SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  58
Télécharger pour lire hors ligne
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
•หลักการสร้างความปรองดอง
•กรณีศึกษาการปรองดองในต่างประเทศ
•กระบวนการปรองดองของ คสช.
•แนวคิดการปรองดองของไทยในอนาคตควรจะเป็นอย่างไร
•แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน
•มองอนาคตร่วมกัน
ขอบเขตการบรรยาย และเรียนรู้ร่วมกัน
www.kpi.ac.th
South Africa
การสร้างความปรองดอง
• เป็นกระบวนการต่างๆ ที่ป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งเพราะจะรุนแรงมากขึ้น
• การสร้างสันติภาพด้วยการหยุดยั้งวงจรแห่งความรุนแรง และสร้างประชาธิปไตยให้กลับคืนมาอีกครั้ง
• เป็นกระบวนการที่นาไปสู่การลดความเกลียดชัง แตกแยก และสร้างความไว้วางใจให้ฟื้นคืน
ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งรุนแรง
• เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อการกระทาในอดีต การยอมรับความจริงที่เกิดขึ้น การเมตตาให้อภัย
ตลอดจนการมองภาพอนาคตของสังคมร่วมกัน
๑. การสานเสวนาเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการนาไปสู่การสร้างความปรองดอง
๒. เน้นหรือจัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน
๓. ความปรองดองเกิดขึ้นได้เมื่อความต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบสนอง
๔. ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญมากในการแก้ไขความขัดแย้ง
๕. การสร้างความปรองดองจาเป็นมากที่จะต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย
๖. การสร้างความปรองดองเน้นที่หัวใจ
๗. คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง
๘. การให้อภัยมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคม
๙. ความยุติธรรมแบบใดที่เหมาะสมสาหรับการสร้างความปรองดอง
หลักการสร้างความปรองดอง
กระบวนการสร้างพื้นที่ให้เกิดการพูดคุย
๑) การสานเสวนาเกิดขึ้นได้เมื่อคู่กรณีร่วมกันหาข้อตกลงไปสู่การเปลี่ยนแปลง มุมมอง ความรู้สึกโกธร ความเกลียดที่มี
ต่อกัน
๒) จัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน เปิดเผยอารมณ์ความรู้สึกของตนเอง เยียวยาอดีตและความเจ็บปวดใน
ปัจจุบัน และการเยียวยาความรู้สึกทางจิตใจของคน การยอมรับความจริงแทนหนทางการต่อสู้กัน ให้คนที่เกลียดชังกัน
มาพูดคุยกันได้ ต้องมีพื้นที่ปลอดภัยเพื่อสร้างอนาคตร่วมกัน ยอมรับผู้แทนของแต่ละฝ่าย ยอมรับตัวตนซึ่งกันและ
กัน และยอมรับอดีตที่เกิดขึ้น มีคณะกรรมการแสวงหาข้อเท็จจริงและสร้างความปรองดองเพื่อเยียวยาเหยื่อและสังคม
เป้าหมายไม่ใช่เพื่อลงโทษผู้กระทา แต่เพื่อทาให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันได้
๓) ความปรองดองเกิดขึ้นไม่ได้ หากเขารู้สึกไม่ปลอดภัยมั่นคงในการอยู่ร่วมกับศัตรู การให้อภัยเป็นสิ่งจาเป็นแต่จะ
เกิดขึ้นไม่ได้เลย ถ้าความต้องการของมนุษย์ถูกละเลย หรือในกรณี ถ้าไม่เกิดการยอมรับในอัตลักษณ์ของชนกลุ่ม
๔) ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการแก้ไขความขัดแย้ง การเยียวยาความรู้สึก การสร้างความสัมพันธ์ที่
แตกร้าวให้กลับขึ้นมาใหม่ ต้องการมากกว่าการเจรจาไกล่เกลี่ย ที่ได้แต่ความความต้องการที่แท้จริง
เท่านั้น ต้องใช้สัญลักษณ์และพิธีกรรม ตามความเชื่อทางศาสนา และพิธีกรรมในการสร้างความ
ปรองดอง
๕) การสร้างความปรองดองต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย ทั้งด้านจิตใจ กฎหมาย สังคม วัฒนธรรม
จิตวิทยาและการเมือง การเจรจาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถนาไปสู่การสร้างสันติภาพได้ ต้องสร้าง
กิจกรรมร่วมกันในภาคประชาสังคมด้วย จะประสบความสาเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือทั้งภาครัฐและ
ภาคประชาชน จนถึงผู้นาที่ได้รับการยอมรับจากคู่กรณี
๖) การปรองดองเน้นที่หัวใจ และความคิด โดยกาหนดเป้าหมายของการพูดคุย และดาเนินไปในทิศทางที่
ควรจะเป็น ส่วนการเน้นที่หัวใจคือเป็นการพูดคุยกันถึงอารมณ์ ความรู้สึกที่อยู่ลึกในจิตใจ
๗) คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง ไม่เน้นที่การรับหรือนาวิธีการและกฎหมายของ
ประเทศตะวันตกมาใช้แต่ต้องปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของสังคม
๘) การให้อภัยมีความแตกต่างกันออก ในแต่ละสังคมและวัฒนธรรม ไม่ควรยึดติดแต่เพียงรูปแบบเดียว แต่ละ
วัฒนธรรมมีมุมมองต่อการให้อภัยและการสร้างความปรองดองที่แตกต่างกันออกไป
๙) จะเลือกความยุติธรรมแบบไหนที่เหมาะสม เพื่อให้ความสัมพันธ์กลับคืนมาระหว่างคู่กรณี หรือความยุติธรรมแบบมุ่ง
แก้แค้น ที่เน้นลงโทษผู้กระทาผิด เนื่องจากเหยื่อมีความต้องการให้ลงโทษผู้กระทาผิด เป็นสิ่งที่ท้าทายทั้งนักปฏิบัติ
และนักวิชาการในการเลือกใช้ความยุติธรรมแบบไหน หลังเหตุการณ์ความรุนแรง แม้คาตอบของความยุติธรรมไม่ได้
อยู่ที่การยอมคืนดีเสมอไป แนวทางหนึ่งที่นักสันติวิธีมักใช้อย่างกว้างขวางเพื่อจัดการกับปัญหาความขัดแย้งที่รุนแรง
ในสังคมในอีกรูปแบบหนึ่งคือ ความยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน
กระบวนการและเครื่องมือในการสร้างความปรองดอง
•เครื่องมือในการเปิดพื้นที่ในการพูดคุย สร้างความปรองดองอาจจะอาศัยวิธีการอย่างใด
อย่างหนึ่งหรือผสมผสานกันหลายวิธีการก็ได้ขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาและบริบททาง
วัฒนธรรมของแต่ละสังคม โดยมีเป้าหมายที่สาคัญก็คือการสร้างสังคมที่คนเห็นต่างแต่
สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ
•ผู้อานวยความสะดวกในการชวนคุย (Facilitators)
•เอาใจเขามาใส่ใจเรา และการมีวัฒนธรรมประชาธิปไตย มีการเยียวยาทางจิตใจ
• ปรองดองในสังคม ตั้งอยู่บนฐานคิดของความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านและการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง เพื่อ
ยุติความรุนแรง ลดความเกลียดชังแตกแยก
• สร้างความไว้วางใจและฟื้นคืนความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งกันรุนแรง และนาไปสู่สังคมปรองดองที่ผู้คน
ซึ่งมีความแตกต่างไม่ว่าจะเป็นทางความคิดความเชื่อ ชาติพันธุ์ วัฒนธรรม หรือสถานะทางสังคมเศรษฐกิจ สามารถอยู่
ร่วมกันได้อย่างสันติ
• เมื่อสังคมเกิดการใช้ความรุนแรงและนามาสู่ความสูญเสีย มีการจัดการกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นนั้นอย่างไร จะใช้
วิธีการใดบ้างในการก้าวข้ามพ้นความรุนแรงที่เกิดขึ้น การนากระบวนการยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน จึงถูกนามาใช้
ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เป็นแนวทางหนึ่งที่นามาใช้เพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมที่พึงปรารถนาสามารถอยู่ร่วมกันได้
อย่างสันติ บนพื้นฐานว่าจะจดจาหรือลืมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และมาตรการในการลงโทษผู้กระทาผิด หรือเน้นการ
เยียวยาผู้เสียหาย
ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice)
๑. การฟ้องร้องดาเนินคดีกับผู้กระทาผิด
๒. การนิรโทษกรรม
๓. คณะกรรมการค้นหาความจริง
๔. โครงการช่วยเหลือเยียวยา
๕. การระลึกถึงผู้ได้รับผลกระทบ
๖. การปฏิรูปสถาบัน
ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน(Transitional Justice)
3. ขั้นตอนและกระบวนการต่างๆ ของการปรองดอง
แนวคิดและกระบวนการสร้างความปรองดอง (ต่อ)
•หยุดใช้ความรุนแรงเพื่อหยุดยั้งความหวาดกลัว ความเกลียดชัง ความเคียดแค้น
และความทรงจาที่เจ็บปวด จะต้องหยุดใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบขั้นตอนที่1
•การสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจ หลังหยุดการใช้ความรุนแรงแล้ว จะต้อง
สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในสังคมให้กลับคืนมา คู่ขัดแย้ง เหยื่อ และผู้ได้รับผลกระทบจะต้องสร้าง
ความไว้วางใจ โดยอยู่บนพื้นฐานของความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชน
ขั้นตอนที่ 2
•เอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจสาเหตุของความขัดแย้งจากมุมมองของฝ่ายตรงข้าม รับฟังเหตุผล
ผู้กระทาผิด รับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดของเหยื่อเพื่อหยุดยั้งความเกลียดชังและการแก้แค้นต่อกัน
ขั้นตอนที่ 3
4. กระบวนการและเครื่องมือในการสร้างความปรองดอง
แนวคิดและกระบวนการสร้างความปรองดอง (ต่อ)
1
•การเยียวยาทางจิตใจ
2
•การใช้กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
3
•การเล่าความจริง
4
•การชดเชย
• การจัดตั้ง คณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อทาหน้าที่ค้นหาความจริง ข้อดีสามารถเปิดเผยข้อมูลอย่างเป็นทางการ
ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งก่อนมีคณะกรรมการดังกล่าว อาจมีการให้ข้อมูลที่กล่าวถึงความเสียหายที่มากเกิน
ความเป็นจริง หรือน้อยเกินความเป็นจริงก็ได้
• การเปิดเผยความจริงจะทาให้สังคมหันมาสนใจผู้เสียหายซึ่งถูกสังคมเพิกเฉยมาเป็นเวลานาน อันนาไปสู่การสร้าง
มาตรการเยียวยาผู้เสียหายได้ ที่สาคัญสามารถนาเสนอมาตรการในการเยียวยาผู้เสียหาย ตลอดจนการปฏิรูปกฎหมาย
และสถาบันได้อีกด้วย
• การตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริงไม่ใช่ว่าจะเหมาะสมกับทุกบริบทของความขัดแย้ง เพราะบางครั้งอาจทาให้ความ
ขัดแย้งที่มีอยู่เพิ่มมากขึ้น และในบางประเทศไม่มีสถาบันที่น่าเชื่อถือที่มีความชอบธรรม พอที่จะให้ค้นหาความจริง
และไม่มีอะไรรับประกันว่าคณะกรรมการฯ จะเป็นกลาง ในบางครั้งการเปิดเผยความจริงก็อาจจะยิ่งสร้างความเจ็บปวด
ให้แก่ผู้เสียหายมากขึ้นก็ได้
การเล่าความจริง (Truth-telling)
• เป็นสิ่งที่สาคัญในการสร้างความปรองดองอย่างแท้จริง โดยหลักการรัฐมีหน้าที่รับรองและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
ของประชาชน ถ้าหากรัฐ (หรือเจ้าหน้าที่รัฐ) ทาการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน รัฐก็ต้องชดเชยให้ผู้เสียหาย
อาจเป็นได้ทั้งการทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้แก่ การคืนทรัพย์สิน การคืนสิทธิตามกฎหมายแพ่งของบุคคล และการ
ใช้ค่าสินไหมทดแทน ซึ่งคือการจ่ายเงินให้แก่ผู้เสียหาย เพื่อทดแทนสิ่งที่ผู้เสียหายสูญเสียไป
• การเยียวยาอาจได้แก่ การฟื้นฟู หมายถึงการทาให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตกลับคืนสู่สภาพใกล้เคียงกับสภาพ
เดิมมากที่สุด ซึ่งอาจทาได้โดยให้การรักษาทางการแพทย์ และการชดเชย การจะสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เสียหาย
จาทาโดยการเปิดเผยความจริง การขอโทษ การลงโทษผู้กระทาความผิด เป็นต้น
• กระบวนการสร้างความปรองดองมีความเปราะบางและต้องอาศัยเวลาและความอดทนจากทุกฝ่าย เป็นกระบวนการที่มี
ความเกี่ยวข้องทั้งในส่วนของการยุติความรุนแรง/การหาข้อตกลง เพราะความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งเป้าหมายและ
ทางออกที่ยั่งยืน และในส่วนของการสร้างความปรองดอง
การชดเชย (Reparation)
กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice)
• เป็นกระบวนยุติธรรมที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการเยียวยาผู้เสียหายและการลงโทษผู้กระทาความผิดแต่เพียงอย่างเดียว
