SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล
สถาบันพระปกเกล้า
www.elifesara.com, ekkachais@hotmail.com 089-814-5599
ยุทธศาสตร์
ศาสตร์และศิลป์ ในการพัฒนาและใช้กาลัง
อานาจแห่งชาติ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ของชาติ
เพื่อรักษาผลประโยชน์แห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
• การทาความเข้าใจเรื่องยุทธศาสตร์ชาติ
– ความหมายคืออะไร
– ลักษณะของยุทธศาสตร์แต่ละระดับเหมือนกันหรือต่างกัน
อย่างไร
– ความสัมพันธ์ระหว่างยุทธศาสตร์ กับนโยบายความมั่นคง
แห่งชาติ แผนพัฒนาฯ นโยบายรัฐบาลฯ ยุทธศาสตร์ระดับ
กระทรวง ยุทธศาสตร์ทหาร ยุทธการ
การทาความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์
• สมช.ทาอะไรในเรื่องยุทธศาสตร์
• ลักษณะของยุทธศาสตร์แต่ละระดับเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
• ความสัมพันธ์กันระหว่างยุทธศาสตร์กับ
–นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
–แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
–นโยบายรัฐบาลฯ
–ยุทธศาสตร์ กพร.
–ยุทธศาสตร์ระดับกระทรวง
–ยุทธศาสตร์ป้องกันประเทศและทหาร
–ยุทธการและยุทธวิธี
การทาความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์
• เอกสารที่เป็นยุทธศาสตร์
• กองทัพแต่ละเหล่าทัพจะไปทาอะไรในส่วนของยุทธศาสตร์
• การเปลี่ยนชื่อยุทธศาสตร์และรูปแบบที่จะใช้ร่วมกัน
• สมช. กับความชัดเจนของการกาหนดยุทธศาสตร์
• สมช. กับ สศช. เกี่ยวพันกันอย่างไรในเรื่องยุทธศาสตร์ชาติ
• ยุทธศาสตร์ป้องกันประเทศ(Defence Strategy) และยุทธศาสตร์
ทหาร(Military Strategy) เหมือนและต่างกันอย่างไร และใคร
รับผิดชอบอะไร
การทาความเข้าใจในเรื่องยุทธศาสตร์
• การเรียนการสอน และการปฏิบัติจะทาอย่างไร ทั้งใน
ระดับรัฐบาล ระดับกระทรวง ระดับเหล่าทัพ
• กพร.กับ สมช.เหมือนและต่างกันอย่างไร
• ประเด็นยุทธศาสตร์ของ กพร. และกระทรวงคืออะไรใน
ยุทธศาสตร์
Strategy
ระดับของยุทธศาสตร์
Specifics Strategy
Sectors Strategy
National Strategy
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
• การประเมินยุทธศาสตร์ชาติ
• การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
• การพิจารณากาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติเผื่อเลือก
• การวิเคราะห์กาลังอานาจแห่งชาติและแบบแผนของชาติ
• การกาหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
• รวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับความรู้ภูมิหลังตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ ปัญหาสาคัญต่างๆ ทั้ง
ภายนอกและภายในประเทศ
• รวบรวมข่าวสารที่เกี่ยวข้อง ที่เป็นภัยคุกคาม หรือมีผลกระทบต่อผลประโยชน์และ
ความมั่นคงแห่งชาติ
• การพิสูจน์ทราบบรรยายให้เห็นถึงแรงผลักดันและแนวโน้มที่ท้าทายอานาจของชาติ
ก่อให้เกิดปัญหาการคุกคาม โอกาส ระบุประเทศที่เข้ามาเกี่ยวข้องให้ชัดเจน
• เหตุการณ์ภายใน รวบรวมตามภาคหรือเหตุการณ์ ถ้ามีต่างประเทศเข้ามาเกี่ยวข้อง
ให้ระบุด้วย
• การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมที่ทาให้ความเป็นอยู่แปรเปลี่ยนไป ได้แก่
