยข้อมูลจากซากดึกดาบรรพ์ที่ทราบอายุ ลักษณะการลาดับชั้นของหินชนิดต่าง ๆ และ
       ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของหิน แล้วนามาเทียบสัมพันธ์กับช่วงเวลาทางธรณีวิทยาที่เรียกว่า ธรณีกาล
       (geologic time) ก็จะสามารถบอกอายุของหินที่เราศึกษาได้ว่าเป็นหินในยุคไหน หรือมีช่วงอายุเป็นเท่าใด
       อายุสัมบูรณ์ (absolute age) เป็นอายุของหิน หรือซากดึกดาบรรพ์ ที่สามารถบอกเป็นจานวนปีที่ค่อนข้าง
       แน่นอน การหาอายุสัมบูรณ์ใช้วิธีคานวณจากครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ ในหิน หรือซากดึกดาบรรพ์ที่
       ต้องการศึกษา ธาตุกัมมันตรังสีที่นิยมนามาหาอายุสัมบูรณ์ ได้แก่ ธาตุคาร์บอน–14 ธาตุโพแทส เซียม–40 ธาตุ
       เรเดียม-226 และธาตุ ยูเรเนียม-238 เป็นต้น
       ซากดึกดาบรรพ์ คือ ซากของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่เคยอาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เมือตายลงซากก็ถูก ทับถมและ
       ฝังตัวอยู่ในชั้นหินตะกอน
       ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี หมายถึง ซากดึกดาบรรพ์ที่บอกอายุได้แน่นอน เนื่องจากเป็นซากดึกดาบรรพ์ที่มีวิวัฒนาการ
       ทางโครงสร้างและรูปร่างอย่างรวดเร็ว มีความแตกต่างในแต่ละช่วงอายุอย่างเห็นเด่นชัด
       ประเทศไทยมีการค้นพบซากไดโนเสาร์ครั้งแรกที่ อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่นคือ ไดโนเสาร์ประเภทเดินสี่เท้า
       กินพืชเป็นอาหาร คอและหางยาว




       ซากไดโนเสาร์ที่พบส่วนมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในชั้นหินทรายแป้ง เป็นหินอยู่ในยุคไทรแอสสิกตอน
       ปลายถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง
       ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นพืชที่เคยพบในไทยได้แก่ ใบไม้ ละอองเรณู สปอร์ สาหร่ายทะเลและไม้กลายเป็นหิน
       ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ที่ปรากฏในปัจจุบันมีลักษณะหลายประการ คือ 1.แข็งกลายเป็นหิน 2.อยู่ใสภาพแช่
       แข็ง 3.ถูกอัดในยางไม้หรืออาพัน
       หินที่สามารถเก็บรักษาซากดึกดาบรรพ์ได้ดีคือ หินตะกอน เนื่องจาก ซากดึกดาบรรพ์นั้นเกิดได้ยาก เนื่องจากใน
       ธรรมชาติวัตถุต่างๆ ย่อมเกิดการสลายตัวไปตามกาลเวลา การเกิดเป็นซากดึกดาบรรพ์ได้นั้นมักจะเกิดจากการที่
       ซากนั้นได้รับการปกป้องห่อหุ้มไปด้วยการทับถมของตะกอนต่างๆ ดังนั้นซากดึกดาบรรพ์จึงมักจะพบได้ในชั้นหิน
       ตะกอน
       หิน (Rock) เป็นมวลของแข็งที่ประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น
       3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. หินอัคนี , หินตะกอนหรือหินชั้น , หินแปร
       เมื่อนากรดมาหยดบนหินปูน จะเกิดฟองอากาศ หรือเกิดฟองฟู่
       การศึกษาธรณีประวัติทาให้ได้ประโยชน์คือ นาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนพัฒนาและใช้ประโยชน์จากพื้นที่ให้
       เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม สารวจหาทรัพยากรธรณี

                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556          22 กุมภาพันธ์ 2556

       เหตุผลที่ยืนยันว่าบริเวณพื้นที่จังหวัดลาปางเมื่อหลายล้านปีก่อนเคยเป็นทะเลมาก่อนคือ พบซากดึกดาบรรพ์ของ
       หอยกาบคู่และหอยงวงช้าง สะสมในชั้นหิน




                                Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com

Contenu connexe

Tendances

บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้าWichai Likitponrak
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยMark Pitchayut
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าWorrachet Boonyong
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานThepsatri Rajabhat University
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์Kan Pan
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 

Tendances (20)

งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
ธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัยธรณีภิบัติภัย
ธรณีภิบัติภัย
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ  ฟ้า  ดวงดาว+ป.5+273+dl...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง น้ำ ฟ้า ดวงดาว+ป.5+273+dl...
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงานบทที่ 5 งานและพลังงาน
บทที่ 5 งานและพลังงาน
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 

En vedette

แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)Wichai Likitponrak
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงTa Lattapol
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)Panupong Sinthawee
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2KruPa Jggdd
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลGwang Mydear
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3krutew Sudarat
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศonrika1907
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013Jariya Jaiyot
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6Supaluk Juntap
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศKruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1KruPa Jggdd
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2KruPa Jggdd
 

En vedette (20)

แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน(โลกดาราศาสตร์อวกาศ)
 
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
ข้อสอบกลางภาควิทยาศาสตร์ ม.3 เทอม 1 (ชุด 30 ข้อ)
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาลดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
ดาราศาสตร์ ม.3 ระบบสุริยะจักรวาล
 
สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3สรุปสูตร ม.3
สรุปสูตร ม.3
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศสรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ
 
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
ดาราศาสตร์และอวกาศ 2013
 
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่  6
ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท พื้นฐานโลกดาราศาสตร์และอวกาศ
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ1
 
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
(คู่มือ)หนังสือเรียนสสวท เพิ่มเติมโลกดาราศาสตร์และอวกาศ2
 

Similaire à สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงnasanunwittayakom
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงkalita123
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 น้ำ' เพชร
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02Chay Kung
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกMoukung'z Cazino
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกKankamol Kunrat
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกA Bu'mbim Kanittha
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีคุณครู กดชะกอน
 

Similaire à สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ (20)

ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)ธรณีวิทยา(1)
ธรณีวิทยา(1)
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3 วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
วิชา ดาราศาสตร์ บทที่ 1 2 3
 
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทยภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
ภูมิศาสตร์กายภาพประเทศไทย
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
Pim
PimPim
Pim
 
Pim
PimPim
Pim
 
Astronomy 02
Astronomy 02Astronomy 02
Astronomy 02
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
Physical geology 1 3
Physical geology 1 3Physical geology 1 3
Physical geology 1 3
 
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกโลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
โลกดาราศาสตร์ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
หิน
หินหิน
หิน
 
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลก
 
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลกการเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
การเปลี่ยนแปลงลักษณะของเปลือกโลก
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณีการเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
การเปลี่ยนแปลงเชิงภูมิศาสตร์ธรณี
 
Soil ดิน.pdf
 Soil ดิน.pdf Soil ดิน.pdf
Soil ดิน.pdf
 

สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ

  • 1. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 สรุป วิชาโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชั้น ม.4 ครูสิปป์แสง สุขผล วิทยาศาสตร์โลกศึกษาปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น บนโลกของเรา เหนือพื้นผิวโลก ใต้พื้นผิวโลก รวมทั้งความสัมพันธ์ ของปรากฏการณ์เหล่านั้น วิทยาศาสตร์โลก แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ธรณีภาค อากาศภาค อุทกภาค และชีวภาค ซึ่งการที่เราจะทาความ เข้าใจในโลกของเราจาเป็นที่จะต้องอาศัยความรู้จากภาคต่างๆมาวิเคราะห์และประมวลผลร่วมกัน วิทยาศาสตร์โลกยังมีสาขาวิชาต่างๆอีกมากมาย เช่น สมุทรศาสตร์ดาราศาสตร์และธรณีวิทยา ส่วนที่เป็นเปลือกแข็งของโลกที่เรียกว่า “ธรณีภาค” มีองค์ประกอบส่วนใหญ่เป็นหินอัคนีและหินแปร โครงสร้างส่วนบนของโลกสามารถจาแจกตามสมบัติทางวัสดุได้เป็น ชั้นธรณีภาคและชั้นฐานธรณีภาค แก่นโลกแบ่งออกเป็นสองชั้น คือ แก่นโลกส่วนนอก ซึ่งเป็นของเหลว และแก่นโลกส่วนในซึ่งเป็นของแข็ง Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 2. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 แก่นโลกเป็นโลหะผสมระหว่างนิคเกิลกับเหล็ก องค์ประกอบทางเคมีรวมของโลกมีธาตุหลักๆอยู่ 4 ชนิด คือ ธาตุเหล็ก ซิลิคอน และแมกนีเซียม กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลกมี 2 ประเภท คือ - กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก ได้แก่ การเคลื่อนตัวของแผ่นธรณีภาค แผ่นดินใหว ภูเขาไฟระเบิด เป็นต้น - กระบวนการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลก ได้แก่ การลดและการเพิ่มระดับของผิวดิน การผุพัง การกร่อน และ การเคลื่อนที่ของมวลสาร การผุพังแบ่งออกเป็นการผุพังทางเคมีและการผุพังทางกายภาพ การผุพังทางกายภาพ เป็นการผุพังที่เกิดขึ้นในเชิงกล การผุพังทางเคมี เป็นการผุพังที่มีปฏิกิริยาเคมีเข้ามาเกี่ยวข้องโดยมีน้าเป็นตัวการสาคัญ แร่ คือธาตุประกอบหรือสารประกอบที่อนินทรีย์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ โดยมีสถานะเป็นของแข็งและมี โครงสร้างเป็นผลึก โครงสร้างทางเคมีของแร่ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ - พันธะเคมีแบบไอออน ได้แก่ เฮไลต์ ซิลไวต์ และฟลูออไรต์ - พันธะเคมีแบบโควาเลนด์ ได้แก่ เพชร - พันธะเคมีแบบแวน เดอ วาลส์ ได้แก่ แกรไฟต์ ไมกา และทัลก์ - พันธะเคมีแบบโลหะ ได้แก่ ทองคา เงิน ทองแดง และแพลทินัม กาตรวจสอบแร่ทางเคมี นั้นมีหลากหลายวิธี แต่วิธีที่ง่ายและนิยมใช้ คือ การทาปฏิกิริยากับกรด การละลายใน กรด การทดสอบเปลวไฟ และการทดสอบสภาพหลอม Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 3. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 มาตราความแข็งของโมหส์ คือ หน่วยวัดความแข็งของแร่ ซึ่งอาศัยค่าความแข็งสัมพัทธ์ที่สูงกว่า แบ่งเป็น 10 ระดับ เราแบ่งการกาเนิดหินตะกอนออกเป็น 3 วิธี คือ การสะสมตัวทางกายภาพ การสะสมตัวทางเคมีและการสะสมตัว ทางชีวภาพ เนื้อหินแปรแบ่งออกเป็นสองชนิด คือ เป็นริ้วขนาน และไม่เป็นริ้วขนาน ชนิดของการแปรสภาพแบ่งออกเป็น การแปรสภาพสัมผัส การแปรสภาพบริเวณไพศาล การแปรสภาพบด และ การแปรเปลี่ยนแบบน้าร้อน ตัวอย่างการเกิดผลกระทบจากการแปรสภาพของหินแปร ได้แก่ การจัดเรียงตัวใหม่ การแทนที่ และการเกิดผลึก ใหม่ Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 4. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 การเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกทาให้หินที่อยู่บนเปลือกโลกมีการเปลี่ยนแปลงรูปแบบและตาแหน่งที่ตั้ง เรียกว่าวัฏจักรของหิน วัฏจักรของหิน คือ กระบวนการที่หินทั้งสามประเภทบนโลกของเรา เกิดการเปลี่ยนสภาพอันเนื่องมาจากสภาวะ บนพื้นผิวโลก และสภาวะภายในโลก ทาให้หินประเภทต่างๆสามารถเปลี่ยนแปลงไปเป็นชนิดอื่นๆ ได้ เจมส์ ฮัตสันได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิชาธรณีวิทยา โดยเป็นบุคคลแรกที่นาเสนอความคิดเกี่ยวกับ หลักการวางตัวทับซ้อน และ นาเสนอเรื่องหลักความเป็นเอกภาพ มีเนื้อหากล่าวว่า ปัจจุบันเป็นกุญแจสู่อดีต สาระสาคัญของหลักการวางตัวทับซ้อน คือ หินตะกอนที่มีอายุมากจะสะสมอยู่บริเวณชั้นล่าง ส่วนหินตะกอนที่มี อายุน้อยจะสะสมอยู่บริเวณชั้นบน กฎความสัมพันธ์ของการตัดกัน มีสาระสาคัญคือ หินอัคนี หรือรอยเลื่อนที่ตัดผ่านเข้าไปในหินจะมีอายุน้อยกว่า หินดั้งเดิมที่ถูกตัดผ่าน ตัวอย่างเช่น เมื่อเราได้เห็นตัวอย่างของชั้นหินตะกอนที่ถูกหินอัคนีแทรก แสดงว่าหิน ตะกอนมีอายุมากกว่าหินอัคนี อายุเปรียบเทียบ อาศัยหลักฐานที่มีอยู่ในชั้นหิน เช่นซากดึกดาบรรพ์ แล้วนามาเปรียบเทียบว่า อันไหนมีอายุ มากกว่ากัน นอกจากหินตะกอนแล้ว เราสามารถพบซากดึกดาบรรพ์ในหินภูเขาไฟบางชนิด Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 5. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 อายุสัมบูรณ์ เป็นอายุของหินหรือแร่ที่สามารถระบุเป็นตัวเลขได้ โดยใช้การหาอายุโดยการไอโซโทปรังสี หน่วยเวลาที่ใหญ่ที่สุดตามมาตราธรณีกาลเรียกว่า บรมยุค นักธรณีวิทยาได้จัดเอาบรมยุคมาจาแนกใหม่ เรียกว่า มหายุค โดยแบ่งออกเป็น มหายุคพรีแคมเบียน มหายุคพาลิ โอโซอิก มหายุคมีโซโซอิก(ช่วงที่ไดโนเสาร์กาเนิด) และมหายุคซีโนโซอิก(กาเนิดมนุษย์) ตารางธรณีกาลบอกให้เรารู้ว่า ในช่างเวลาต่างเกิดอะไรขึ้นบ้าง เช่น รูปแบบของสิ่งมีชีวิต การวิวัฒนาการของ สิ่งมีชีวิต และซากดึกดาบรรพ์ การลาดับชั้นหินตามชนิดของหิน จะแยกออกเป็นหน่วยหินตามลาดับจากหน่วยใหญ่ไปเล็กดังนี้ - กลุ่มหิน หน่วยใหญ่ที่สุด ประกอยด้วยหมวดหินที่อยู่ติดกันตั้งแต่สองหมวดขึ้นไป มีลักษณะหินที่สาคัญ แบบเดียวกัน เกิดในยุคหรือมหายุคเดียวกัน - หมวดหิน เป็นหน่วยรองมาจากกลุ่มหินและเป็นหน่วยหลักในการจาแนกชั้นหิน หมวดหินหนึ่ง อาจ ประกอบด้วยหินชนิดใดก็ได้ ที่มีความหนาน้อยกว่าหนึ่งเมตรจนถึงหลายพันเมตร - หมู่หิน เป็นลาดับของหมวดหินหรือเป็นส่วนหนนึ่งของหมวดหิน โดยเน้นหินที่มีลักษณะเนื้อหินโดดเด่น แตกต่างจากส่วนอื่นของหมวดหินนั้น - ชั้นหิน หน่วยเล็กที่สุดอาจมีความหนาตั้งแต่ 1 เซนติเมตรจนถึง 3 เมตร มีลักษณะเนื้อหินเด่นชัด แตกต่างจากชั้นหินอื่นที่วางตัวอยู่ข้างบนหรือข้างล่างของชั้นหินนั้น นักธรณีวิทยาได้อธิบายว่าพื้นที่จังหวัดลาปางปัจจุบันเดิมเคยเป็นทะเลมาก่อน เนื่องจากมีกลุ่มหินใน ยุคไทรแอ สซิก ที่เกิดจากการสะสมของตะกอนในทะเล และยังมีซากดึกดาบรรพ์ สิ่งมีชีวิตจากทะเลอีกหลายชนิด ในกลุ่มหินโคราช มีการค้นพบซากดึกดาบรรพ์ไดโนเสาร์หลายชนิดในชั้นหินของหมวดหินเสาขัว บริเวณแหล่งขุด ค้นไดโนเสาร์ภูเวียง ธรณีวิทยาโครงสร้าง หมายถึง การศึกษาโครงสร้างที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมของเปลือกโลก การเปลี่ยน รูปลักษณะทางธรณีวิทยาของแผ่นดิน มี 3 แบบ คือ - การยืดหยุ่น คือ การแปรรูปไปแล้วอาจกลับคืนสู่สภาพเดิม - การไหลเลื่อน คือ หินไหลไปจากที่เดิมแล้วไม่กลับคืนสู่สภาพเดิม Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 6. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 - การแตกแยก คือ หินอาจแตกแยก หรือเลื่อนเหลื่อมกันทาให้เกิดรอยแยกและรอยเลื่อนขึ้นในหิน ในการศึกษาธรณีวิทยาโครงสร้างเรามักเริ่มพิจารณาจาก จากระดับหินโผล่ที่มองเห็นได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งอาจมีแนว เลื่อน แนวโค้ง แนวแยก ปรากฏให้เห็น ตัวอย่างลักษณะปรากฏที่เกิดจากการเปลี่ยนรูปลักษณะทางธรณีวิทยาของแผ่นดิน แนวแตก แนวเลื่อน หรือแนว โค้ง ความเค้นที่กระทาต่อหินโดยปกติแล้วจะไม่เท่ากันทุกทิศทาง เราสามารถแยกความเค้นออกเป็น 3 ชนิดคือ - ความเค้นบีบอัด เกิดขึ้นในบริเวณที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่เข้าหากัน - ความเค้นดึง เกิดขึ้นในบริเวณที่แผ่นธรณีเคลื่อนที่ออกจากกัน - ความเค้นเฉือน เกิดขึ้นเมื่อความเค้นกระทาต่อหินขนานกับระนาบของการเคลื่อนที่ ความเค้นจะก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือปริมาตรของหิน ในบางครั้งความเค้นจะทาให้หินแตกหัก และ สามารถทาให้หินมีรูปร่างเปลี่ยนไปอย่างถาวรหรือเมื่อหมดแรงเค้นหินก็จะกลับสู่สภาพเดิม รอยโค้งเกิดขึ้นเมื่อมีแรงเค้นมากระทาต่อหินจนก่อให้เกิดความเครียดในหินโดยแสดงออกมาในรูปแบบการคดโก่ง โก่งงอ หรือหักพับ รอยโค้งของหินมีรูปร่างที่ไร้ขอบเขตและมีขนาดที่ไม่ตายตัวอาจเล็กเท่าฝ่ามือหรือใหญ่กว่า 100 กิโลเมตร เราสามารถแบ่งรอยโค้งออกเป็น 2 ลักษณะคือ รอยโค้งรูปประทุนกับรอยโค้งรูปประทุนหงาย โดยตัวอย่างที่ สาคัญสาหรับการศึกษารอยโค้งคือ เทือกเขาร็อกกี้ การโผล่ของหินที่ไม่สมบูรณ์และโครงสร้างที่ซับซ้อนทาให้การศึกษาวิเคราะห์รอยโค้งนั้นเป็นไปโดยยาก ซึ่งเรา สามารถนาคลื่นไหวสะเทือนมาช่วยในการศึกษาได้ รอยเลื่อนคือ รอยแตกระนาบในหิน โดยที่หินด้านหนึ่งเคลื่อนที่ไปจากหินอีกด้านหนึ่ง ส่วนรอยเลื่อนมีพลังคือรอย เลื่อนที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวได้ในอนาคต รอยเลื่อนมักทาให้เกิดสภาพภูมิประเทศที่หลากหลาย เช่น ผารอยเลื่อน ผิวรอยเลื่อน และผิวรอยครูดหรือรอย ไถล แผนที่ คือสิ่งที่แสดงลักษณะภูมิประเทศของโลก ซึ่งจะมีรายละเอียดแตกต่างๆ กันออกไปตามชนิดของแผนที่ แผนที่ภูมิประเทศสร้างขึ้นเพื่อจาลองลักษณะของผิวโลกหรือบางส่วนของพื้นที่บนผิวโลก มีสัญลักษณ์ เส้น และสี ที่กาหนดเป็น บ้าน ทางน้า และลักษณะของพืช แผนที่ธรณีวิทยาไม่ได้ถูกแบ่งด้วยขอบเขตของประเทศ แต่จะบรรจุข้อมูลต่างๆทางธรณีวิทยาเอาในพื้นที่นั้นๆ เอาไว้ เช่น โครงสร้างธรณีวิทยา ชั้นหิน การวางตัวของชั้นหินขอบเขตการกระจายตัวของหน่วยหินต่างๆ แหล่งแร่ และตาแหน่งซากดึกดาบรรพ์ การใช้สีในแผนที่ธรณีวิทยาใช้เพื่อบ่งชี้ว่าหน่วยหินในบริเวณนั้นเป็นหินชนิดใด เช่น หินอัคนีใช้สีแดง หินปูนใช้สี น้าเงิน นอกจากนี้สียังใช้แสดงยุคต่างๆของชุดหินอีกด้วย ซึ่งแผนที่ธรณีวิทยาของแต่ละประเทศอาจใช้สีที่แตกต่าง กัน Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 7. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 นอกจากนี้แผนที่ธรณีวิทยายังสามารถใช้ประโยชน์ในด้าน เศรษฐกิจ สังคมและสิ่งแวดล้อม ได้อีกด้วย Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 8. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 การใช้ประโยชน์จากแผนที่ธรณีวิทยาสามารถใช้ได้ตั้งแต่การวางนโยบายระดับประเทศไปจนถึงการพัฒนาส่วน ท้องถิ่น เช่น การพัฒนาชายฝั่งทะเล การสร้างเขื่อน หรือใช้เป็นตัวบ่งชี้ว่าแต่ละพื้นที่เหมาะสมกับการพัฒนาด้าน ใด ทรัพยากรธรณี คือ วัสดุที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติด้วยกระบวนการทางธรณีวิทยาที่มนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์ ในรูปแบบต่างๆได้ ทรัพยากรธรณีแบ่งออกเป็น 3 ประเภทได้แก่ ทรัพยากรพลังงาน ทรัพยากรโลหะ และทรัพยากรอโลหะ ทรัพยากรพลังงาน เป็นทรัพยากรที่ให้พลังงานนอกเหนือจากดวงอาทิตย์มีสามชนิดคือ ถ่านหิน ปิโตรเลียม และ ความร้อนใต้พิภพ ถ่านหินสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุสาหกรรมต่างๆ ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต ปุ๋ยยูเรีย นามาสกัดเอาน้ามันดิบ ถ่านหินแบ่งออกเป็นประเภทต่างๆได้ดังนี้ - ลิกไนต์ เป็นถ่านหินที่มีสีน้าตาลผิวด้าน มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีคาร์บอนร้อยละ 60-75 มีออกซิเจน ค่อนข้างสูง มีความชื้นสูงถึงร้อยละ 30-70 เมื่อติดไฟมีควันและเถ้าถ่านมาก มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็น เชื้อเพลิงสาหรับผลิตกระแสไฟฟ้า บ่มใบยาสูบ - ซับบิทูมินัส เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าลิกไนต์ มีสีน้าตาลถึงสีดา ผิวมีทั้งด้านและเป็นมัน มีทั้ง เนื้ออ่อนและเนื้อแข็ง มีความชื้นประมาณร้อยละ 25-30 มีคาร์บอนสูงกว่าลิกไนต์ เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพ เหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้าและงานอุตสาหกรรม - บิทูมินัส เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าซับบิทูมินัส เนื้อแน่น แข็ง มีสีน้าตาลถึงสีดาสนิท ประกอบด้วย ชั้นถ่านหินสีดามันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ และเป็นวัตถุดิบเพื่อเปลี่ยนเป็นเชื้อเพลิงอื่นๆ - แอนทราไซต์ เป็นถ่านหินที่ใช้เวลาในการเกิดนานกว่าบิทูมินัส มีลักษณะดาเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้า แบบก้นหอย มีปริมาณคาร์บอนประมาณร้อยละ 90-98 ความชื้นต่าประมาณร้อยละ 2-5 มีค่าความร้อนสูงแต่ติด ไฟยาก เมื่อติดไฟให้เปลวไฟสีน้าเงิน ไม่มีควัน ใช้เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรมต่างๆ เมื่อเรียงลาดับคุณภาพของถ่านหินจากคุณภาพมากไปหาคุณภาพน้อยโดยวัดจากปริมาณคาร์บอนแล้ว จะได้เป็น ลาดับดังนี้ แอนทราไซต์ บิทูมินัส ซับบิทูมินัส ลิกไนต์ Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 9. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 ปิโตรเลียม แบ่งได้เป็น น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ ทรายน้ามัน และหินน้ามัน โดยทรัพยากรปิโตรเลียมที่สาคัญของ ประเทศไทย ได้แก่ น้ามันดิบและก๊าซธรรมชาติ ซึ่งพบได้ตามแหล่งดังนี้ - น้ามันดิบ พบได้ที่ แหล่งน้ามันดิบฝาง แหล่งสิริกิติ์ แหล่งอู่ทอง - ก๊าซธรรมชาติ พบได้ที่ แหล่งก๊าซเอราวัณ แหล่งก๊าซบงกช - พลังงานความร้อนใต้พิภพ หมายถึง พลังงานความร้อนที่ได้จากความร้อนใต้ผิวโลก ในประเทศไทยพลังงานชนิด นี้อยู่ในรูปของ พุน้าร้อน แร่โลหะ หมายถึง แร่ที่เป็นสินของธาตุโลหะ คุณสมบัติที่สาคัญคือ มีประกายโลหะ นาความร้อนและไฟฟ้าได้ดี เป็นต้น แร่โลหะที่สาคัญได้แก่ ดีบก ทอง แมงกานีส เหล็ก ตะกั่ว ทองแดง ุ แร่อโลหะ แบ่งออกเป็น 4 กลุ่มได้แก่ - แร่อโลหะเพื่ออุสาหกรรมต่างๆ เช่น แบไรต์ ฟลูออไรต์ ฟอสเฟต โพแทช - แร่อโลหะเพื่อเป็นวัสดุก่อสร้าง ได้แก่ ทราย กรวด ยิปซัม หินปูน - แร่เชื้อเพลิง ได้แก่ ถ่านหิน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และหินน้ามัน - แร่รัตนชาติ ได้แก่ เพชร พลอย และหินสีต่างๆ ธรณีพิบัติภัย คือ ภัยธรรมชาติที่เกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงที่ รวดเร็วและรุนแรง แม้ว่าการเกิดพิบัติภัยต่างๆนั้นเกิดจากกระบวนการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติแต่กิจกรรมต่างๆของมนุษย์เองก็ ส่งผลต่อการเกิดธรณีพิบัติภัยให้เกิดได้เร็วยิ่งขึ้น สึนามิเป็นคลื่นยักษ์ที่มีความยาวคลื่นตั้งแต่ 100 กิโลเมตรขึ้นไป เป็นพิบัติภัยใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สินของ มนุษย์ Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 10. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 ร้อยละ 80 ของสึนามิเกิดบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก อีกทั้งเราไม่สามารถตรวจวัดคลื่นสึนามิได้ ในขณะที่คลื่นอยู่ ในทะเลเปิด สาเหตุของการเกิดสึนามิได้แก่ การระเบิดอย่างรุนแรงของภูเขาไฟใต้ทะเล การทดลองระเบิดนิวเคลียร์ใต้ทะเล หรือเกิดแผ่นดินไหวใต้ทะเลอย่างรุนแรง วิธีที่ควรปฏิบัติ เมื่อเกิดสึนามิในขณะที่อยู่บนบก คือ การอพยพขึ้นที่สูง แต่เมื่ออยู่ในทะเล ให้ลอยเรืออยู่กลาง ทะเลไม่ควรนาเรือเข้าฝั่ง แผ่นดินถล่ม มีสาเหตุมาจาก การผุกร่อนของชั้นหิน ฝนตกหนักต่อเนื่องเป็นเวลานาน และการเปลี่ยนแปลงสภาพ ป่าเพื่อทาการเกษตร แผ่นดินทรุด มี 3 สาเหตุหลัก คือ - ทรุดเนื่องจากเอาของแข็งออกจากพื้นดิน การทาเหมืองแร่ ทาให้ใต้ดินเป็นโพรง - ทรุดเนื่องจากเอาของเหลวออกจากพื้นดิน เช่นการสูบน้าบาดาล ทาให้ดินทรุดเป็นแอ่งขนาดใหญ่มองไม่เห็น ด้วยตาเปล่า - ทรุดเนื่องจากน้าหนักกดทับ เช่น การก่อสร้างตึกขนาดใหญ่ หลุมยุบ เป็นปรากฏการณ์ที่ดินยุบตัวลงเป็นหลุมลึก มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั่งแต่ 1 – 200 เมตร และลึกตั้งแต่ 1 เมตร จนถึงขนาดใหญ่กว่า 20 เมตร สาเหตุของการเกิดหลุมยุบได้แก่ มีโพรงหรือถ้าใต้ดิน