• เป็นกระบวนการยุติธรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เสียหาย และผู้กระทาความผิดมีส่วนร่วมในการพูดคุยกันเพื่อวิเคราะห์ว่า
อะไรคือข้อเท็จจริง อะไรคือสาเหตุแห่งการกระทาความผิด เป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้กระทาความผิดกับผู้เสียหายมี
ความเข้าใจซึ่งกันและกัน
• ให้ผู้กระทาผิดเกิดความรู้สึก “รับผิดชอบ” กับสิ่งที่ตนเองทา และตกลงกันว่าจะเยียวยาผู้เสียหายอย่างไร ตลอดจน
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทาความผิดแล้วทาให้ผู้กระทาความผิดกลับคืนสู่สังคมได้
• ข้อดีของการใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ได้แก่ กระบวนยุติธรรมดังกล่าวสร้างการเรียนรู้ให้แก่คนในสังคม
โดยต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน และเป็นกระบวนยุติธรรมที่มีลักษณะเป็นการเจรจาซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้เสียหายและผู้กระทา
ความผิดเข้ามามีส่วนร่วม
• การใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ก็มีข้อเสีย อาจเกิดความไม่เป็นธรรมหรืออานาจที่ไม่เท่าเทียมกันใน
กระบวนการพูดคุยระหว่างคู่กรณีได้ไม่ว่าจะเป็นตัวแปรด้านเพศ อายุ หรือสถานะทางสังคม
กรณีศึกษา “ การสร้างความปรองดอง จาก 10 ประเทศ “
จากรายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ จัดทาโดย สถาบันพระปกเกล้า มีนาคม พ.ศ. 2555
เวลาเจรจา สาเหตุขัดแย้ง การจัดการ คณก.หาความจริง
South Korea 10 เรียกร้อง ปชต. ปขข.กดดัน ตั้งคณะกรรมการ
South Africa 10 ไม่เป็นธรรม สร้างภาพอนาคตร่วมกัน ตั้งคณะกรรมการ
Aceh Indonesia 7 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
North Ireland 26 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ
Rwanda 8 ไม่เป็นธรรม/กดขี่ คณก.ปรองดอง ตั้งศาล กาชาชา
Chili 17 อุดมการณ์แตกต่าง เลือกตั้ง ตั้งคณะกรรมการ
Columbia 22 อุดมการณ์แตกต่าง ปรับปรุงกฎหมาย คณก ฟื้นฟู
Morocco 16 เรียกร้อง ปชต. ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง ตั้งคณะกรรมการ
Bolivia 3 ไม่เป็นธรรม ลงประชามติ
Germany 8 อุดมการณ์แตกต่าง การเจรจา ตั้งคณะกรรมการ
เวลาเจรจา ชดเชยเยียวยา การจัดการ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง
South Korea 10 เยียวยา ปขข.กดดัน ทหารให้คามั่นจะไม่เกิดอีก
South Africa 10 เยียวยา สร้างภาพอนาคตร่วมกัน มองอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia 7 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
North Ireland 26 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา
Rwanda 8 เยียวยา คณก.ปรองดอง อยู่ร่วมกัน
Chili 17 เยียวยา เลือกตั้ง หวงแหน ปชต.
Columbia 22 เยียวยา ปรับปรุงกฎหมาย การเจรจา
Morocco 16 เยียวยา ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง รับรู้มีการละเมิดสิทธิมนุษชน
Bolivia 3 ลงประชามติ ยอมรับความแตกต่าง
Germany 8 เยียวยา การเจรจา ยึดถือความเท่าเทียม
ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
South Korea ภาคประชาชนเข้มแข็งผลักดันให้เปลี่ยนแปลง
South Africa มีเจตจานงทางการเมือง/สร้างภาพอนาคตร่วมกัน
Aceh Indonesia มีเจตจานงทางการเมือง/เจรจากับศัตรู
North Ireland มีเจตจานงทางการเมือง/มีส่วนร่วม/ได้รับแก้ไขปัญหาโครงสร้าง/สร้างบรรยากาศ
Rwanda สร้างความร่วมมือ
Chili ตปท.กดดัน
Columbia ภาคประชาชนเข้มแข็ง/มีเจตจานงทางการเมือง/ปรับปรุงกฎหมาย
Morocco สร้างประชาธิปไตย/การมีส่วนร่วม
Bolivia ปฎิรูปกฎหมาย/ยอมรับความแตกต่าง
Germany สร้างอนาคตร่วม/ลดความเหลื่อมล้า
เกาหลีใต้
1. ระยะเวลา 10 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลทหารกับประชาชน
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การเรียกร้องประชาธิปไตย
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
มีแรงกดดันจากภาคประชาสังคมนาไปสู่การออกกฎหมายพิเศษเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเหตุการณ์การ
เรียกร้องประชาธิปไตย (18 พ.ค. 1995)
4.2 การค้นหาความจริง มีการตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อหาสาเหตุการเสียชีวิต
4.3 การให้อภัย มีการให้อภัยโทษผู้กระทาผิดหลังจากได้รับโทษไปแล้วระยะหนึ่ง
4.4 การชดใช้ความผิด ออกรัฐบัญญัติเพื่อหาทางเอาผิดอดีตผู้นาและยกย่องเหตุการณ์
4.5 การชดเชยและเยียวยา ออกกฎหมายประชาธิปไตย ผ่านการเรียกร้อยโดยองค์กร The Korean Association of Bereaved
Families for Democracy
เกาหลีใต้
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
ศาลรัฐธรรมนูญมีความเป็นอิสระและยึดประโยชน์ประชาชนเป็นที่ตั้ง
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1) ผู้นาทหารให้คามั่นว่าจะไม่เกิดการรัฐประหารขึ้นอีก
2) ประชาชนตระหนักว่าประชาธิปไตยเป็นเรื่องสาคัญและต้องร่วมกันรักษาไว้ และมองว่าการทุจริต
คอร์รัปชั่นเป็นสิ่งที่รับไม่ได้ในสังคม
3) มีความพึงพอใจที่ผู้เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดได้รับการลงโทษ
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
แอฟริกาใต้
1. ระยะเวลา 10 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลคนผิวขาวกับประชาชนคนผิวดา
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง คนผิวดาถูกกีดกันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมโดยคนผิวขาว
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) สร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ Montfleur ที่มีตัวแทนจากทุกฝ่ายเข้าร่วม
2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและความปรองดอง
4.3 การให้อภัย ตั้งคณะกรรมการนิรโทษกรรม
4.4 การชดใช้ความผิด
4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูเยียวยาและส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคม
แอฟริกาใต้
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
ยกเลิกกฎหมายและนโยบายต่างๆ ที่ไม่เป็นธรรมและก่อให้เกิดการกีดกันสีผิว ตลอดจนความแตกต่างใน
การกระจายรายได้และการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
มองเห็นภาพในอนาคตของประเทศตนร่วมกัน
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 6.1 เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง
6.2 การสร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ
อินโดนีเซีย (อาเจะห์)
1. ระยะเวลา 7 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการปลดปล่อยอาเจะห์ (GAM)
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบกับสานึกทางประวัติศาสตร์
ของความเป็นรัฐอิสระในอดีต
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียและ GAM มีองค์กรต่างชาติเป็นคนกลาง นาไปสู่การลง
นามบันทึกความเข้าใจระหว่างกัน
2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงแห่งอาเจะห์ ซึ่งไม่มีอานาจในการสอบสวนเจ้าหน้าที่รัฐ
4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองและผู้ถูกคุมขังที่คดีเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของ GAM
4.4 การชดใช้ความผิด ไม่มีกระบวนการสอบสวนการกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐ
4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งองค์กรส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมแห่งอาเจะห์ เยียวยาทั้งอดีต GAM กลุ่มต่อต้าน GAM และประชาชน
ทั่วไปที่ได้รับผลกระทบ
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) เกิดเขตปกครองพิเศษอาเจะห์โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงและได้ส่วนแบ่ง
รายได้จากทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นร้อยละ 70
2) สามารถตั้งพรรคการเมืองเฉพาะของท้องถิ่นได้
3) มีการตั้งศาลสิทธิมนุษยชน มีอานาจตัดสินคดีละเมิดสิทธิมนุษยชน
ที่เกิดขึ้นหลังข้อตกลงเท่านั้น
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1) เกิดความตระหนักว่าไม่มีประโยชน์ที่จะเอาชนะกันท่ามกลางความสูญเสียที่เกินกว่าสังคมจะรับได้
2) เกิดความเห็นร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง
2) การคุยกับ “ศัตรู” ในฐานะเพื่อนร่วมชาติด้วยกระบวนการหาทางออกร่วมกันที่ชอบธรรมและเป็นที่
ยอมรับของทุกฝ่าย
3) เหตุแห่งความขัดแย้งได้รับการแก้ไขด้วยภาพอนาคตที่สร้างร่วมกัน
4) การเปลี่ยนมหาวิกฤติเป็นโอกาสสู่การปรองดอง
5) ความเข็มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันสันติภาพ
อินโดนีเซีย (อาเจะห์)
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
1. ระยะเวลา 26 ปี (ใช้ระยะเวลามากที่สุดใน 10 ประเทศ)
2. คู่ขัดแย้ง กลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์กับกลุ่มไอริชคาทอลิก
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การที่ชาวไอริชคาทอลิกซึ่งเป็นคนส่วนน้อยถูกเลือกปฏิบัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบกับ
ความสานึกความเป็นชาตินิยมไอริช
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) เกิดการเจรจาระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคือกลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์ กลุ่มไอริชคาทอลิก รัฐบาล
อังกฤษ และรัฐบาลไอร์แลนด์ โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้สนับสนุน นาไปสู่การลงนามข้อตกลง
สันติภาพ
2) ออกพระราชบัญญัติไอร์แลนด์เหนือ เพื่อนาข้อตกลงไปสู่การปฏิบัติ
4.2 การค้นหาความจริง รัฐบาลตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีอาทิตย์เลือด (Bloody Sunday) โดยเปิดเผยว่าทหารอังกฤษเป็น
ผู้กระทาผิด รัฐบาลได้ออกมาขอโทษชาวไอริชคาทอลิกอย่างเป็นทางการ ซึ่งสังคมโดยรวมให้อภัยและไม่มี
การนาตัวผู้เกี่ยวข้องมาลงโทษ
4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกตัดสินจาคุกจากการกระทาที่เป็นการก่อการร้าย โดยมีคณะกรรมการอิสระ
เป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัว
4.4 การชดใช้ความผิด ตั้งทีมสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีต เพื่อหาข้อเท็จจริง
4.5 การชดเชยและเยียวยา มีการชดเชยเยียวยาในรูปของตัวเงินและโครงการพัฒนาอาชีพและสร้าง
รายได้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่รัฐ และ
อดีตสมาชิกกลุ่มกองกาลังของทั้งสองฝ่ายตามลาดับ
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) มีคณะผู้บริหารท้องถิ่นตามหลักการแบ่งอานาจ ประกอบด้วยพรรคการเมืองหลัก 2 ขั้ว
2) มีการปฏิรูปองค์กรตารวจทั้งระบบให้มีความเป็นกลางมากขึ้น
3) มีการแก้ไขนโยบายทางการศึกษา การจ้างงาน และการจัดสรรที่อยู่อาศัยที่เลือกปฏิบัติให้เกิดความ
เป็นธรรม พร้อมตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน และคณะกรรมการเพื่อความเสมอภาค
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1) ยอมรับร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา และตกลงใช้กระบวนการ
ประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือในการตัดสินข้อขัดแย้ง
2) เกิดความตระหนักว่าแม้จะคิดไม่เหมือนกันและยังคงมีเป้าหมายที่ขัดแย้งกันเช่นเดิมแต่ก็สามารถอยู่
ร่วมกันได้ภายใต้กติกาที่ตกลงร่วมกัน
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง
2) มีกระบวนการหาทางออกที่ทุกฝ่ายรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่ง
3) เหตุแห่งความไม่เป็นธรรมได้รับการแก้ไขในเชิงโครงสร้าง
4) มีการสร้างบรรยากาศที่ทาให้ทุกฝ่ายรู้สึกว่ามีทางเลือกอื่นที่เป็นไปได้
ในการบรรลุเป้าหมายนอกจากการใช้ความรุนแรง
สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
รวันดา
1. ระยะเวลา 8 ปี
2. คู่ขัดแย้ง ชาวฮูตูกับชาวตุ๊ดซี่สลับกันขึ้นมาปกครองประเทศโดยกดขี่อีกฝ่ายและสนับสนุนเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ของ
ตน
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง นโยบายจักรวรรดินิยมที่เน้นการแบ่งแยกและปกครอง รวมถึงการปกครองที่ไม่เป็นธรรมจากทั้ง 2 กลุ่ม
ชาติพันธุ์
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
ตั้งคณะกรรมปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด
ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว
รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งศาลกาชาชาโดยกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นศาลดั้งเดิมในชุมชนให้ผู้กระทาผิดเล่าความจริง
ถึงเหตุการณ์ที่ได้กระทาลงไปให้เหยื่อและชุมชนได้รับรู้ถึงเหตุการณ์ พร้อมกับการขอโทษแสดงความ
สานึกผิด และการพิพากษาลดหย่อนโทษโดยศาลดังกล่าว
4.3 การให้อภัย กองกาลังติดอาวุธของทั้งสองฝ่ายจะไม่ถูกดาเนินคดีหากยอมวางอาวุธและเข้าค่ายอบรมของ NURC
4.4 การชดใช้ความผิด มีการลงโทษผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือน โดยได้รับการลดโทษจากการสารภาพ
4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) ไม่มีการจ่ายค่าชดเชยเยียวยาแก่ผู้เสียหายเนื่องจากรัฐบาลขาดงบ
2) มีการเยียวยาผู้เสียหายโดยการให้ผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือนทางานชดเชยแทน
3) สร้างกระบวนการทางวัฒนธรรมเพื่อระลึกถึงความสูญเสียจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และป้องกันไม่ให้
ความรุนแรงหวนคืนมาอีก อาทิ พิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์สถาน การประกาศวันหยุดแห่งชาติ หรือ
การทาพิธีศพร่วมกันอย่างเป็นทางการ เป็นต้น
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
ตั้งคณะกรรมการปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด
ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว
รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
ส่งเสริมทัศนคติของการมีอัตลักษณ์ร่วมในความเป็นชาวรวันดา ไม่แบ่งกลุ่ม
ชาติพันธุ์ดังเช่นในอดีตอีก
รวันดา
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การผลักดันให้เกิดความเป็นเอกภาพและปรองดองโดยแสวงหาความร่วมมือจากเครือข่ายในสังคม
2) กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ที่ให้ผู้กระทาผิดสานึกผิดและรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้กระทาลงไป
3) การกดดันจากต่างประเทศให้ยุติการสู้รบแลกกับการสนับสนุนงบประมาณพัฒนาประเทศ
รวันดา
ชิลี
1. ระยะเวลา 17 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลเผด็จการทหารปิโนโซต์กับกลุ่มคนที่สนับสนุนรัฐบาลก่อนหน้านั้นที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองแบบ
สังคมนิยม
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง ความแตกต่างทางอุดมการณ์ทางการเมืองโดยฝ่ายที่ต่อต้านรัฐบาลทหารได้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่าง
รุนแรงกว้างขวาง
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
เกิดการเลือกตั้งที่นาไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลประชาธิปไตย
4.2 การค้นหาความจริง 1) ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและสร้างความปรองดองแห่งชาติ เพื่อค้นหาความจริงภายใน 9
เดือนสาหรับกรณีผู้สูญหาย เนื่องมาจากการถูกจับกุม ผู้ที่ถูกประหารชีวิต ผู้ที่ถูกทรมานจนเสียชีวิต
และผู้ที่ถูกลักพาตัวในยุครัฐบาลปิโนเซต์
2) ตั้งคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการตรวจสอบการจาคุกและการทรมานอันเนื่องมาจากเหตุผลทาง
การเมือง
ปิโนเชต์ อดีตผู้นำชิลี
ชิลี
4.3 การให้อภัย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้แก่นายพลปิโนเชต์และเจ้าหน้าที่ (ทหารและตารวจ) ที่ทาการละเมิด
สิทธิมนุษยชนเพื่อปราบปรามผู้ต่อต้านรัฐบาล โดยผู้นารัฐบาลเป็นผู้ออกกฎหมายดังกล่าวเองในช่วงที่ยังมี
อานาจ
4.4 การชดใช้ความผิด 1) มีความพยายามจากสังคมชิลีในการดาเนินคดีกับปิโนเชต์ แต่ติดขัดที่ข้อกฎหมายนิรโทษกรรมภายหลัง
รัฐประหาร สุดท้ายถูกควบคุมตัวในต่างประเทศด้วยอานาจของกฎหมายสากลว่าด้วยอาชญากรรมต่อ
มนุษยชาติ
2) มีการดาเนินคดีตามกระบวนการกฎหมายปกติต่อเจ้าหน้าที่รัฐจานวนหนึ่งที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน
4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) มีการจ่ายค่าชดเชยและมีมาตรการเยียวยา เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่ญาติของผู้สูญหายหรือ
เสียชีวิต และผู้ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน
2) ประธานาธิบดีและกองทัพได้ออกมาขอโทษผู้ได้รับผลกระทบผ่านโทรทัศน์ในนามรัฐบาลอย่างเป็น
ทางการ
3) มีการเปิดพิพิธภัณฑ์แห่งความทรงจาเพื่อต่อต้านการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อเป็นอนุสรณ์มิให้เกิด
เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นอีก
ชิลี
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) มีการปฏิรูปการเมืองและกฎหมายให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น อาทิ การตั้งผู้ตรวจการ
แผ่นดินด้านสิทธิมนุษยชน หรือการปรับให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแต่เดิมมาจากการ
แต่งตั้ง
2) ยกเลิกวันชาติซึ่งถือเป็นวันรัฐประหารโดยนายพลปิโนเชต์
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
เกิดความรักและหวงแหนในความเป็นประชาธิปไตย ตลอดจนการพิทักษ์
คุ้มครองสิทธิมนุษยชนมากขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เลวร้ายในอดีตหวน
คืนมาอีก
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปกฎหมายและการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น
ซึ่งส่งผลให้บทบาทของกองทัพถูกจากัดลง
2) การขอโทษโดยผู้นารัฐบาลและกองทัพผ่านสื่อสาธารณะอย่างต่อเนื่อง
โคลัมเบีย
1. ระยะเวลา 22 ปี+
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังติดอาวุธต่างๆ ที่มีเขตอิทธิพลของตัวเอง
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง อุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างขยายตัวไปสู่การแย่งชิงอานาจทางการเมืองและผลประโยชน์ทาง
เศรษฐกิจ
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) ออกกฎหมาย Justice and Peace เพื่อปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการใช้ความยุติธรรม
ทางเลือกมากขึ้น โดยการเปิดศูนย์ฟื้นฟูให้ผู้ก่อเหตุรุนแรงมาสารภาพและมีผู้ได้รับผลกระทบมารับ
ฟัง
2) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังต่างๆ ขึ้นและนาไปสู่ความสาเร็จ
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูและปรองดองแห่งชาติ เพื่อรับฟังผู้ได้รับกระทบจากเหตุการณ์ และจะนาข้อมูล
ดังกล่าวไปจัดทาอนุสรณ์สถาน
4.3 การให้อภัย หากผู้กระทาผิดในคดีที่รุนแรงได้ผ่านศูนย์ฟื้นฟูอย่างน้อย 5 – 8 ปีโดยการสารภาพความผิดและจะไม่
กลับไปกระทาความผิดอีก จะได้รับการลดโทษโดยการพิจารณาของส
โคลัมเบีย
4.4 การชดใช้ความผิด หากผู้กระทาผิดในคดีที่รุนแรงได้ผ่านศูนย์ฟื้นฟูอย่างน้อย 5-8 ปี โดยการสารภาพความผิดและจะไม่
กลับไปกระทาความผิดอีก จะได้รับการลดโทษโดยการพิจารณาของสานักงานอัยการสูงสุด
4.5 การชดเชยและเยียวยา มีกฎหมายรองรับการชดเชยและเยียวยาผู้เสียหายที่ได้รับกระทบจากคดีที่เกิดจากการต่อสู้ระหว่าง
กลุ่มกองกาลังกับรัฐบาล และระหว่างกลุ่มกองกาลังด้วยกันเอง
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) เริ่มแรกมีข้อตกลงสันติภาพระหว่างรัฐบาลและกลุ่มกองกาลัง
2) มีการออกพระราชบัญญัติเกี่ยวกับ “Alternative Criminal Sentence” ขึ้นปี ค.ศ. 2003 และพรบ.
ฉบับนี้ก็เป็นก้าวแรกในการกาเนิดกฎหมาย Justice and Peace Law ปีค.ศ. 2005
3) มีการปฏิรูปกฎหมายโดยใช้หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านเป็นแนวทางการปฏิรูปกฎหมาย
เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม
โคลัมเบีย
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
1. มุมมองของรัฐเปลี่ยนจากที่ต้องควบคุมกองกาลังติดอาวุธต่างๆ กลายมาเป็นการหาวิธีการเพื่อให้
กลุ่มต่างๆ เข้ามาสู่กระบวนการเจรจากับรัฐบาลโดยสันติวิธี
2. ภาคประชาชนมีการเคลื่อนไหวเพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เสียหาย ผู้ถูกกระทา
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดองกับกลุ่มกองกาลังโดยปรับจากวิธีปราบปรามมาสู่การ
พูดคุย
2) ความจริงจังในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติ
วิธี
3) ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันสันติภาพมากขึ้นจากการสนับสนุนของต่างชาติ
และรัฐบาล
โมร็อกโก
1. ระยะเวลา 16 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลภายใต้การนาของพระมหากษัตริย์กับประชาชนทั่วไป
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง ฝ่ายเรียกร้องประชาธิปไตยถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องโดยรัฐบาล
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) เชิญผู้นาพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามกลับมาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
2) เกิดกระบวนการประชาธิปไตยแบบสานเสวนา โดยให้มีการพูดคุยถึงประสบการณ์กับความ
รุนแรงที่เกิดขึ้นแต่จะไม่มีการกล่าวโทษหรือระบุชื่อบุคคล องค์กรหรือพรรคการเมืองที่เกี่ยวข้อง
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเพื่อแสวงหาความจริงจากกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งรัฐบาลได้
ออกมายอมรับว่าเจ้าหน้าที่รัฐส่วนหนึ่งกระทาผิดจริง
4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกคุมขังโดยมิชอบ
4.4 การชดใช้ความผิด ไม่มีการลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐที่กระทาผิด
4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งคณะกรรมการความเที่ยงธรรมและความปรองดอง เพื่อทาหน้าที่ต่อจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนใน
การค้นหาความจริง รับฟังความรู้สึกของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ และพิจารณาค่าชดเชย
โมร็อกโก
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จากัดอานาจและบทบาททางการเมืองของพระมหากษัตริย์
2) ยอมรับให้ผู้ชนะการเลือกตั้งดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี
3) มีการลดโทษกฎหมายสาหรับความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
สังคมรับรู้เรื่องราวการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากเหตุการณ์ทางการเมืองอย่าง
เปิดเผยและกลายเป็นความทรงจาร่วมกันของสังคม