แรงผลักดัน การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวร
และวิกฤตการณ์ที่ส่งผลรุนแรงในระยะหนึ่ง และทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในส่วน
ต่างๆ ของโลก
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่างประเทศ
• ผลประโยชน์แห่งชาติ และวัตถุประสงค์แห่งชาติของ
ต่างประเทศ
• นโยบายแห่งชาติ และกาลังแห่งชาติของต่างประเทศ
• บทบาท (Roles) ของหน่วยงานและบุคคลสาคัญของ
ต่างประเทศ
• การกระทา (Actions) ของหน่วยงาน และบุคคลสาคัญ
ของต่างประเทศ
• ประวัติศาสตร์ของต่างประเทศ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
แ ร ง ผ ลั ก ดั น : ปรากฏการณ์อย่างหนึ่งอย่างใดที่จะมีผลกระทบ หรือสามารถก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อการดาเนินการใดๆ ของรัฐ ซึ่งอาจจะขัดขวางหรือสนับสนุนการบรรลุถึง
ซึ่งวัตถุประสงค์และผลประโยชน์แห่งชาติได้
แ น ว โ น้ ม : หนทางหรือผลซึ่งแรงผลักดัน สามารถที่จะทาให้เปลี่ยนแปลงไปได้
แนวโน้มดังกล่าวเกี่ยวโยงไปถึงทิศทาง รูปแบบ และระดับความรุนแรง ตามนัยของ
แรงผลักดัน
ปั ญ ห า : สถานการณ์ หรือ สภาวการณ์ ที่ขัดต่อ การดาเนินนโยบาย หรือขัดต่อ
วัตถุประสงค์ที่ต้องการ หรือสภาพเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ที่มีแนวโน้มจะไม่
ตรงกับความต้องการ
ก า ร คุ ก ค า ม : พฤติกรรมที่คาดคะเนได้ว่าจะก่อให้เกิดความเสียหาย มีผลให้ฝ่ ายที่ถูก
คุกคามต้องกระทา หรือละเว้นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่ง
โ อ ก า ส : กรณีแวดล้อมที่เป็นผลดีต่อผลประโยชน์แห่งชาติ เป็นกรณีที่ชาติสมควรจะ
แสวงประโยชน์ โดยการดาเนินการอย่างใด อย่างหนึ่ง เพื่อให้บรรลุถึงซึ่งวัตถุประสงค์
หรือผลประโยชน์แห่งชาติ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการเมือง
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางสังคมจิตวิทยา
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการทหาร
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิเคราะห์กาลังอานาจและแบบแผนของชาติ
ผลกระทบจากความเจริญ
• ประชากรมากขึ้นแย่งชิงทรัพยากร แข่งขันทางเศรษฐกิจ ทาลายสิ่งแวดล้อมสูงขึ้น
• โลกยุคข่าวสารข้อมูล และโลกาภิวัตน์
• วิกฤตการณ์ที่สาคัญ น้ามัน โรคระบาด น้า ภัยพิบัติ
• ผลกระทบในภูมิภาคในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
• การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ APEC AFTA ECS FTA
• ความร่วมมือ 6 ประเทศลุ่มแม่น้าโขง และกลุ่มอื่นๆ
• ความร่วมมือด้านความมั่นคง
• มีการสะสมอาวุธมากขึ้น เพื่อคุ้มครองเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว
• จีนเร่งพัฒนาเศรษฐกิจของตนเอง และขยายความสัมพันธ์มาทางใต้
• ญี่ปุ่นเพิ่มบทบาททางการเมืองและความมั่นคง
• ความขัดแย้งในภูมิภาคมีมากขึ้น
Basil Henry Liddell Hert
“ยุทธศาสตร์ทหารคือ ศิลปะของการจาแนกและใช้
เครื่องมือทางทหารเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งของนโยบาย”
The Theory of Strategy