ได้รับผลกระทบจากแผ่นดินไหวที่มากกว่า 7 ริคเตอร์ มีการ เปลี่ยนแปลงของระดับน้าใต้ดิน น้าท่วมแบ่งออกเป็น น้าป่าไหลหลาก และน้าท่วมบริเวณปลายน้า น้าป่าไหลหลากมักจะเกิดในบริเวณพื้นที่ต้นน้า ภัยแล้ง เป็นการขาดแคลนน้าในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งเป็นเวลานาน ดาราศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับ ดวงดาวต่างๆ รวมทั้งโลกที่เราดารงชีวิตอยู่ ปีแสง เป็นหน่วยวัดระยะทางในอวกาศ โดย 1 ปีแสง เท่ากับระยะทางที่แสงเดินทางใน 1 ปี = 9.46x1012 กิโลเมตร เอกภพกาเนิด ณ จุดที่เรียกว่า " บิกแบง " เป็นจุดที่พลังงานเริ่มเปลี่ยนเป็นสสาร Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 11. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 ข้อสังเกตที่สนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ปรากฏการณ์อย่างน้อย 2 อย่าง ทีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบง ได้แก่ 1) การ ่ ขยายตัวของเอกภพ 2) อุณหภูมิพื้นหลังอวกาศซึ่งปัจจุบันลดลงเหลือ 2.73 เคลวิน เอกภพขยายตัวตามกฎของฮับเบิล คือ กาแล็กซีจะเคลื่อนที่ไกลออกไป ด้วยอัตราความเร็วที่เพิ่มขึ้นตามระยะห่าง กาแล็กซีที่อยู่ไกลเคลื่อนที่ห่างออกไปเร็วกว่ากาแล็กซีที่อยู่ใกล้ นั่นเอง อุณหภูมิของเอกภพลดลงตามเวลาที่ผ่านไป ปัจจุบันอุณหภูมิของเอกภพวัดได้ 2.73 เคลวิล กาแล็กซีประกอบด้วยระบบดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ เนบิวลา และที่ว่าง ทางช้างเผือกเป็นส่วนหนึ่งของกาแล็กซีทางช้างเผือก หรือกาแล็กซีของเรา ระบบสุริยะของเราอยู่ในกาแล็กซีทางช้างเผือก กาแล็กซีทางช้างเผือกหรือกาแล็กซีของเรา เป็นกาแล็กซีแบบกังหัน ดาวฤกษ์มีความแตกต่างกันในเรื่อง ความส่องสว่าง ระยะห่าง สี อุณหภูมิผิว สเปกตรัม มวล การสร้างธาตุ และ ระบบของดาวฤกษ์ ความส่องสว่างปรากฏของดาวฤกษ์ที่สังเกตเห็น ขึ้นอยู่กับความส่องสว่างสัมบูรณ์ และระยะห่างจากโลกถึงดาว ฤกษ์ โชติมาตรปรากฏ คือ ระดับความสว่างที่กาหนดขึ้นเพื่อเปรียบเทียบความส่องสว่างปรากฏ หน่วยวัดระยะที่นิยมใช้ทางดาราศาสตร์มีหลายหน่วย คือ หน่วยดาราศาสตร์ ปีแสง และพาร์เซก Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 12. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 สีและสเปกตรัมของดาวฤกษ์มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิของผิวดาวสูงที่สุด คือ สีน้าเงิน และดาวฤกษ์ที่มีอุณหภูมิของผิวดาวต่าที่สุด คือ สีแดง เนบิวลาเป็นต้นกาเนิดของดาวฤกษ์ ดาวฤกษ์ที่มีมวลน้อย เช่น ดวงอาทิตย์ จะจบชีวิตกลายเป็นดาวแคระขาว ดาวฤกษ์ที่มีมวลมาก คือ ดาวฤกษ์ที่มีมวลของดาวฤกษ์ก่อนเกิดมีค่าเท่ากับหรือมากกว่าดวงอาทิตย์ประมาณ 9 เท่า จะจบชีวิตด้วยการระเบิดอย่างรุนแรงที่เรียกว่า ซูปเปอร์โนวา และยุบตัวกลายเป็นดาวนิวตรอนหรือหลุมดา นักวิทยาศาสตร์ใช้ปรากฏการณ์แพรัลแลกซ์ (parallax) ในการวัดระยะห่างของดาวฤกษ์ แพรัลแลกซ์ คือการย้ายตาแหน่งปรากฏของวัตถุเมื่อผู้สังเกตอยู่ในตาแหน่งต่างกัน โดยนักดาราศาสตร์ใช้ ปรากฏการณ์แพรัลแลกซ์ในการวัดระยะทางของดาวฤกษ์ หน่วยดาราศาสตร์ เป็นหน่วยวัดระยะทางในระบบสุริยะที่กาหนดให้ 1 หน่วยดาราศาสตร์ มีค่าเท่ากับระยะทาง เฉลี่ยจากโลกถึงดวงอาทิตย์ คือประมาณ 150 ล้านกิโลเมตร ดาวเคราะห์หิน ได้แก่ ดาวพุธ ดาวศุกร์ โลก และดาวอังคาร ส่วนดาวเคราะห์แก๊ส ได้แก่ ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส และดาวเนปจูน วงโคจรของดาวเคราะห์เป็นวงรี ดาวเคราะห์ที่อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์จะโคจรรอบดวงอาทิตย์ด้วยอัตราเร็วที่มากกว่าดาวเคราะห์ที่อยู่ไกลจากดวง อาทิตย์ แถบดาวเคราะห์น้อยมีเศษหินจานวนมากจานวนมากซึ่งมีขนาดและรูปร่างที่แตกต่างกันออกไป ลมสุริยะ คือ อนุภาคโปรตรอน และอิเล็กตรอนที่ดวงอาทิตย์ปล่อยออกมา ถ้ามีอัตราเร็วมากกว่าลมสุริยะปกติ จะเรียกว่า พายุสุริยะ ผลกระทบของลมสุริยะหรือพายุสุริยะต่อโลก คือ การเกิดแสงเหนือใต้ (aurora) ซึ่งเป็นปรากฏการณ์แสงหลายสี ในบรรยากาศ ส่วนใหญ่เกิดบริเวณขั้วโลก ในลักษณะเป็นแสงสีต่างๆ บนท้องฟ้า นอกจากเกิดแสงเหนือใต้แล้ว พายุสุริยะอาจทาให้ไฟฟ้าแรงสูงของประเทศที่อยู่ใกล้ขั้วโลกดับ เกิดการติดขัดทางการสื่อสารโดยคลื่นวิทยุคลื่น สั้นทั่วโลก และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ในดาวเทียมอาจถูกทาลาย เทคโนโลยีอวกาศ คือ เทคโนโลยีที่ใช้สารวจอวกาศ แรงโน้มถ่วงของโลก หมายถึง แรงดึงดูดของโลกที่กระทาต่อมวลของวัตถุ การส่งดาวเทียม ยานอวกาศ ต้องอาศัยจรวดหรือระบบขนส่งอวกาศ กล้องโทรทรรศน์ของหอดูดาวสิรินธร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ซึงตังอยูท่ีดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ เป็นกล้อง ่ ้ ่ โทรทรรศน์ชนิดสะท้อนแสง นักบินอวกาศก่อนขึ้นไปปฏิบัติงานในอวกาศต้นฝึกให้สามารถทนต่อน้าหนักตัวที่เพิ่มขึ้นขณะยานขึ้นจากผิวโลก และการอยู่ในสภาพไร้น้าหนัก ธรณีวิทยา คือ การศึกษาว่าโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร เกิดขึ้นอย่างไร และประกอบด้วยหินอะไรบ้าง กุญแจ ไขประวัติศาสตร์ของโลกซ่อนอยู่ในหินทั้งหลายนั้นเอง การศึกษาโครงสร้างโลกจากคลื่นไหวสะเทือนที่เคลื่อนที่ผ่านโลก นั้นคลื่นที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ คลื่นปฐมภูมิ (Primary waves, P waves) และคลื่นทุติยภูมิ (Secondary waves, S waves) ซึ่งเป็นคลื่นในตัวกลาง (Body wave) โดยที่คลื่นไหวสะเทือนดังกล่าวมีสมบัติสาคัญ ดังนี้ - คลื่น P สามารถที่ผ่านตัวกลางได้ทุกสถานะ และมีความเร็วมากกว่าคลื่น S - คลื่น S สามารถเคลื่อนที่ผ่านได้เฉพาะตัวกลางที่เป็นของแข็งเท่านั้น นักวิทยาศาสตร์แบ่งโครงสร้างของโลกตามลักษณะมวลสาร คือ ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก และแก่นโลก โดย เรียงลาดับจากผิวโลกลึกลงไปด้านใน โครงสร้างโลกแต่ละชั้นมีลักษณะทางกายภาพแตกต่างกัน Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 13. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 เปลือกโลก แบ่งออกเป็น 2 แบบ ได้แก่ เปลือกโลกทวีป และเปลือกโลกมหาสมุทร ทั้ง 2 แบบ มีส่วนประกอบ แตกต่างกัน ธรณีภาคมีลักษณะแตกออกเป็นแผ่นแต่ละแผ่น เรียกว่า แผ่นธรณี ดร.อัลเฟรด เวเกเนอร์ ได้ตั้งสมมติฐานว่า ผืนแผ่นดินทั้งหมดบนโลกเดิมเป็นแผ่นดินผืนเดียวกัน เรียกว่า พันเจีย (Pangaea) ซึ่งเป็นภาษากรีก แปลว่า แผ่นดินทั้งหมด ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผ่นธรณี (plate tectonic theory) คือทฤษฎีที่ใช้อธิบายการเกิดและการเปลี่ยนแปลง ของทวีป และมหาสมุทร ลักษณะการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาค คือ 1.แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน 2.แผ่นธรณีที่เคลื่อนเข้าหากัน 3. แผ่นธรณีเคลื่อนที่ผ่านกัน หรือ แผ่นธรณีที่เคลื่อนที่เฉือนกัน สาเหตุที่ทาให้แผ่นธรณีมีการเคลื่อนที่ คือ การไหลหมุนเวียนของหินหนืดในชั้นแมนเทิล ซึ่งไปดันให้แผ่นธรณีที่อยู่ ด้านบนเกิดการเคลื่อนที่ แผ่นธรณีเคลื่อนที่แยกออกจากกัน ทาให้เกิดเทือกสันเขาใต้สมุทร Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 14. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 รอยเลื่อนซานแอนเดรียสในรัฐแคลิฟอเนียร์ ประเทศสหรัฐอเมริกา เป็นการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีเคลื่อนที่เฉือน กัน เทือกเขาหิมาลัยเกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีทวีปเคลื่อนที่ชนกับแผ่นธรณีทวีป สาเหตุที่แผ่นธรณีมีอัตราการเคลื่อนที่ไม่เท่ากัน เพราะอัตราการเคลื่อนตัวของแมกมาในชั้นเนื้อโลกไม่เท่ากัน แผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นตรงบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี ตาแหน่งของจุดกาเนิดแผ่นดินไหว เรียกว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ส่วนตาแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิด แผ่นดินไหวเรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว คาบอุบัติซ้าเป็นระยะเวลาครบรอบการเกิดซ้าของแผ่นดินไหวในตาแหน่งเดิม บริเวณที่เรียกว่า วงแหวนแห่งไฟ ได้แก่ประเทศ ประเทศญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ด้านตะวันตกของประเทศเม็กซิโก และ ด้านตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา ตาแหน่งของจุดกาเนิดแผ่นดินไหว เรียกว่า ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว ส่วนตาแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิด แผ่นดินไหวเรียกว่า จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เครื่องตรวจวัดและบันทึกการเกิดแผ่นดินไหวเรียกว่า ไซสโมกราฟ ทางานโดยรับคลื่นไหวสะเทือนแล้วแปลงเป็น สัญญาณไฟฟ้า เมอร์คัลลี่ เป็นมาตราที่นักธรณีวิทยาแผ่นดินไหวชาวอิตาเลียน กิเชปเป เมอร์คัลลี่ เป็นผู้คิดค้น สาหรับใช้ในการ วัดความรุนแรงของแผ่นดินไหว มาตราวัดขนาดของแผ่นดินไหว เรียกว่า มาตราริคเตอร์ เป็นมาตราที่นักธรณีวิทยาแผ่นดินไหว ซี.