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น
2) การเปิดเวทีสาธารณะให้ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ได้แสดงออกถึงประสบการณ์และความรู้สึก
ของตนผ่านสื่อมวลชน ซึ่งทาให้สังคมรู้สึกว่าเรื่องเหล่านี้สามารถพูดถึงได้ในที่สาธารณะในลักษณะ
ของการบาบัดร่วม
โบลิเวีย
1. ระยะเวลา 3 ปี (ใช้ระยะเวลาน้อยที่สุดใน 10 ประเทศ)
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลที่นาโดยคนเชื้อสายสเปน (คนส่วนน้อย) กับประชาชนพื้นเมือง (คนส่วนใหญ่)
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการกระจายทรัพยากรธรรมชาติ และอานาจทางการเมือง โดยผู้มีอานาจ
ปกครองคือคนเชื้อสายสเปน (คนส่วนน้อย) ในขณะที่คนพื้นเมือง (คนส่วนใหญ่) ไม่ได้รับประโยชน์
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) จัดการลงประชามติในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เป็นฉบับที่ถือว่ามาจากการมีส่วนร่วมของประชาชน
2) รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้ความสาคัญกับการกระจายรายได้ทรัพยากรของประเทศ และคานึงถึงความ
หลากหลายทางวัฒนธรรม
4.2 การค้นหาความจริง -
4.3 การให้อภัย -
4.4 การชดใช้ความผิด -
4.5 การชดชนและเยียวยา -
โบลิเวีย
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
1) แก้ไขรัฐธรรมนูญให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมมากขึ้น โดยการกระจายรายได้ทรัพยากรธรรมชาติ
การปฏิรูปที่ดิน ยกเลิกการกาหนดศาสนาประจาชาติ และการตั้งเขตปกครองพิเศษในหลายระดับ
2) แปรรูปบริษัทจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นของรัฐ
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
ยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของสังคม
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปกฎหมายและโครงสร้างทางการเมืองให้มีความเป็นธรรมและตอบสนองต่อความต้องการ
ของคนส่วนใหญ่มากขึ้น
2) ยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของคนในสังคม
เยอรมัน
1. ระยะเวลา 8 ปี
2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลเยอรมันตะวันออกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์กับประชาชนส่วนหนึ่งที่ต้องการให้มีการ
เปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย
3. เหตุแห่งความขัดแย้ง อุดมการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจที่แตกต่างระหว่างประชาธิปไตยเสรีนิยมกับสังคมนิยม
คอมมิวนิสต์ อันมาซึ่งความรู้สึกเหลื่อมล้าเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเยอรมันตะวันตก
4. กระบวนการสร้างความปรองดอง
4.1 การจัดการกับเงื่อนไข
ความขัดแย้ง
1) เกิดการเจรจา 2+4 ฝ่าย คือระหว่างเยอรมันตะวันตก เยอรมันตะวันออก สหรัฐอเมริกา สหภาพโซ
เวียต อังกฤษ และฝรั่งเศส เพื่อวางแนวทางรวมชาติเยอรมัน
2) จัดการเลือกตั้งผู้นาประเทศภายหลังการรวมชาติ
4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงในกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ฝ่าฝืนการข้ามกาแพงเบอร์ลินไป
ฝั่งตะวันตก ซึ่งหลังจากเปิดเผยความจริงสู่สังคมก็มีการฟ้องร้องผู้กระทาผิดตามกระบวนการยุติธรรมโดย
ผู้เสียหาย แต่ทั้งนี้จุดประสงค์หลักเพื่อที่เป็นบทเรียนในการพัฒนาประเทศในอนาคต
เยอรมัน
4.3 การให้อภัย ไม่มีการนิรโทษกรรมผู้กระทาความผิด
4.4 การชดใช้ความผิด เจ้าหน้าที่รัฐที่กระทาความผิดถูกฟ้องร้องดาเนินคดีตามกระบวนการยุติธรรมปกติโดยผู้เสียหาย
4.5 การชดเชยและเยียวยา ให้เงินชดเชยผู้ต้องขังที่ถูกตัดสินอย่างไม่เป็นธรรมตามกระบวนการยุติธรรมปกติ
5. ผลจากกระบวนการปรองดอง
5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
โครงสร้าง/นโยบาย
ฟื้นฟูพัฒนาประเทศทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาศึกษา
ในส่วนของฝั่งตะวันออกเพื่อให้เกิดความทัดเทียมกับฝั่งตะวันตก
5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง
ทัศนคติของสังคม
มีความพยายามในการสร้างสมดุลระหว่างแนวคิดความเท่าเทียมกันทางสังคม ที่ยึดถือในฝั่งตะวันออกกับ
แนวคิดเสรีนิยมที่ยึดถือในฝั่งตะวันตก
6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) สังคมมีจุดร่วมคือภาพอนาคตของความเป็นประเทศประชาธิปไตย โดยมีภาพของเยอรมันตะวันตก
เป็นตัวแบบ
2) การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมล้าในสังคมโดยพยายามสร้างความเจริญให้อยู่ในระดับที่
ใกล้เคียงกันทั่วประเทศ
คณะที่ปรึกษา คสช.
กรอบการดาเนินงาน “คณะทางานเตรียมการปฏิรูป คสช.”
• รวบรวมข้อมูล และจัดทาหัวข้อ
การรับฟังความคิดเห็นฯ
• การรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน
• รวบรวมผลการรับฟังความ
คิดเห็น จากทุกช่องทาง
• สรุปผลความคิดเห็นฯ รายงาน คสช.
1. รวบรวมข้อมูล ความคิดเห็นการ
ปฏิรูป จากผลงานที่มีอยู่เดิม
ข้อเสนอของกลุ่มต่างๆ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ข้อเสนอของประชาชน ที่มีการ
นาเสนอผ่านสื่อต่างๆ
2. สังเคราะห์เนื้อหาทั้งหมด เพื่อจัดทา
“ หัวข้อการรับฟังความคิดเห็น จาก
ประชาชน”
1. จัดเวทีสานเสวนาในส่วนกลาง(สป.)
เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากทุก กลุ่มทุก
ฝ่าย ทั้งกลุ่มที่มีความขัดแย้งและกลุ่ม
อื่นๆ
2. ส่งหัวข้อรับฟังฯ ให้ศูนย์ปรองดองฯ
(กอ.รมน.)เพื่อจัดกิจกรรมรับฟังความ
คิดเห็นจากประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่ายทั่ว
ประเทศ
3. รับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน
Website และตู้ ปณ. คณะทางานฯ
ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4
1.รวบรวมผลการแสดงความคิดเห็นของ
ประชาชนจาก
เวทีเสวนาส่วนกลาง
ศูนย์ปรองดองฯทั่วประเทศ
Website และตู้ ปณ.คณะทางานฯ
2. จัดกลุ่ม แยกแยะประเด็นความคิดเห็น
ของประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่ายให้ครบถ้วน
 จัดทาสรุปผลความคิดเห็นฯ
รายงานให้ คสช. ทราบเพื่อพิจารณาใช้
ประโยชน์ต่อไป
การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ และการปฏิรูป
เหตุความขัดแย้ง แตกแยก การปฏิรูป ความปรองดองสมานฉันท์
1. ความคิดความเชื่อทางการเมือง
ที่แตกต่างกัน
2. ไม่เชื่อถือศรัทธากระบวนการ
ยุติธรรม (2 มาตรฐาน)
3. การปลุกปั่น ยุยง สร้างความ
เกลียดชังต่อกัน
4. ตอกย้า/ขยายความขัดแย้ง
เกลียดชัง จนมีแนวโน้ม พร้อมที่
ใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มเห็นต่าง
การเมือง/การปกครอง
กระบวนการยุติธรรม
และการบังคับใช้กฎหมาย
กฎหมายต่างๆ เช่น
ควบคุมการยุยงปลุกปั่น
ให้แตกแยกและการ
ชุมนุมที่ผิดกฎหมาย ฯลฯ
การทุจริต ประพฤติ
มิชอบ
เศรษฐกิจ, การศึกษา,
สังคมและอื่นๆ
สร้าง ปชต.ที่สมบูรณ์ ที่ทุก
ฝ่ายมีส่วนร่วม และยอมรับ
ร่วมกัน
เชื่อมั่นในการบังคับใช้กฎหมายที่เท่าเทียม
กัน
รณรงค์สร้างความรักความ
สามัคคี เห็นแก่ผลประโยชน์ชาติ
ประเทศชาติ มีความสงบเรียบร้อย
มีความเจริญก้าวหน้าและประชาชน
มีความผาสุกอย่างยั่งยืน
แนวทางตามรายการ “ คืนความสุขให้คนในชาติ ”
• รัฐธรรมนูญชั่วคราว 50 มาตรา ให้อานาจรัฐบาลเป็นผู้บริหาร ส่วนคสช. เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบและให้คาแนะนาต่างๆ บาง
มาตราอาจกระทบสิทธิบ้างแต่ก็เป็นไปเพื่ออานวยความสะดวกให้รัฐบาลที่จะตั้งขึ้นภายในเดือนกันยายนนี้
• เรื่องปรองดองจะต้องหาทางออกของความขัดแย้งให้ได้เสียก่อน โดยทุกฝ่ายต้องลดความบาดหมาง ความไม่ไว้วางใจ
ยอมรับในความเห็นต่าง ทาให้เกิดการรับรู้ร่วมกัน คบค้าสมาคมกัน มีความสุขร่วมกัน
• เอาอดีตมาเป็นบทเรียน เราขัดแย้งกันอีกไม่ได้ ในเรื่องของการเป็นประชาธิปไตย ดูตัวอย่างประเทศใหญ่ๆ ถ้าเราสร้าง
กลไกของประชาธิปไตยให้ดีแล้ว อย่างที่เราจะทาในขั้นการปฏิรูป ถ้าทุกคนร่วมมือกันตรงนี้ก็จะไม่เกิดความขัดแย้งใน
อนาคต
• การปฏิรูป อยากให้ทุกส่วนเตรียมจัดผู้แทนเพื่อไปสมัครเป็นสมาชิกสภาปฏิรูปในระยะที่ 2 ซึ่งจากเดิมที่คัดสรรไว้แล้ว 11
กลุ่ม กลุ่มละ 50 คน จะเพิ่มเติมในส่วนของจังหวัดต่างๆจังหวัดละ 5 คน แล้วคัดให้เหลือจังหวัดละ 1 คน รวมเบ็ดเสร็จได้
630 คน จากนั้นก็จะคัดสรรให้เหลือไม่เกิน 250 คน แล้วจึงแบ่งกระจายลงกลุ่มต่างๆ 11 กลุ่ม
• ปรับปรุงพัฒนาเพิ่มศักยภาพอย่างต่อเนื่องในด้านความมั่นคง การแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว ด้านเศรษฐกิจ บีโอไอ การ
ท่องเที่ยว เอสเอ็มอี ค่าครองชีพ รวมถึงในส่วนของกระทรวงคมนาคม และ ขสมก.
ยุทธศาสตร์หลัก 9 ข้อ คสช. ใช้เป็นแนวทางพัฒนาประเทศ
โดยน้อมนายุทธศาสตร์การพัฒนา และปรัชญาเศรษฐกิจพอพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
1. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน
3. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน
4. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน
5. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม
6. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน
7. ยุทธศาสตรในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง โครงสร้างการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจให้เกิดประโยชน์กับประชาชน
ในการใช้บริการอย่างแท้จริง
8. ยุทธศาสตร์ในการปรับปรุงระบบโทรคมนาคม เทคโนโลยีของชาติ ให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืนในอนาคตให้
ทัดเทียมกับอาเซียน และประชาคมโลก
9. ยุทธศาสตร์ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันอย่างยั่งยืน สิ่งที่คนไทยและประเทศไทยยังเป็น
ปัญหานะครับ และต้องมีการพัฒนาอย่างเร่งด่วน อันนี้ก็ต้องด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัว
ประชาชนเองในทุกระดับชั้นทุกเพศ ทุกวัยนะครับ
สร้างสรรค์ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
1. คือมีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นสถาบันหลักของชาติในปัจจุบัน
2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนร่วม
3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน
สร้างสรรค์ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง
8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่
9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการ
เมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี
11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัวต่อบาป
ตามหลักของศาสนา
12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
เรื่องที่ควรปฏิรูปตามแนวทางของ คสช.
1. แนวทางการปฏิรูปทางการเมือง.
2. แนวทางการสร้างมาตราฐานทางจริยธรรมของผู้บริหารประเทศอันได้แก่นักการเมือง ข้าราชการ และหน่วยงาน
ภาคเอกชนต่างๆ
3. แนวทางการปฏิรูปขบวนการยุติธรรม
4. แนวทางการปฏิรูป การบริหารราชการแผ่นดินเช่นการกระจายอานาจหรือความซ้าซ้อนในการทางานของหน่วยงาน
ภาครัฐเป็นต้น
5. แนวทางปฏิรูปการทุจริต คอรัปชั่น
6. แนวทางการปฏิรูปการศึกษา
7. แนวทางการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
8. แนวทางการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสาร
9. แนวทางการปฏิรูปการเหลื่อมล้าทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
10. แนวทางการปฏิรูปด้านอื่นๆ
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