ความสอดคล้องของการวางแผนยุทธศาสตร์
• ยุทธศาสตร์ความมั่นคง
• ยุทธศาสตร์การป้องกันประเทศ
• ยุทธศาสตร์ทหาร
• ยุทธศาสตร์แต่ละเหล่าทัพ
ยุทธศาสตร์ชาติคือวิธีการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ของชาติ
ยุทธศาสตร์ทหาร คือ วิธีการที่จะบรรลุวัตถุประสงค์ทางทหารด้วยเครื่องมือ
ทางทหารหรือกาลังอานาจของชาติด้านการทหาร
การกาหนดแนวความคิดทางยุทธศาสตร์เป็นการขยายยุทธศาสตร์ทหารที่
กาหนดไว้ออกมาเป็นแนวความคิด เพื่ออธิบายถึงหนทางในการปฏิบัติ
อย่างกว้างๆ ว่าในแต่ละยุทธศาสตร์ทหารที่ได้กาหนดไว้นั้น จะใช้กาลัง
รบอะไร ในการปฏิบัติอย่างไร
“นาวิกาธิปัตย์สาร”
กรรมวิธีในการกาหนดยุทธศาสตร์ทหาร
• การกาหนดวัตถุประสงค์ทางทหาร
• การกาหนดแนวความคิดทางการทหาร
• การกาหนดกาลังรบ
มี ๓ ขั้นตอน คือ
“ยุทธศาสตร์และการกาหนดกาลังรบ”
ลักษณะของยุทธศาสตร์
มีองค์ประกอบสาคัญ ๓ ประการ คือ
๑. เป้าหมายที่ต้องการ(วัตถุประสงค์)
๒. หนทาง แนวทาง กรอบแนวคิด หรือนโยบาย
๓. การใช้เครื่องมือ กาลังอานาจ ทรัพยากรของชาติ
(แผน กาหนดการ มาตรการ)
การประเมินยุทธศาสตร์ทหาร มี ๕ ขั้น
๑. วิเคราะห์นโยบาย คาสั่ง ภารกิจ
๒. ตรวจสอบสถานการณ์ สภาวะแวดล้อม
๓. พิจารณาผลกระทบ
๔. กาหนดวัตถุประสงค์
๕. กาหนดแนวความคิดทางทหาร
การวิเคราะห์ในการประเมินยุทธศาสตร์ทหาร
๑. แนวนโยบายแห่งรัฐ เพื่อกาหนดกิจในทางทหาร
๒. ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมทางการทหาร วิเคราะห์แนวโน้มเพื่อ
กาหนดภัยคุกคามทางทหาร
๓. พิจารณาผลกระทบอันเนื่องมาจากลักษณะของการทาสงครามที่
คาดเอาไว้
๔. พิจารณากาลังอานาจทางทหารที่มีอยู่
๕. กาหนดวัตถุประสงค์ทางทหารเผื่อเลือก
๖. กาหนดแนวความคิดทางยุทธศาสตร์ทหาร สาหรับแต่ละ
วัตถุประสงค์ทางทหารที่ได้กาหนดขึ้น
ขั้นตอนในการประเมินยุทธศาสตร์ทหาร
๑. การวิเคราะห์ความมุ่งประสงค์มูลฐานทางทหาร
๒. ประเมินยุทธศาสตร์ทหาร
ก. นโยบายความมั่นคงด้านการป้องกันประเทศ
ข. นโยบายการทหารของรัฐ
ค. แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศ
ง. สถานการณ์ สภาวะแวดล้อม และแนวโน้มของสงคราม
จ. ภัยคุกคามทางทหาร
ฉ. กาลังอานาจทางทหารเปรียบเทียบ
ช.ผลกระทบจากกาลังอานาจของชาติ
๓. วัตถุประสงค์ทางทหาร (เฉพาะ)
๔. แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ทหาร
๕. มาตรากาทางทหาร(ยุทธศาสตร์ทหาร)
แนวทางสาหรับการวางแผนยุทธศาสตร์
• รัฐธรรมนูญพื้นฐานทาง
กฎหมาย
• ปรัชญา
• ศีลธรรมและความดีงามที่
ยึดถือ
• ความต่อเนื่องยาวนาน
„ ค่านิยมแห่งชาติ
„ ผลประโยชน์แห่งชาติ
„ วัตถุประสงค์มูลฐาน
แห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติด้านต่างๆ
Economy Strategy
Sociology Strategy
Political Strategy
Defense Strategy
การประเมิน
ยุทธศาสตร์
ยุทธศาสตร์ชาติ
มาตราการ
(แผน และกาหนดการ)
การประเมินค่าความเสี่ยง
นโยบายแห่งชาติ
หมวด ๕ แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
มาตรา ๗๗ รัฐต้องพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์
เอกราชอธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอานาจรัฐ และต้องจัด