เอฟ.ริคเตอร์ เป็นผู้คิดค้นสาหรับใช้ในการกาหนดขนาดของแผ่นดินไหว ภูเขาไฟดับสนิท เป็นภูเขาไฟที่ไม่มีการประทุขึ้นมาอีก พบได้มากมายบนผิวโลก และภูเขาไฟมีพลัง เป็นภูเขาไฟที่ ยังคงคุกรุ่นอยู่ หรืออาจเกิดการปะทุขึ้นมาได้อีก ภูเขาไฟมีพลังส่วนใหญ่พบตรงบริเวณแนวรอยต่อของแผ่นธรณี ประเทศไทยมีภูเขาไฟที่ดับแล้วมาประมาณเกือบ 2 ล้านปี เช่น บริเวณเขากระโดง จังหวัดบุรีรัมย์ , ดอยผาคอก หินฟู จังหวัดลาปาง หินที่เกิดจารการระเบิดของภูเขาไฟ คือหินอัคนี ซึ่งเกิดจากการเย็นตัวลงของแมกมาที่ประทุออกมาซึ่งอัตราการ เย็นตัวจะมีผลกระทบต่อความพรุนของหินที่เกิดขึ้นด้วย Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 15. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 อายุทางธรณีวิทยาแบ่งเป็น 2 แบบคือ อายุเปรียบเทียบ และอายุสัมบูรณ์ อายุเปรียบเทียบ (relative age) เป็นอายุหินเปรียบเทียบซึ่งบอกว่าหินชุดใด มีอายุมาก หรือน้อยกว่ากัน อายุ เปรียบเทียบหาได้โดยอาศัยข้อมูลจากซากดึกดาบรรพ์ที่ทราบอายุ ลักษณะการลาดับชั้นของหินชนิดต่าง ๆ และ ลักษณะโครงสร้างทางธรณีวิทยาของหิน แล้วนามาเทียบสัมพันธ์กับช่วงเวลาทางธรณีวิทยาที่เรียกว่า ธรณีกาล (geologic time) ก็จะสามารถบอกอายุของหินที่เราศึกษาได้ว่าเป็นหินในยุคไหน หรือมีช่วงอายุเป็นเท่าใด อายุสัมบูรณ์ (absolute age) เป็นอายุของหิน หรือซากดึกดาบรรพ์ ที่สามารถบอกเป็นจานวนปีที่ค่อนข้าง แน่นอน การหาอายุสัมบูรณ์ใช้วิธีคานวณจากครึ่งชีวิตของธาตุกัมมันตรังสีที่มีอยู่ ในหิน หรือซากดึกดาบรรพ์ที่ ต้องการศึกษา ธาตุกัมมันตรังสีที่นิยมนามาหาอายุสัมบูรณ์ ได้แก่ ธาตุคาร์บอน–14 ธาตุโพแทส เซียม–40 ธาตุ เรเดียม-226 และธาตุ ยูเรเนียม-238 เป็นต้น ซากดึกดาบรรพ์ คือ ซากของสิ่งมีชีวิตทั้งพืชและสัตว์ที่เคยอาศัยอยู่ในบริเวณนั้น เมือตายลงซากก็ถูก ทับถมและ ฝังตัวอยู่ในชั้นหินตะกอน ซากดึกดาบรรพ์ดัชนี หมายถึง ซากดึกดาบรรพ์ที่บอกอายุได้แน่นอน เนื่องจากเป็นซากดึกดาบรรพ์ที่มีวิวัฒนาการ ทางโครงสร้างและรูปร่างอย่างรวดเร็ว มีความแตกต่างในแต่ละช่วงอายุอย่างเห็นเด่นชัด ประเทศไทยมีการค้นพบซากไดโนเสาร์ครั้งแรกที่ อาเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่นคือ ไดโนเสาร์ประเภทเดินสี่เท้า กินพืชเป็นอาหาร คอและหางยาว ซากไดโนเสาร์ที่พบส่วนมากทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในชั้นหินทรายแป้ง เป็นหินอยู่ในยุคไทรแอสสิกตอน ปลายถึงยุคครีเตเชียสตอนกลาง ซากดึกดาบรรพ์ที่เป็นพืชที่เคยพบในไทยได้แก่ ใบไม้ ละอองเรณู สปอร์ สาหร่ายทะเลและไม้กลายเป็นหิน ลักษณะของซากดึกดาบรรพ์ที่ปรากฏในปัจจุบันมีลักษณะหลายประการ คือ 1.แข็งกลายเป็นหิน 2.อยู่ใสภาพแช่ แข็ง 3.ถูกอัดในยางไม้หรืออาพัน หินที่สามารถเก็บรักษาซากดึกดาบรรพ์ได้ดีคือ หินตะกอน เนื่องจาก ซากดึกดาบรรพ์นั้นเกิดได้ยาก เนื่องจากใน ธรรมชาติวัตถุต่างๆ ย่อมเกิดการสลายตัวไปตามกาลเวลา การเกิดเป็นซากดึกดาบรรพ์ได้นั้นมักจะเกิดจากการที่ ซากนั้นได้รับการปกป้องห่อหุ้มไปด้วยการทับถมของตะกอนต่างๆ ดังนั้นซากดึกดาบรรพ์จึงมักจะพบได้ในชั้นหิน ตะกอน หิน (Rock) เป็นมวลของแข็งที่ประกอบด้วยแร่ชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมตัวกันอยู่ตามธรรมชาติ แบ่งออกเป็น 3 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1. หินอัคนี , หินตะกอนหรือหินชั้น , หินแปร เมื่อนากรดมาหยดบนหินปูน จะเกิดฟองอากาศ หรือเกิดฟองฟู่ การศึกษาธรณีประวัติทาให้ได้ประโยชน์คือ นาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนพัฒนาและใช้ประโยชน์จากพื้นที่ให้ เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม สารวจหาทรัพยากรธรณี Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com
  • 16. เอกสารสรุปรายวิชา โลก ดาราศาสตร์และอวกาศ โดยครูสิปป์แสง สุขผล ปีการศึกษา 2556 22 กุมภาพันธ์ 2556 เหตุผลที่ยืนยันว่าบริเวณพื้นที่จังหวัดลาปางเมื่อหลายล้านปีก่อนเคยเป็นทะเลมาก่อนคือ พบซากดึกดาบรรพ์ของ หอยกาบคู่และหอยงวงช้าง สะสมในชั้นหิน Kru Sipsang :http://sipsang.wordpress.com