Contenu connexe

Tendances

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกพัน พัน
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทAekapoj Poosathan
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 

Tendances (20)

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ปก
ปกปก
ปก
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 

Similaire à การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน

การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทยการปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทยTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
เจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
เจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
เจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติประพันธ์ เวารัมย์
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนTaraya Srivilas
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาOppo Optioniez
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-NewTaraya Srivilas
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy publicKan Yuenyong
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1Prapaporn Boonplord
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพTaraya Srivilas
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )Pornthip Tanamai
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารหลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารJirarat Tesarin
 

Similaire à การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน (20)

การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทยการปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
เจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
เจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติเจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
เจตนารมณ์/นโยบาย หัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
 
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนาแนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
แนวข้อสอบ วิชา พระพุทธศาสนา
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-New
 
H&f august 10
H&f august 10H&f august 10
H&f august 10
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
Deliberative democracy public
Deliberative democracy publicDeliberative democracy public
Deliberative democracy public
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
 
กระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพกระบวนการสันติภาพ
กระบวนการสันติภาพ
 
Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
งานนำเสนอกลุ่ม ( 97 2003 )
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสารหลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
หลักการและทฤษฏีการสื่อสาร
 

Plus de Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

Plus de Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
  • 4. การสร้างความปรองดอง • เป็นกระบวนการต่างๆ ที่ป้องกันไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ้นมาใหม่อีกครั้งเพราะจะรุนแรงมากขึ้น • การสร้างสันติภาพด้วยการหยุดยั้งวงจรแห่งความรุนแรง และสร้างประชาธิปไตยให้กลับคืนมาอีกครั้ง • เป็นกระบวนการที่นาไปสู่การลดความเกลียดชัง แตกแยก และสร้างความไว้วางใจให้ฟื้นคืน ความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งรุนแรง • เป็นการแสดงความรับผิดชอบต่อการกระทาในอดีต การยอมรับความจริงที่เกิดขึ้น การเมตตาให้อภัย ตลอดจนการมองภาพอนาคตของสังคมร่วมกัน
  • 5. ๑. การสานเสวนาเป็นเงื่อนไขสาคัญสาหรับการนาไปสู่การสร้างความปรองดอง ๒. เน้นหรือจัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน ๓. ความปรองดองเกิดขึ้นได้เมื่อความต้องการของมนุษย์ได้รับการตอบสนอง ๔. ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญมากในการแก้ไขความขัดแย้ง ๕. การสร้างความปรองดองจาเป็นมากที่จะต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย ๖. การสร้างความปรองดองเน้นที่หัวใจ ๗. คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง ๘. การให้อภัยมีความแตกต่างกันออกไปในแต่ละสังคม ๙. ความยุติธรรมแบบใดที่เหมาะสมสาหรับการสร้างความปรองดอง หลักการสร้างความปรองดอง
  • 6. กระบวนการสร้างพื้นที่ให้เกิดการพูดคุย ๑) การสานเสวนาเกิดขึ้นได้เมื่อคู่กรณีร่วมกันหาข้อตกลงไปสู่การเปลี่ยนแปลง มุมมอง ความรู้สึกโกธร ความเกลียดที่มี ต่อกัน ๒) จัดการกับอารมณ์และความรู้สึกของคน เปิดเผยอารมณ์ความรู้สึกของตนเอง เยียวยาอดีตและความเจ็บปวดใน ปัจจุบัน และการเยียวยาความรู้สึกทางจิตใจของคน การยอมรับความจริงแทนหนทางการต่อสู้กัน ให้คนที่เกลียดชังกัน มาพูดคุยกันได้ ต้องมีพื้นที่ปลอดภัยเพื่อสร้างอนาคตร่วมกัน ยอมรับผู้แทนของแต่ละฝ่าย ยอมรับตัวตนซึ่งกันและ กัน และยอมรับอดีตที่เกิดขึ้น มีคณะกรรมการแสวงหาข้อเท็จจริงและสร้างความปรองดองเพื่อเยียวยาเหยื่อและสังคม เป้าหมายไม่ใช่เพื่อลงโทษผู้กระทา แต่เพื่อทาให้คนในสังคมอยู่ร่วมกันได้ ๓) ความปรองดองเกิดขึ้นไม่ได้ หากเขารู้สึกไม่ปลอดภัยมั่นคงในการอยู่ร่วมกับศัตรู การให้อภัยเป็นสิ่งจาเป็นแต่จะ เกิดขึ้นไม่ได้เลย ถ้าความต้องการของมนุษย์ถูกละเลย หรือในกรณี ถ้าไม่เกิดการยอมรับในอัตลักษณ์ของชนกลุ่ม
  • 7. ๔) ศาสนาเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการแก้ไขความขัดแย้ง การเยียวยาความรู้สึก การสร้างความสัมพันธ์ที่ แตกร้าวให้กลับขึ้นมาใหม่ ต้องการมากกว่าการเจรจาไกล่เกลี่ย ที่ได้แต่ความความต้องการที่แท้จริง เท่านั้น ต้องใช้สัญลักษณ์และพิธีกรรม ตามความเชื่อทางศาสนา และพิธีกรรมในการสร้างความ ปรองดอง ๕) การสร้างความปรองดองต้องใช้แนวทางที่หลากหลาย ทั้งด้านจิตใจ กฎหมาย สังคม วัฒนธรรม จิตวิทยาและการเมือง การเจรจาเพียงอย่างเดียวไม่สามารถนาไปสู่การสร้างสันติภาพได้ ต้องสร้าง กิจกรรมร่วมกันในภาคประชาสังคมด้วย จะประสบความสาเร็จได้ต้องได้รับความร่วมมือทั้งภาครัฐและ ภาคประชาชน จนถึงผู้นาที่ได้รับการยอมรับจากคู่กรณี ๖) การปรองดองเน้นที่หัวใจ และความคิด โดยกาหนดเป้าหมายของการพูดคุย และดาเนินไปในทิศทางที่ ควรจะเป็น ส่วนการเน้นที่หัวใจคือเป็นการพูดคุยกันถึงอารมณ์ ความรู้สึกที่อยู่ลึกในจิตใจ
  • 8. ๗) คานึงถึงวัฒนธรรมที่หลากหลายในกระบวนการสร้างความปรองดอง ไม่เน้นที่การรับหรือนาวิธีการและกฎหมายของ ประเทศตะวันตกมาใช้แต่ต้องปรับใช้ให้เหมาะกับบริบทของสังคม ๘) การให้อภัยมีความแตกต่างกันออก ในแต่ละสังคมและวัฒนธรรม ไม่ควรยึดติดแต่เพียงรูปแบบเดียว แต่ละ วัฒนธรรมมีมุมมองต่อการให้อภัยและการสร้างความปรองดองที่แตกต่างกันออกไป ๙) จะเลือกความยุติธรรมแบบไหนที่เหมาะสม เพื่อให้ความสัมพันธ์กลับคืนมาระหว่างคู่กรณี หรือความยุติธรรมแบบมุ่ง แก้แค้น ที่เน้นลงโทษผู้กระทาผิด เนื่องจากเหยื่อมีความต้องการให้ลงโทษผู้กระทาผิด เป็นสิ่งที่ท้าทายทั้งนักปฏิบัติ และนักวิชาการในการเลือกใช้ความยุติธรรมแบบไหน หลังเหตุการณ์ความรุนแรง แม้คาตอบของความยุติธรรมไม่ได้ อยู่ที่การยอมคืนดีเสมอไป แนวทางหนึ่งที่นักสันติวิธีมักใช้อย่างกว้างขวางเพื่อจัดการกับปัญหาความขัดแย้งที่รุนแรง ในสังคมในอีกรูปแบบหนึ่งคือ ความยุติธรรมระยะเปลี่ยนผ่าน
  • 9. กระบวนการและเครื่องมือในการสร้างความปรองดอง •เครื่องมือในการเปิดพื้นที่ในการพูดคุย สร้างความปรองดองอาจจะอาศัยวิธีการอย่างใด อย่างหนึ่งหรือผสมผสานกันหลายวิธีการก็ได้ขึ้นอยู่กับสภาพปัญหาและบริบททาง วัฒนธรรมของแต่ละสังคม โดยมีเป้าหมายที่สาคัญก็คือการสร้างสังคมที่คนเห็นต่างแต่ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ •ผู้อานวยความสะดวกในการชวนคุย (Facilitators) •เอาใจเขามาใส่ใจเรา และการมีวัฒนธรรมประชาธิปไตย มีการเยียวยาทางจิตใจ
  • 10. • ปรองดองในสังคม ตั้งอยู่บนฐานคิดของความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านและการอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง เพื่อ ยุติความรุนแรง ลดความเกลียดชังแตกแยก • สร้างความไว้วางใจและฟื้นคืนความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคนที่เคยขัดแย้งกันรุนแรง และนาไปสู่สังคมปรองดองที่ผู้คน ซึ่งมีความแตกต่างไม่ว่าจะเป็นทางความคิดความเชื่อ ชาติพันธุ์ วัฒนธรรม หรือสถานะทางสังคมเศรษฐกิจ สามารถอยู่ ร่วมกันได้อย่างสันติ • เมื่อสังคมเกิดการใช้ความรุนแรงและนามาสู่ความสูญเสีย มีการจัดการกับความรุนแรงที่เกิดขึ้นนั้นอย่างไร จะใช้ วิธีการใดบ้างในการก้าวข้ามพ้นความรุนแรงที่เกิดขึ้น การนากระบวนการยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน จึงถูกนามาใช้ ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ เป็นแนวทางหนึ่งที่นามาใช้เพื่อเปลี่ยนผ่านไปสู่สังคมที่พึงปรารถนาสามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างสันติ บนพื้นฐานว่าจะจดจาหรือลืมเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น และมาตรการในการลงโทษผู้กระทาผิด หรือเน้นการ เยียวยาผู้เสียหาย ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน (Transitional Justice)
  • 11. ๑. การฟ้องร้องดาเนินคดีกับผู้กระทาผิด ๒. การนิรโทษกรรม ๓. คณะกรรมการค้นหาความจริง ๔. โครงการช่วยเหลือเยียวยา ๕. การระลึกถึงผู้ได้รับผลกระทบ ๖. การปฏิรูปสถาบัน ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน(Transitional Justice)
  • 12. 3. ขั้นตอนและกระบวนการต่างๆ ของการปรองดอง แนวคิดและกระบวนการสร้างความปรองดอง (ต่อ) •หยุดใช้ความรุนแรงเพื่อหยุดยั้งความหวาดกลัว ความเกลียดชัง ความเคียดแค้น และความทรงจาที่เจ็บปวด จะต้องหยุดใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบขั้นตอนที่1 •การสร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจ หลังหยุดการใช้ความรุนแรงแล้ว จะต้อง สร้างความเชื่อมั่นและความไว้วางใจในสังคมให้กลับคืนมา คู่ขัดแย้ง เหยื่อ และผู้ได้รับผลกระทบจะต้องสร้าง ความไว้วางใจ โดยอยู่บนพื้นฐานของความเป็นมนุษย์และสิทธิมนุษยชน ขั้นตอนที่ 2 •เอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจสาเหตุของความขัดแย้งจากมุมมองของฝ่ายตรงข้าม รับฟังเหตุผล ผู้กระทาผิด รับรู้ความรู้สึกเจ็บปวดของเหยื่อเพื่อหยุดยั้งความเกลียดชังและการแก้แค้นต่อกัน ขั้นตอนที่ 3
  • 14. • การจัดตั้ง คณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อทาหน้าที่ค้นหาความจริง ข้อดีสามารถเปิดเผยข้อมูลอย่างเป็นทางการ ของเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งก่อนมีคณะกรรมการดังกล่าว อาจมีการให้ข้อมูลที่กล่าวถึงความเสียหายที่มากเกิน ความเป็นจริง หรือน้อยเกินความเป็นจริงก็ได้ • การเปิดเผยความจริงจะทาให้สังคมหันมาสนใจผู้เสียหายซึ่งถูกสังคมเพิกเฉยมาเป็นเวลานาน อันนาไปสู่การสร้าง มาตรการเยียวยาผู้เสียหายได้ ที่สาคัญสามารถนาเสนอมาตรการในการเยียวยาผู้เสียหาย ตลอดจนการปฏิรูปกฎหมาย และสถาบันได้อีกด้วย • การตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริงไม่ใช่ว่าจะเหมาะสมกับทุกบริบทของความขัดแย้ง เพราะบางครั้งอาจทาให้ความ ขัดแย้งที่มีอยู่เพิ่มมากขึ้น และในบางประเทศไม่มีสถาบันที่น่าเชื่อถือที่มีความชอบธรรม พอที่จะให้ค้นหาความจริง และไม่มีอะไรรับประกันว่าคณะกรรมการฯ จะเป็นกลาง ในบางครั้งการเปิดเผยความจริงก็อาจจะยิ่งสร้างความเจ็บปวด ให้แก่ผู้เสียหายมากขึ้นก็ได้ การเล่าความจริง (Truth-telling)
  • 15. • เป็นสิ่งที่สาคัญในการสร้างความปรองดองอย่างแท้จริง โดยหลักการรัฐมีหน้าที่รับรองและคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ ของประชาชน ถ้าหากรัฐ (หรือเจ้าหน้าที่รัฐ) ทาการละเมิดสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชน รัฐก็ต้องชดเชยให้ผู้เสียหาย อาจเป็นได้ทั้งการทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิมได้แก่ การคืนทรัพย์สิน การคืนสิทธิตามกฎหมายแพ่งของบุคคล และการ ใช้ค่าสินไหมทดแทน ซึ่งคือการจ่ายเงินให้แก่ผู้เสียหาย เพื่อทดแทนสิ่งที่ผู้เสียหายสูญเสียไป • การเยียวยาอาจได้แก่ การฟื้นฟู หมายถึงการทาให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตกลับคืนสู่สภาพใกล้เคียงกับสภาพ เดิมมากที่สุด ซึ่งอาจทาได้โดยให้การรักษาทางการแพทย์ และการชดเชย การจะสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้เสียหาย จาทาโดยการเปิดเผยความจริง การขอโทษ การลงโทษผู้กระทาความผิด เป็นต้น • กระบวนการสร้างความปรองดองมีความเปราะบางและต้องอาศัยเวลาและความอดทนจากทุกฝ่าย เป็นกระบวนการที่มี ความเกี่ยวข้องทั้งในส่วนของการยุติความรุนแรง/การหาข้อตกลง เพราะความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งเป้าหมายและ ทางออกที่ยั่งยืน และในส่วนของการสร้างความปรองดอง การชดเชย (Reparation)
  • 16. กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ (Restorative Justice) • เป็นกระบวนยุติธรรมที่ไม่ได้มุ่งเน้นเพียงการเยียวยาผู้เสียหายและการลงโทษผู้กระทาความผิดแต่เพียงอย่างเดียว • เป็นกระบวนการยุติธรรมที่เปิดโอกาสให้ผู้เสียหาย และผู้กระทาความผิดมีส่วนร่วมในการพูดคุยกันเพื่อวิเคราะห์ว่า อะไรคือข้อเท็จจริง อะไรคือสาเหตุแห่งการกระทาความผิด เป็นกระบวนการที่ทาให้ผู้กระทาความผิดกับผู้เสียหายมี ความเข้าใจซึ่งกันและกัน • ให้ผู้กระทาผิดเกิดความรู้สึก “รับผิดชอบ” กับสิ่งที่ตนเองทา และตกลงกันว่าจะเยียวยาผู้เสียหายอย่างไร ตลอดจน ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของผู้กระทาความผิดแล้วทาให้ผู้กระทาความผิดกลับคืนสู่สังคมได้ • ข้อดีของการใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ได้แก่ กระบวนยุติธรรมดังกล่าวสร้างการเรียนรู้ให้แก่คนในสังคม โดยต่างฝ่ายต่างเข้าใจกัน และเป็นกระบวนยุติธรรมที่มีลักษณะเป็นการเจรจาซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้เสียหายและผู้กระทา ความผิดเข้ามามีส่วนร่วม • การใช้กระบวนยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ ก็มีข้อเสีย อาจเกิดความไม่เป็นธรรมหรืออานาจที่ไม่เท่าเทียมกันใน กระบวนการพูดคุยระหว่างคู่กรณีได้ไม่ว่าจะเป็นตัวแปรด้านเพศ อายุ หรือสถานะทางสังคม
  • 17. กรณีศึกษา “ การสร้างความปรองดอง จาก 10 ประเทศ “ จากรายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ จัดทาโดย สถาบันพระปกเกล้า มีนาคม พ.ศ. 2555
  • 18. เวลาเจรจา สาเหตุขัดแย้ง การจัดการ คณก.หาความจริง South Korea 10 เรียกร้อง ปชต. ปขข.กดดัน ตั้งคณะกรรมการ South Africa 10 ไม่เป็นธรรม สร้างภาพอนาคตร่วมกัน ตั้งคณะกรรมการ Aceh Indonesia 7 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ North Ireland 26 ไม่เป็นธรรม เจรจา/ตปท. ตั้งคณะกรรมการ Rwanda 8 ไม่เป็นธรรม/กดขี่ คณก.ปรองดอง ตั้งศาล กาชาชา Chili 17 อุดมการณ์แตกต่าง เลือกตั้ง ตั้งคณะกรรมการ Columbia 22 อุดมการณ์แตกต่าง ปรับปรุงกฎหมาย คณก ฟื้นฟู Morocco 16 เรียกร้อง ปชต. ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง ตั้งคณะกรรมการ Bolivia 3 ไม่เป็นธรรม ลงประชามติ Germany 8 อุดมการณ์แตกต่าง การเจรจา ตั้งคณะกรรมการ
  • 19. เวลาเจรจา ชดเชยเยียวยา การจัดการ ทัศนคติเปลี่ยนแปลง South Korea 10 เยียวยา ปขข.กดดัน ทหารให้คามั่นจะไม่เกิดอีก South Africa 10 เยียวยา สร้างภาพอนาคตร่วมกัน มองอนาคตร่วมกัน Aceh Indonesia 7 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา North Ireland 26 เยียวยา เจรจา/ตปท. ความรุนแรงไม่แก้ปัญหา Rwanda 8 เยียวยา คณก.ปรองดอง อยู่ร่วมกัน Chili 17 เยียวยา เลือกตั้ง หวงแหน ปชต. Columbia 22 เยียวยา ปรับปรุงกฎหมาย การเจรจา Morocco 16 เยียวยา ให้ฝ่ายตรงข้ามมารับตาแหน่ง รับรู้มีการละเมิดสิทธิมนุษชน Bolivia 3 ลงประชามติ ยอมรับความแตกต่าง Germany 8 เยียวยา การเจรจา ยึดถือความเท่าเทียม
  • 20. ปัจจัยแห่งความสาเร็จ South Korea ภาคประชาชนเข้มแข็งผลักดันให้เปลี่ยนแปลง South Africa มีเจตจานงทางการเมือง/สร้างภาพอนาคตร่วมกัน Aceh Indonesia มีเจตจานงทางการเมือง/เจรจากับศัตรู North Ireland มีเจตจานงทางการเมือง/มีส่วนร่วม/ได้รับแก้ไขปัญหาโครงสร้าง/สร้างบรรยากาศ Rwanda สร้างความร่วมมือ Chili ตปท.กดดัน Columbia ภาคประชาชนเข้มแข็ง/มีเจตจานงทางการเมือง/ปรับปรุงกฎหมาย Morocco สร้างประชาธิปไตย/การมีส่วนร่วม Bolivia ปฎิรูปกฎหมาย/ยอมรับความแตกต่าง Germany สร้างอนาคตร่วม/ลดความเหลื่อมล้า
  • 21. เกาหลีใต้ 1. ระยะเวลา 10 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลทหารกับประชาชน 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การเรียกร้องประชาธิปไตย 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง มีแรงกดดันจากภาคประชาสังคมนาไปสู่การออกกฎหมายพิเศษเพื่อพิจารณาเกี่ยวกับเหตุการณ์การ เรียกร้องประชาธิปไตย (18 พ.ค. 1995) 4.2 การค้นหาความจริง มีการตั้งคณะกรรมการค้นหาความจริง เพื่อหาสาเหตุการเสียชีวิต 4.3 การให้อภัย มีการให้อภัยโทษผู้กระทาผิดหลังจากได้รับโทษไปแล้วระยะหนึ่ง 4.4 การชดใช้ความผิด ออกรัฐบัญญัติเพื่อหาทางเอาผิดอดีตผู้นาและยกย่องเหตุการณ์ 4.5 การชดเชยและเยียวยา ออกกฎหมายประชาธิปไตย ผ่านการเรียกร้อยโดยองค์กร The Korean Association of Bereaved Families for Democracy
  • 22. เกาหลีใต้ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย ศาลรัฐธรรมนูญมีความเป็นอิสระและยึดประโยชน์ประชาชนเป็นที่ตั้ง 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1) ผู้นาทหารให้คามั่นว่าจะไม่เกิดการรัฐประหารขึ้นอีก 2) ประชาชนตระหนักว่าประชาธิปไตยเป็นเรื่องสาคัญและต้องร่วมกันรักษาไว้ และมองว่าการทุจริต คอร์รัปชั่นเป็นสิ่งที่รับไม่ได้ในสังคม 3) มีความพึงพอใจที่ผู้เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิดได้รับการลงโทษ 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
  • 23. แอฟริกาใต้ 1. ระยะเวลา 10 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลคนผิวขาวกับประชาชนคนผิวดา 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง คนผิวดาถูกกีดกันทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคมโดยคนผิวขาว 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) สร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ Montfleur ที่มีตัวแทนจากทุกฝ่ายเข้าร่วม 2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและความปรองดอง 4.3 การให้อภัย ตั้งคณะกรรมการนิรโทษกรรม 4.4 การชดใช้ความผิด 4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูเยียวยาและส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคม
  • 24. แอฟริกาใต้ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย ยกเลิกกฎหมายและนโยบายต่างๆ ที่ไม่เป็นธรรมและก่อให้เกิดการกีดกันสีผิว ตลอดจนความแตกต่างใน การกระจายรายได้และการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม มองเห็นภาพในอนาคตของประเทศตนร่วมกัน 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 6.1 เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง 6.2 การสร้างภาพอนาคตร่วมกันผ่านกระบวนการ
  • 25. อินโดนีเซีย (อาเจะห์) 1. ระยะเวลา 7 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลอินโดนีเซียกับขบวนการปลดปล่อยอาเจะห์ (GAM) 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การรู้สึกว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมในการจัดสรรทรัพยากรธรรมชาติ ประกอบกับสานึกทางประวัติศาสตร์ ของความเป็นรัฐอิสระในอดีต 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลอินโดนีเซียและ GAM มีองค์กรต่างชาติเป็นคนกลาง นาไปสู่การลง นามบันทึกความเข้าใจระหว่างกัน 2) ออกรัฐบัญญัติส่งเสริมเอกภาพและความสมานฉันท์แห่งชาติ 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงแห่งอาเจะห์ ซึ่งไม่มีอานาจในการสอบสวนเจ้าหน้าที่รัฐ 4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองและผู้ถูกคุมขังที่คดีเกี่ยวเนื่องกับกิจกรรมของ GAM 4.4 การชดใช้ความผิด ไม่มีกระบวนการสอบสวนการกระทาของเจ้าหน้าที่รัฐ 4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งองค์กรส่งเสริมการกลับคืนสู่สังคมแห่งอาเจะห์ เยียวยาทั้งอดีต GAM กลุ่มต่อต้าน GAM และประชาชน ทั่วไปที่ได้รับผลกระทบ
  • 26. 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) เกิดเขตปกครองพิเศษอาเจะห์โดยให้ผู้ว่าราชการจังหวัดมาจากการเลือกตั้งโดยตรงและได้ส่วนแบ่ง รายได้จากทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นร้อยละ 70 2) สามารถตั้งพรรคการเมืองเฉพาะของท้องถิ่นได้ 3) มีการตั้งศาลสิทธิมนุษยชน มีอานาจตัดสินคดีละเมิดสิทธิมนุษยชน ที่เกิดขึ้นหลังข้อตกลงเท่านั้น 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1) เกิดความตระหนักว่าไม่มีประโยชน์ที่จะเอาชนะกันท่ามกลางความสูญเสียที่เกินกว่าสังคมจะรับได้ 2) เกิดความเห็นร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง 2) การคุยกับ “ศัตรู” ในฐานะเพื่อนร่วมชาติด้วยกระบวนการหาทางออกร่วมกันที่ชอบธรรมและเป็นที่ ยอมรับของทุกฝ่าย 3) เหตุแห่งความขัดแย้งได้รับการแก้ไขด้วยภาพอนาคตที่สร้างร่วมกัน 4) การเปลี่ยนมหาวิกฤติเป็นโอกาสสู่การปรองดอง 5) ความเข็มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันสันติภาพ อินโดนีเซีย (อาเจะห์)
  • 27. สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ) 1. ระยะเวลา 26 ปี (ใช้ระยะเวลามากที่สุดใน 10 ประเทศ) 2. คู่ขัดแย้ง กลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์กับกลุ่มไอริชคาทอลิก 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การที่ชาวไอริชคาทอลิกซึ่งเป็นคนส่วนน้อยถูกเลือกปฏิบัติทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ประกอบกับ ความสานึกความเป็นชาตินิยมไอริช 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) เกิดการเจรจาระหว่างผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายคือกลุ่มอังกฤษโปรเตสแตนท์ กลุ่มไอริชคาทอลิก รัฐบาล อังกฤษ และรัฐบาลไอร์แลนด์ โดยมีสหรัฐอเมริกาเป็นผู้สนับสนุน นาไปสู่การลงนามข้อตกลง สันติภาพ 2) ออกพระราชบัญญัติไอร์แลนด์เหนือ เพื่อนาข้อตกลงไปสู่การปฏิบัติ 4.2 การค้นหาความจริง รัฐบาลตั้งคณะกรรมการสอบสวนกรณีอาทิตย์เลือด (Bloody Sunday) โดยเปิดเผยว่าทหารอังกฤษเป็น ผู้กระทาผิด รัฐบาลได้ออกมาขอโทษชาวไอริชคาทอลิกอย่างเป็นทางการ ซึ่งสังคมโดยรวมให้อภัยและไม่มี การนาตัวผู้เกี่ยวข้องมาลงโทษ 4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกตัดสินจาคุกจากการกระทาที่เป็นการก่อการร้าย โดยมีคณะกรรมการอิสระ เป็นผู้พิจารณาคุณสมบัติของผู้ที่จะได้รับการปล่อยตัว