ให้มีกาลังทางทหารอาวุธยุทโธปกรณ์และเทคโนโลยีที่ทันสมัย
จาเป็นและเพียงพอ เพื่อพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความ
มั่นคงของรัฐ สถาบันพระมหากษัตริย์ ผลประโยชน์แห่งชาติ
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุขและเพื่อการพัฒนาประเทศ
๒. นโยบายความมั่นคงแห่งรัฐ
๒.๒ พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพของกองทัพและระบบป้องกันประเทศ ให้มีความ
พร้อมในการพิทักษ์รักษาเอกราช อธิปไตย ความมั่นคง และผลประโยชน์แห่งชาติ
สนับสนุนให้กองทัพมีโครงสร้างที่เหมาะสมและมีความทันสมัยส่งเสริมกิจการ
อุตสาหกรรมป้องกันประเทศให้สามารถบูรณาการขีดความสามารถของภาครัฐและ
เอกชนให้เป็นเอกภาพ นาไปสู่การพึ่งพาตนเองได้ในการผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์ได้เอง
สนับสนุนสิทธิและหน้าที่กาลังพลของกองทัพเพื่อให้เป็นทหารอาชีพในระบอบ
ประชาธิปไตยและสามารถผนึกกาลังกับประชาชนให้มีส่วนร่วมในการรักษาความมั่นคง
ของประเทศรวมทั้งกาหนดเป็นบทบาทของทหารในการช่วยเหลือประชาชน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งกรณีเกิดภัยพิบัติร้ายแรง ขณะเดียวกันจะปรับปรุงสวัสดิการของกาลังพลทุก
ระดับให้มีมาตรฐานการดารงชีวิตที่ดียิ่งขึ้น
๒.๓ พัฒนาและเสริมสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ
• ส่งเสริมให้กองทัพพัฒนาความสัมพันธ์ทางทหารกับมิตรประเทศ และมีความ
พร้อมในการปฏิบัติการเพื่อสันติภาพในกรอบสหประชาชาติ
• พัฒนาความสัมพันธ์ของหน่วยงานด้านความมั่นคงและกองทัพกับประเทศเพื่อน
บ้าน ทั้งจะแก้ไขปัญหาต่าง ๆ กับประเทศเพื่อนบ้านบนพื้นฐานของการสร้าง
บรรยากาศความไว้เนื้อเชื่อใจทั้งภาครัฐและภาคประชาชน
• ดาเนินการสารวจและจัดทาหลักเขตแดนตามหลักฐานพื้นฐานของกฎหมายและ
สนธิสัญญาที่มีอยู่เพื่อมิให้เป็นเงื่อนไขของความขัดแย้ง รวมทั้งส่งเสริมความ
ร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้าน
• เพื่อระงับยับยั้งและปราบปรามอาชญากรรมข้ามชาติและยาเสพติดให้หมดไป
รูปแบบโครงสร้างยุทธศาสตร์ทหาร
•วทบ. สบส.
•วทร. สรส.
•วทอ. สอส.
•วสท. สปท.
Strategy and Force Planning Framework ของ Lloyd
NATIONAL INTERESTS
NATIONAL OBJECTIVES
NATIONAL SECURITY
STRATEGY
POLITICAL ECONOMIC
MILITARY
NATIONAL MILITARY
STRATEGY
FISCAL & PROGRAM
GUIDANCE
ASSESSMENT
DEFICIENCIES & RISKS
ALTERNATIVES
PROGRAMMED FORCES
AVAILABLE FORCES
TECHNOLOGY
RESOURCE
CONSTRAINTS
THREATS
CHALLENGES
OPPORTUNITIES
ALLIED
FRIENDLY
NATION
INTERNATIONAL
INSTITUTIONS
โครงสร้างยุทธศาสตร์ชาติ
ผลประโยชน์แห่งชาติ
วัตถุประสงค์มูลฐาน
แห่งชาติ
(Basic National
Objectives)
วัตถุประสงค์เฉพาะ
แห่งชาติ (ที่เสนอ
Specific National
Objectives (Proposal)
นโยบายความมั่นคง
แห่งชาติ (ที่เสนอ)
National Security
(Proposal)
มาตรการเฉพาะ
(Specific Measures)
การตรวจสอบสภาพแวดล้อม
(Examination of Environment)
พิจารณาแรงผลักดัน (Forces) และ
แนวโน้ม (Trends) เพื่อทราบปัญหา
(Problems) และโอกาส (Opportunities)
วัตถุประสงค์เฉพาะแห่งชาติเผื่อเลือก