  • 28. 4.4 การชดใช้ความผิด ตั้งทีมสืบสวนสอบสวนเหตุการณ์ความรุนแรงในอดีต เพื่อหาข้อเท็จจริง 4.5 การชดเชยและเยียวยา มีการชดเชยเยียวยาในรูปของตัวเงินและโครงการพัฒนาอาชีพและสร้าง รายได้แก่ประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ เจ้าหน้าที่รัฐ และ อดีตสมาชิกกลุ่มกองกาลังของทั้งสองฝ่ายตามลาดับ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) มีคณะผู้บริหารท้องถิ่นตามหลักการแบ่งอานาจ ประกอบด้วยพรรคการเมืองหลัก 2 ขั้ว 2) มีการปฏิรูปองค์กรตารวจทั้งระบบให้มีความเป็นกลางมากขึ้น 3) มีการแก้ไขนโยบายทางการศึกษา การจ้างงาน และการจัดสรรที่อยู่อาศัยที่เลือกปฏิบัติให้เกิดความ เป็นธรรม พร้อมตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชน และคณะกรรมการเพื่อความเสมอภาค 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1) ยอมรับร่วมกันว่าความรุนแรงไม่อาจนามาซึ่งทางออกต่อปัญหา และตกลงใช้กระบวนการ ประชาธิปไตยเป็นเครื่องมือในการตัดสินข้อขัดแย้ง 2) เกิดความตระหนักว่าแม้จะคิดไม่เหมือนกันและยังคงมีเป้าหมายที่ขัดแย้งกันเช่นเดิมแต่ก็สามารถอยู่ ร่วมกันได้ภายใต้กติกาที่ตกลงร่วมกัน สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
  • 29. 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดอง 2) มีกระบวนการหาทางออกที่ทุกฝ่ายรู้สึกว่าเป็นส่วนหนึ่ง 3) เหตุแห่งความไม่เป็นธรรมได้รับการแก้ไขในเชิงโครงสร้าง 4) มีการสร้างบรรยากาศที่ทาให้ทุกฝ่ายรู้สึกว่ามีทางเลือกอื่นที่เป็นไปได้ ในการบรรลุเป้าหมายนอกจากการใช้ความรุนแรง สหราชอาณาจักร (ไอร์แลนด์เหนือ)
  • 30. รวันดา 1. ระยะเวลา 8 ปี 2. คู่ขัดแย้ง ชาวฮูตูกับชาวตุ๊ดซี่สลับกันขึ้นมาปกครองประเทศโดยกดขี่อีกฝ่ายและสนับสนุนเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ของ ตน 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง นโยบายจักรวรรดินิยมที่เน้นการแบ่งแยกและปกครอง รวมถึงการปกครองที่ไม่เป็นธรรมจากทั้ง 2 กลุ่ม ชาติพันธุ์ 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง ตั้งคณะกรรมปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งศาลกาชาชาโดยกฎหมายประกอบรัฐธรรมนูญ ซึ่งเป็นศาลดั้งเดิมในชุมชนให้ผู้กระทาผิดเล่าความจริง ถึงเหตุการณ์ที่ได้กระทาลงไปให้เหยื่อและชุมชนได้รับรู้ถึงเหตุการณ์ พร้อมกับการขอโทษแสดงความ สานึกผิด และการพิพากษาลดหย่อนโทษโดยศาลดังกล่าว 4.3 การให้อภัย กองกาลังติดอาวุธของทั้งสองฝ่ายจะไม่ถูกดาเนินคดีหากยอมวางอาวุธและเข้าค่ายอบรมของ NURC
  • 31. 4.4 การชดใช้ความผิด มีการลงโทษผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือน โดยได้รับการลดโทษจากการสารภาพ 4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) ไม่มีการจ่ายค่าชดเชยเยียวยาแก่ผู้เสียหายเนื่องจากรัฐบาลขาดงบ 2) มีการเยียวยาผู้เสียหายโดยการให้ผู้กระทาผิดที่เป็นพลเรือนทางานชดเชยแทน 3) สร้างกระบวนการทางวัฒนธรรมเพื่อระลึกถึงความสูญเสียจากการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์และป้องกันไม่ให้ ความรุนแรงหวนคืนมาอีก อาทิ พิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์สถาน การประกาศวันหยุดแห่งชาติ หรือ การทาพิธีศพร่วมกันอย่างเป็นทางการ เป็นต้น 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย ตั้งคณะกรรมการปรองดองและเอกภาพแห่งชาติ โดยรัฐบาลเพื่อลดความเกลียด ชังและสร้างความรู้สึกเป็นพวกเดียวกันให้เกิดเอกภาพแห่งชาติในฐานะชาว รวันดาด้วยกันที่ไม่แบ่งเขาแบ่งเราอีก 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม ส่งเสริมทัศนคติของการมีอัตลักษณ์ร่วมในความเป็นชาวรวันดา ไม่แบ่งกลุ่ม ชาติพันธุ์ดังเช่นในอดีตอีก รวันดา
  • 32. 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การผลักดันให้เกิดความเป็นเอกภาพและปรองดองโดยแสวงหาความร่วมมือจากเครือข่ายในสังคม 2) กระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันท์ที่ให้ผู้กระทาผิดสานึกผิดและรับผิดชอบต่อสิ่งที่ได้กระทาลงไป 3) การกดดันจากต่างประเทศให้ยุติการสู้รบแลกกับการสนับสนุนงบประมาณพัฒนาประเทศ รวันดา
  • 33. ชิลี 1. ระยะเวลา 17 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลเผด็จการทหารปิโนโซต์กับกลุ่มคนที่สนับสนุนรัฐบาลก่อนหน้านั้นที่มีอุดมการณ์ทางการเมืองแบบ สังคมนิยม 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง ความแตกต่างทางอุดมการณ์ทางการเมืองโดยฝ่ายที่ต่อต้านรัฐบาลทหารได้ถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่าง รุนแรงกว้างขวาง 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง เกิดการเลือกตั้งที่นาไปสู่การจัดตั้งรัฐบาลประชาธิปไตย 4.2 การค้นหาความจริง 1) ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงและสร้างความปรองดองแห่งชาติ เพื่อค้นหาความจริงภายใน 9 เดือนสาหรับกรณีผู้สูญหาย เนื่องมาจากการถูกจับกุม ผู้ที่ถูกประหารชีวิต ผู้ที่ถูกทรมานจนเสียชีวิต และผู้ที่ถูกลักพาตัวในยุครัฐบาลปิโนเซต์ 2) ตั้งคณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการตรวจสอบการจาคุกและการทรมานอันเนื่องมาจากเหตุผลทาง การเมือง ปิโนเชต์ อดีตผู้นำชิลี
  • 34. ชิลี 4.3 การให้อภัย มีการออกกฎหมายนิรโทษกรรมให้แก่นายพลปิโนเชต์และเจ้าหน้าที่ (ทหารและตารวจ) ที่ทาการละเมิด สิทธิมนุษยชนเพื่อปราบปรามผู้ต่อต้านรัฐบาล โดยผู้นารัฐบาลเป็นผู้ออกกฎหมายดังกล่าวเองในช่วงที่ยังมี อานาจ 4.4 การชดใช้ความผิด 1) มีความพยายามจากสังคมชิลีในการดาเนินคดีกับปิโนเชต์ แต่ติดขัดที่ข้อกฎหมายนิรโทษกรรมภายหลัง รัฐประหาร สุดท้ายถูกควบคุมตัวในต่างประเทศด้วยอานาจของกฎหมายสากลว่าด้วยอาชญากรรมต่อ มนุษยชาติ 2) มีการดาเนินคดีตามกระบวนการกฎหมายปกติต่อเจ้าหน้าที่รัฐจานวนหนึ่งที่ละเมิดสิทธิมนุษยชน 4.5 การชดเชยและเยียวยา 1) มีการจ่ายค่าชดเชยและมีมาตรการเยียวยา เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตแก่ญาติของผู้สูญหายหรือ เสียชีวิต และผู้ได้รับผลกระทบจากการละเมิดสิทธิมนุษยชน 2) ประธานาธิบดีและกองทัพได้ออกมาขอโทษผู้ได้รับผลกระทบผ่านโทรทัศน์ในนามรัฐบาลอย่างเป็น ทางการ 3) มีการเปิดพิพิธภัณฑ์แห่งความทรงจาเพื่อต่อต้านการละเมิดสิทธิมนุษยชนเพื่อเป็นอนุสรณ์มิให้เกิด เหตุการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นอีก
  • 35. ชิลี 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) มีการปฏิรูปการเมืองและกฎหมายให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น อาทิ การตั้งผู้ตรวจการ แผ่นดินด้านสิทธิมนุษยชน หรือการปรับให้สมาชิกวุฒิสภามาจากการเลือกตั้ง ซึ่งแต่เดิมมาจากการ แต่งตั้ง 2) ยกเลิกวันชาติซึ่งถือเป็นวันรัฐประหารโดยนายพลปิโนเชต์ 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม เกิดความรักและหวงแหนในความเป็นประชาธิปไตย ตลอดจนการพิทักษ์ คุ้มครองสิทธิมนุษยชนมากขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เหตุการณ์เลวร้ายในอดีตหวน คืนมาอีก 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปกฎหมายและการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้บทบาทของกองทัพถูกจากัดลง 2) การขอโทษโดยผู้นารัฐบาลและกองทัพผ่านสื่อสาธารณะอย่างต่อเนื่อง
  • 36. โคลัมเบีย 1. ระยะเวลา 22 ปี+ 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังติดอาวุธต่างๆ ที่มีเขตอิทธิพลของตัวเอง 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง อุดมการณ์ทางการเมืองที่แตกต่างขยายตัวไปสู่การแย่งชิงอานาจทางการเมืองและผลประโยชน์ทาง เศรษฐกิจ 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) ออกกฎหมาย Justice and Peace เพื่อปรับปรุงกฎหมายที่มีอยู่ให้เอื้อต่อการใช้ความยุติธรรม ทางเลือกมากขึ้น โดยการเปิดศูนย์ฟื้นฟูให้ผู้ก่อเหตุรุนแรงมาสารภาพและมีผู้ได้รับผลกระทบมารับ ฟัง 2) เกิดการเจรจาระหว่างรัฐบาลกับกลุ่มกองกาลังต่างๆ ขึ้นและนาไปสู่ความสาเร็จ 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการฟื้นฟูและปรองดองแห่งชาติ เพื่อรับฟังผู้ได้รับกระทบจากเหตุการณ์ และจะนาข้อมูล ดังกล่าวไปจัดทาอนุสรณ์สถาน 4.3 การให้อภัย หากผู้กระทาผิดในคดีที่รุนแรงได้ผ่านศูนย์ฟื้นฟูอย่างน้อย 5 – 8 ปีโดยการสารภาพความผิดและจะไม่ กลับไปกระทาความผิดอีก จะได้รับการลดโทษโดยการพิจารณาของส
  • 37. โคลัมเบีย 4.4 การชดใช้ความผิด หากผู้กระทาผิดในคดีที่รุนแรงได้ผ่านศูนย์ฟื้นฟูอย่างน้อย 5-8 ปี โดยการสารภาพความผิดและจะไม่ กลับไปกระทาความผิดอีก จะได้รับการลดโทษโดยการพิจารณาของสานักงานอัยการสูงสุด 4.5 การชดเชยและเยียวยา มีกฎหมายรองรับการชดเชยและเยียวยาผู้เสียหายที่ได้รับกระทบจากคดีที่เกิดจากการต่อสู้ระหว่าง กลุ่มกองกาลังกับรัฐบาล และระหว่างกลุ่มกองกาลังด้วยกันเอง 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) เริ่มแรกมีข้อตกลงสันติภาพระหว่างรัฐบาลและกลุ่มกองกาลัง 2) มีการออกพระราชบัญญัติเกี่ยวกับ “Alternative Criminal Sentence” ขึ้นปี ค.ศ. 2003 และพรบ. ฉบับนี้ก็เป็นก้าวแรกในการกาเนิดกฎหมาย Justice and Peace Law ปีค.ศ. 2005 3) มีการปฏิรูปกฎหมายโดยใช้หลักความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่านเป็นแนวทางการปฏิรูปกฎหมาย เพื่อนาไปสู่การปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม
  • 38. โคลัมเบีย 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม 1. มุมมองของรัฐเปลี่ยนจากที่ต้องควบคุมกองกาลังติดอาวุธต่างๆ กลายมาเป็นการหาวิธีการเพื่อให้ กลุ่มต่างๆ เข้ามาสู่กระบวนการเจรจากับรัฐบาลโดยสันติวิธี 2. ภาคประชาชนมีการเคลื่อนไหวเพื่อให้ความเป็นธรรมแก่ผู้เสียหาย ผู้ถูกกระทา 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) เจตจานงทางการเมืองที่ต้องการจะปรองดองกับกลุ่มกองกาลังโดยปรับจากวิธีปราบปรามมาสู่การ พูดคุย 2) ความจริงจังในการแก้ไขปรับปรุงกฎหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติ วิธี 3) ความเข้มแข็งของภาคประชาสังคมในการผลักดันสันติภาพมากขึ้นจากการสนับสนุนของต่างชาติ และรัฐบาล
  • 39. โมร็อกโก 1. ระยะเวลา 16 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลภายใต้การนาของพระมหากษัตริย์กับประชาชนทั่วไป 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง ฝ่ายเรียกร้องประชาธิปไตยถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่างต่อเนื่องโดยรัฐบาล 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) เชิญผู้นาพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามกลับมาดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี 2) เกิดกระบวนการประชาธิปไตยแบบสานเสวนา โดยให้มีการพูดคุยถึงประสบการณ์กับความ รุนแรงที่เกิดขึ้นแต่จะไม่มีการกล่าวโทษหรือระบุชื่อบุคคล องค์กรหรือพรรคการเมืองที่เกี่ยวข้อง 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนเพื่อแสวงหาความจริงจากกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งรัฐบาลได้ ออกมายอมรับว่าเจ้าหน้าที่รัฐส่วนหนึ่งกระทาผิดจริง 4.3 การให้อภัย ปล่อยตัวนักโทษการเมืองที่ถูกคุมขังโดยมิชอบ 4.4 การชดใช้ความผิด ไม่มีการลงโทษเจ้าหน้าที่รัฐที่กระทาผิด 4.5 การชดเชยและเยียวยา ตั้งคณะกรรมการความเที่ยงธรรมและความปรองดอง เพื่อทาหน้าที่ต่อจากคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนใน การค้นหาความจริง รับฟังความรู้สึกของผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ และพิจารณาค่าชดเชย
  • 40. โมร็อกโก 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) มีการแก้ไขรัฐธรรมนูญที่จากัดอานาจและบทบาททางการเมืองของพระมหากษัตริย์ 2) ยอมรับให้ผู้ชนะการเลือกตั้งดารงตาแหน่งนายกรัฐมนตรี 3) มีการลดโทษกฎหมายสาหรับความผิดฐานหมิ่นพระบรมเดชานุภาพ 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม สังคมรับรู้เรื่องราวการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากเหตุการณ์ทางการเมืองอย่าง เปิดเผยและกลายเป็นความทรงจาร่วมกันของสังคม 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปการเมืองให้มีความเป็นประชาธิปไตยมากขึ้น 2) การเปิดเวทีสาธารณะให้ผู้ได้รับผลกระทบจากเหตุการณ์ได้แสดงออกถึงประสบการณ์และความรู้สึก ของตนผ่านสื่อมวลชน ซึ่งทาให้สังคมรู้สึกว่าเรื่องเหล่านี้สามารถพูดถึงได้ในที่สาธารณะในลักษณะ ของการบาบัดร่วม