(Tentative Specific National Objective)
การวิเคราะห์กาลังอานาจและแบบแผนของ
ชาติเพื่อทราบกรณีเกื้อกูลและอุปสรรคโดย
พิจารณาความเป็นไปได้ (Acceptability)
ความเหมาะสม (Suitability)
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติเผื่อเลือก
(Tentative National Security Policy )
วิเคราะห์ผลดี ผลเสียเกี่ยวกับความเสี่ยง
(Risk) ข้อได้เปรียบ (Advantages)
ทรัพยากรที่มีอยู่ (Resources Available )
การวิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุนและอุปสรรค
คาตอบ กรรมวิธี/วิธีทาเพื่อให้ได้คาตอบ
ความต้องการ
(ENDs)
๓ ระดับ
การสนองความ
ต้องการ
(Ways and Means)
การกาหนดยุทธศาสตร์ทหาร
พิจารณาปัจจัยที่มีผลกระทบ
ต่อผลประโยชน์แห่งชาติ
และปัจจัยที่มีผลกระทบ
ต่อความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
ทางทหาร
วัตถุประสงค์ทางทหารที่เสนอ
กาหนดแนวความคิด
ทางยุทธศาสตร์ทหาร
กาลังภายใต้ขีดจากัดของงบประมาณ
เปรียบเทียบกาลังรบที่ต้องการ
กับกาลังภายใต้ขีดจากัดของ
งบประมาณมีความเสี่ยงสูงหรือไม่
ยุทธศาสตร์ทางทหารที่เสนอ
วัตถุประสงค์ทางทหาร
(เผื่อเลือก)
วิเคราะห์ความรุนแรงตาม
สถานการณ์และขีดความ
สามารถของประเทศใน
การเผชิญภัยคุกคาม
กาลังรบที่ต้องการ
ในการป้ องกันประเทศ
 พิจารณาขีดความสามารถที่มีอยู่
เปรียบเทียบกับแนวความคิดทาง
ยุทธศาสตร์
 พิจารณาปัจจัยอื่นประกอบ เช่น
- ภูมิประเทศ
- ขีดความสามารถของประเทศที่มี
แนวโน้มเป็ นภัยคุกคามฐานะทาง
เศรษฐกิจของประเทศ
ภายในประเทศ
ภายนอกประเทศ
พิจารณากาหนดความ
เร่งด่วน
ในการพัฒนากาลังรบ
ตรวจสอบขีดความสามารถ
ทางทหาร
กระบวนการจัดทายุทธศาสตร์ทหาร วสท.
ผลประโยชน์แห่งชาติ
วัตถุประสงค์แห่งชาติ
นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ(Economic, Social, Military, Political, Science Technology and
Environmental Strategy)
ยุทธศาสตร์ทหาร
 ตรวจสภาวะแวดล้อม (สถานการณ์ทั่วไปของโลก ภูมิภาค เพื่อนบ้าน ในประเทศ)
 ประเมินแนวโน้ม ปัญหา / โอกาส
 ทบทวนผลประโยชน์แห่งชาติ วัตถุประสงค์แห่งชาติ
 นโยบาย / กาหนดการ (บทบาททหารตาม รธน. นโยบายความมั่นคงแห่งชาติด้านการป้ องกันประเทศ
นโยบายรัฐบาล นโยบาย กห.
วัตถุประสงค์ทางทหารเผื่อเลือก
วัตถุประสงค์ทางทหารเฉพาะ
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ทหาร
การกาหนดขีดความสามารถทางทหาร
ทรัพยากร ที่ต้องการ
(ความต้องการกาลังรบและยุทโธปกรณ์ )
 การเปลี่ยนแปลงของสภาวะแวดล้อม
 การพัฒนาเทคโนโลยีของอาวุธ
 ลักษณะของความขัดแย้ง
End
WAYS
&
MEANS
ตัวแบบยุทธศาสตร์ทหาร
การกาหนดยุทธศาสตร์ทหาร วทบ.สบส.
ผลประโยชน์แห่งชาติ
วัตถุประสงค์แห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายความมั่นคง
แห่งชาติ
วัตถุประสงค์ทางทหาร
(Ends)
 ตรวจสอบสภาวะแวดล้อมทั่วไปทางทหาร
 ประเมินแนวโน้มและโอกาส
ทรัพยากรทางทหาร
(Means)
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์ทหาร
(Ways)
ตรวจสอบ
สภาวะแวดล้อมเฉพาะ
ตรวจสอบ
สภาวะแวดล้อมเฉพาะการปรับปรุงพัฒนา
ประเมินความเสี่ยง
การกาหนดยุทธศาสตร์ทหารและกาลังรบ วทร.สรส.