  • 41. โบลิเวีย 1. ระยะเวลา 3 ปี (ใช้ระยะเวลาน้อยที่สุดใน 10 ประเทศ) 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลที่นาโดยคนเชื้อสายสเปน (คนส่วนน้อย) กับประชาชนพื้นเมือง (คนส่วนใหญ่) 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง การไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการกระจายทรัพยากรธรรมชาติ และอานาจทางการเมือง โดยผู้มีอานาจ ปกครองคือคนเชื้อสายสเปน (คนส่วนน้อย) ในขณะที่คนพื้นเมือง (คนส่วนใหญ่) ไม่ได้รับประโยชน์ 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) จัดการลงประชามติในการแก้ไขรัฐธรรมนูญ เป็นฉบับที่ถือว่ามาจากการมีส่วนร่วมของประชาชน 2) รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ให้ความสาคัญกับการกระจายรายได้ทรัพยากรของประเทศ และคานึงถึงความ หลากหลายทางวัฒนธรรม 4.2 การค้นหาความจริง - 4.3 การให้อภัย - 4.4 การชดใช้ความผิด - 4.5 การชดชนและเยียวยา -
  • 42. โบลิเวีย 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย 1) แก้ไขรัฐธรรมนูญให้เกิดความเป็นธรรมในสังคมมากขึ้น โดยการกระจายรายได้ทรัพยากรธรรมชาติ การปฏิรูปที่ดิน ยกเลิกการกาหนดศาสนาประจาชาติ และการตั้งเขตปกครองพิเศษในหลายระดับ 2) แปรรูปบริษัทจัดการทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นของรัฐ 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม ยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของสังคม 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) การปฏิรูปกฎหมายและโครงสร้างทางการเมืองให้มีความเป็นธรรมและตอบสนองต่อความต้องการ ของคนส่วนใหญ่มากขึ้น 2) ยอมรับในความแตกต่างหลากหลายของคนในสังคม
  • 43. เยอรมัน 1. ระยะเวลา 8 ปี 2. คู่ขัดแย้ง รัฐบาลเยอรมันตะวันออกที่ปกครองด้วยระบอบคอมมิวนิสต์กับประชาชนส่วนหนึ่งที่ต้องการให้มีการ เปลี่ยนผ่านสู่ประชาธิปไตย 3. เหตุแห่งความขัดแย้ง อุดมการณ์ทางการเมืองและเศรษฐกิจที่แตกต่างระหว่างประชาธิปไตยเสรีนิยมกับสังคมนิยม คอมมิวนิสต์ อันมาซึ่งความรู้สึกเหลื่อมล้าเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศเยอรมันตะวันตก 4. กระบวนการสร้างความปรองดอง 4.1 การจัดการกับเงื่อนไข ความขัดแย้ง 1) เกิดการเจรจา 2+4 ฝ่าย คือระหว่างเยอรมันตะวันตก เยอรมันตะวันออก สหรัฐอเมริกา สหภาพโซ เวียต อังกฤษ และฝรั่งเศส เพื่อวางแนวทางรวมชาติเยอรมัน 2) จัดการเลือกตั้งผู้นาประเทศภายหลังการรวมชาติ 4.2 การค้นหาความจริง ตั้งคณะกรรมการแสวงหาความจริงในกรณีการละเมิดสิทธิมนุษยชนของผู้ฝ่าฝืนการข้ามกาแพงเบอร์ลินไป ฝั่งตะวันตก ซึ่งหลังจากเปิดเผยความจริงสู่สังคมก็มีการฟ้องร้องผู้กระทาผิดตามกระบวนการยุติธรรมโดย ผู้เสียหาย แต่ทั้งนี้จุดประสงค์หลักเพื่อที่เป็นบทเรียนในการพัฒนาประเทศในอนาคต
  • 44. เยอรมัน 4.3 การให้อภัย ไม่มีการนิรโทษกรรมผู้กระทาความผิด 4.4 การชดใช้ความผิด เจ้าหน้าที่รัฐที่กระทาความผิดถูกฟ้องร้องดาเนินคดีตามกระบวนการยุติธรรมปกติโดยผู้เสียหาย 4.5 การชดเชยและเยียวยา ให้เงินชดเชยผู้ต้องขังที่ถูกตัดสินอย่างไม่เป็นธรรมตามกระบวนการยุติธรรมปกติ 5. ผลจากกระบวนการปรองดอง 5.1 การเปลี่ยนแปลงในเชิง โครงสร้าง/นโยบาย ฟื้นฟูพัฒนาประเทศทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะในส่วนของโครงสร้างพื้นฐานและการพัฒนาศึกษา ในส่วนของฝั่งตะวันออกเพื่อให้เกิดความทัดเทียมกับฝั่งตะวันตก 5.2 การเปลี่ยนแปลงในเชิง ทัศนคติของสังคม มีความพยายามในการสร้างสมดุลระหว่างแนวคิดความเท่าเทียมกันทางสังคม ที่ยึดถือในฝั่งตะวันออกกับ แนวคิดเสรีนิยมที่ยึดถือในฝั่งตะวันตก 6. ข้อสังเกตในส่วนของปัจจัยแห่งความสาเร็จ 1) สังคมมีจุดร่วมคือภาพอนาคตของความเป็นประเทศประชาธิปไตย โดยมีภาพของเยอรมันตะวันตก เป็นตัวแบบ 2) การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อลดความเหลื่อมล้าในสังคมโดยพยายามสร้างความเจริญให้อยู่ในระดับที่ ใกล้เคียงกันทั่วประเทศ
  • 45.
  • 46.
  • 47.
  • 49.
  • 50.
  • 51. กรอบการดาเนินงาน “คณะทางานเตรียมการปฏิรูป คสช.” • รวบรวมข้อมูล และจัดทาหัวข้อ การรับฟังความคิดเห็นฯ • การรับฟังความคิดเห็นจากประชาชน • รวบรวมผลการรับฟังความ คิดเห็น จากทุกช่องทาง • สรุปผลความคิดเห็นฯ รายงาน คสช. 1. รวบรวมข้อมูล ความคิดเห็นการ ปฏิรูป จากผลงานที่มีอยู่เดิม ข้อเสนอของกลุ่มต่างๆ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อเสนอของประชาชน ที่มีการ นาเสนอผ่านสื่อต่างๆ 2. สังเคราะห์เนื้อหาทั้งหมด เพื่อจัดทา “ หัวข้อการรับฟังความคิดเห็น จาก ประชาชน” 1. จัดเวทีสานเสวนาในส่วนกลาง(สป.) เพื่อรับฟังความคิดเห็นจากทุก กลุ่มทุก ฝ่าย ทั้งกลุ่มที่มีความขัดแย้งและกลุ่ม อื่นๆ 2. ส่งหัวข้อรับฟังฯ ให้ศูนย์ปรองดองฯ (กอ.รมน.)เพื่อจัดกิจกรรมรับฟังความ คิดเห็นจากประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่ายทั่ว ประเทศ 3. รับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่าน Website และตู้ ปณ. คณะทางานฯ ขั้นที่ 1 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 4 1.รวบรวมผลการแสดงความคิดเห็นของ ประชาชนจาก เวทีเสวนาส่วนกลาง ศูนย์ปรองดองฯทั่วประเทศ Website และตู้ ปณ.คณะทางานฯ 2. จัดกลุ่ม แยกแยะประเด็นความคิดเห็น ของประชาชนทุกกลุ่มทุกฝ่ายให้ครบถ้วน  จัดทาสรุปผลความคิดเห็นฯ รายงานให้ คสช. ทราบเพื่อพิจารณาใช้ ประโยชน์ต่อไป
  • 52. การสร้างความปรองดองสมานฉันท์ และการปฏิรูป เหตุความขัดแย้ง แตกแยก การปฏิรูป ความปรองดองสมานฉันท์ 1. ความคิดความเชื่อทางการเมือง ที่แตกต่างกัน 2. ไม่เชื่อถือศรัทธากระบวนการ ยุติธรรม (2 มาตรฐาน) 3. การปลุกปั่น ยุยง สร้างความ เกลียดชังต่อกัน 4. ตอกย้า/ขยายความขัดแย้ง เกลียดชัง จนมีแนวโน้ม พร้อมที่ ใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มเห็นต่าง การเมือง/การปกครอง กระบวนการยุติธรรม และการบังคับใช้กฎหมาย กฎหมายต่างๆ เช่น ควบคุมการยุยงปลุกปั่น ให้แตกแยกและการ ชุมนุมที่ผิดกฎหมาย ฯลฯ การทุจริต ประพฤติ มิชอบ เศรษฐกิจ, การศึกษา, สังคมและอื่นๆ สร้าง ปชต.ที่สมบูรณ์ ที่ทุก ฝ่ายมีส่วนร่วม และยอมรับ ร่วมกัน เชื่อมั่นในการบังคับใช้กฎหมายที่เท่าเทียม กัน รณรงค์สร้างความรักความ สามัคคี เห็นแก่ผลประโยชน์ชาติ ประเทศชาติ มีความสงบเรียบร้อย มีความเจริญก้าวหน้าและประชาชน มีความผาสุกอย่างยั่งยืน
  • 53. แนวทางตามรายการ “ คืนความสุขให้คนในชาติ ” • รัฐธรรมนูญชั่วคราว 50 มาตรา ให้อานาจรัฐบาลเป็นผู้บริหาร ส่วนคสช. เป็นผู้ดูแลรับผิดชอบและให้คาแนะนาต่างๆ บาง มาตราอาจกระทบสิทธิบ้างแต่ก็เป็นไปเพื่ออานวยความสะดวกให้รัฐบาลที่จะตั้งขึ้นภายในเดือนกันยายนนี้ • เรื่องปรองดองจะต้องหาทางออกของความขัดแย้งให้ได้เสียก่อน โดยทุกฝ่ายต้องลดความบาดหมาง ความไม่ไว้วางใจ ยอมรับในความเห็นต่าง ทาให้เกิดการรับรู้ร่วมกัน คบค้าสมาคมกัน มีความสุขร่วมกัน • เอาอดีตมาเป็นบทเรียน เราขัดแย้งกันอีกไม่ได้ ในเรื่องของการเป็นประชาธิปไตย ดูตัวอย่างประเทศใหญ่ๆ ถ้าเราสร้าง กลไกของประชาธิปไตยให้ดีแล้ว อย่างที่เราจะทาในขั้นการปฏิรูป ถ้าทุกคนร่วมมือกันตรงนี้ก็จะไม่เกิดความขัดแย้งใน อนาคต • การปฏิรูป อยากให้ทุกส่วนเตรียมจัดผู้แทนเพื่อไปสมัครเป็นสมาชิกสภาปฏิรูปในระยะที่ 2 ซึ่งจากเดิมที่คัดสรรไว้แล้ว 11 กลุ่ม กลุ่มละ 50 คน จะเพิ่มเติมในส่วนของจังหวัดต่างๆจังหวัดละ 5 คน แล้วคัดให้เหลือจังหวัดละ 1 คน รวมเบ็ดเสร็จได้ 630 คน จากนั้นก็จะคัดสรรให้เหลือไม่เกิน 250 คน แล้วจึงแบ่งกระจายลงกลุ่มต่างๆ 11 กลุ่ม • ปรับปรุงพัฒนาเพิ่มศักยภาพอย่างต่อเนื่องในด้านความมั่นคง การแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าว ด้านเศรษฐกิจ บีโอไอ การ ท่องเที่ยว เอสเอ็มอี ค่าครองชีพ รวมถึงในส่วนของกระทรวงคมนาคม และ ขสมก.
  • 54. ยุทธศาสตร์หลัก 9 ข้อ คสช. ใช้เป็นแนวทางพัฒนาประเทศ โดยน้อมนายุทธศาสตร์การพัฒนา และปรัชญาเศรษฐกิจพอพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 1. ยุทธศาสตร์การสร้างความเป็นธรรมในสังคม 2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาคนสู่สังคมแห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างยั่งยืน 3. ยุทธศาสตร์การสร้างความเข้มแข็งภาคการเกษตร ความมั่นคงของอาหาร และพลังงาน 4. ยุทธศาสตร์การปรับโครงสร้างเศรษฐกิจสู่การเติบโตอย่างมีคุณภาพและยั่งยืน 5. ยุทธศาสตร์การสร้างความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม 6. ยุทธศาสตร์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน 7. ยุทธศาสตรในการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง โครงสร้างการบริหารงานของรัฐวิสาหกิจให้เกิดประโยชน์กับประชาชน ในการใช้บริการอย่างแท้จริง 8. ยุทธศาสตร์ในการปรับปรุงระบบโทรคมนาคม เทคโนโลยีของชาติ ให้เกิดความมั่นคงและยั่งยืนในอนาคตให้ ทัดเทียมกับอาเซียน และประชาคมโลก 9. ยุทธศาสตร์ในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตคอร์รัปชันอย่างยั่งยืน สิ่งที่คนไทยและประเทศไทยยังเป็น ปัญหานะครับ และต้องมีการพัฒนาอย่างเร่งด่วน อันนี้ก็ต้องด้วยความร่วมมือของทุกภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตัว ประชาชนเองในทุกระดับชั้นทุกเพศ ทุกวัยนะครับ
  • 55. สร้างสรรค์ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 1. คือมีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ซึ่งเป็นสถาบันหลักของชาติในปัจจุบัน 2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนร่วม 3. กตัญญูต่อพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์ 4. ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม 5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม 6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์หวังดีต่อผู้อื่น เผื่อแผ่และแบ่งปัน
  • 56. สร้างสรรค์ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ 7. เข้าใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง 8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผู้ใหญ่ 9. มีสติรู้ตัว รู้คิด รู้ทา รู้ปฏิบัติตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 10. รู้จักดารงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักอดออมไว้ใช้เมื่อยามจาเป็น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจาหน่าย และพร้อมที่จะขยายกิจการ เมื่อมีความพร้อม เมื่อมีภูมิคุ้มกันที่ดี 11. มีความเข้มแข็งทั้งร่างกาย และจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่ออานาจฝ่ายต่า หรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัวต่อบาป ตามหลักของศาสนา 12. คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่าผลประโยชน์ของตนเอง
  • 57. เรื่องที่ควรปฏิรูปตามแนวทางของ คสช. 1. แนวทางการปฏิรูปทางการเมือง. 2. แนวทางการสร้างมาตราฐานทางจริยธรรมของผู้บริหารประเทศอันได้แก่นักการเมือง ข้าราชการ และหน่วยงาน ภาคเอกชนต่างๆ 3. แนวทางการปฏิรูปขบวนการยุติธรรม 4. แนวทางการปฏิรูป การบริหารราชการแผ่นดินเช่นการกระจายอานาจหรือความซ้าซ้อนในการทางานของหน่วยงาน ภาครัฐเป็นต้น 5. แนวทางปฏิรูปการทุจริต คอรัปชั่น 6. แนวทางการปฏิรูปการศึกษา 7. แนวทางการปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ 8. แนวทางการปฏิรูปด้านข้อมูลข่าวสาร 9. แนวทางการปฏิรูปการเหลื่อมล้าทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม 10. แนวทางการปฏิรูปด้านอื่นๆ