ผลประโยชน์แห่งชาติ
วัตถุประสงค์ของแห่งชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
นโยบายหน่วยเหนือ
วัตถุประสงค์ทางทหาร
ยุทธศาสตร์ทางทหาร
แนวความคิดทางยุทธศาสตร์
ความต้องการกาลังรบ
เปรียบเทียบกาลังรบที่มีอยู่
อัตราเสี่ยง
เป้ าหมายการเสริมสร้างกาลังรบ
แผนการเสริมสร้างกาลังรบตามห้วงเวลา
เทคโนโลยีการทหาร
ประเทศรอบบ้าน
พันธมิตร
มิตรประเทศ
สถาบันระหว่างประเทศ
ข้อจากัดด้านทรัพยากร
หาร
สภาวะแวดล้อมทางยุทธศาสตร์
- ภัยคุกคาม
- สิ่งท้าทาย
- โอกาส
ข้อจากัดด้านงบประมาณ
การกาหนดยุทธศาสตร์ทหาร วทอ.สอส.
ยุทธศาสตร์ชาติ
ตรวจสอบสภาวะ
แวดล้อมทางทหาร
วัตถุประสงค์ทางทหารที่เสนอ
แนวความคิด
ทางยุทธศาสตร์ทหาร
ตรวจสอบขีด
ความสามารถทางทหาร
กาลังภายใต้ขีดจากัด
ของงบประมาณ
เปรียบเทียบกาลังรบ
ที่ต้องการกับกาลัง
ภายใต้ขีดจากัดของ
งบประมาณมีความเสี่ยง
สูงหรือไม่
ยุทธศาสตร์ทางทหารที่เสนอ
พิจารณาปัจจัยที่มีผลกระทบ
ต่อผลประโยชน์ของชาติ
ภายในประเทศ
ภายนอกประเทศ
และปัจจัยที่มีผลกระทบต่อ
ความมั่นคงของชาติ
- พิจารณาขีดความสามารถ
เปรียบเทียบกับแนวความคิดทาง
ยุทธศาสตร์
- พิจารณาปัจจัยประกอบ
(ภูมิประเทศ ขีดความสามารถ
ข้าศึก ฐานะทางเศรษฐกิจ)
วัตถุประสงค์ทางทหารเผื่อเลือก
วิเคราะห์ความรุนแรงตาม
สถานการณ์และขีด
ความสามารถในการเผชิญ
กับภัยคุกคาม
กาลังรบที่ต้องการ
ในการป้ องกันประเทศ
พิจารณากาหนดความ
เร่งด่วน
ในการพัฒนา
กาลังรบ
A Model of Strategic Development
“Bartlett Model”
RESOURCES
CONSTRAINTS
SECURITY
ENVIRONMENT
OBJECTIVES
(ENDS)
STRATEGY
FORCES
(MEANS)
RISK
(WAYS)
ยุทธศาสตร์ ของ Bartlett Model
• ในทางทหารหมายถึง วิธีการ(Ways)ที่จะนากาลังอานาจ
(Power)มาใช้ให้บรรลุวัตถุประสงค์(Objective)ที่กาหนดไว้
• ยุทธศาสตร์จึงเป็นตัวเชื่อมระหว่างเครื่องมือ(Means)กับ
จุดมุ่งหมาย(Ends)
• แต่เครื่องมือและจุดมุ่งหมายมักจะมีความไม่เหมาะสมกัน การ
ที่จะหาวิธีการที่สามารถใช้เครื่องมือที่มีอยู่อย่างจากัด เพื่อให้
บรรลุจุดมุ่งหมาย จึงต้องค้นหาวิธีการที่เหมาะสม
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
• การประเมินยุทธศาสตร์ชาติ
• การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
• การพิจารณากาหนดวัตถุประสงค์เฉพาะ แห่งชาติเผื่อเลือก
• การวิเคราะห์กาลังอานาจแห่งชาติและแบบแผนของชาติ
• การกาหนดนโยบายความมั่นคงแห่งชาติ
ผลประโยชน์แห่งชาติ
๑. การมีเอกราช อธิปไตย และบูรณภาพแห่งเขตอานาจรัฐ
๒. การดารงอยู่อย่างมั่นคง ยั่งยืน ของสถาบันหลักของชาติ
๓. ความปรองดอง สามัคคีของคนในชาติ
๔. การดารงอยู่อย่างมั่นคงของชาติและประชาชนจากการคุกคามทุก
รูปแบบ
๕. ความปลอดภัย ความเป็นธรรม และความอยู่ดีมีสุขของ
ประชาชน การมีเกียรติและศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์
๖. การดารงอยู่อย่างมั่นคงของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิทธิเหนือ
ทรัพยากรชีวภาพของชาติ
๗. การอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขกับประเทศเพื่อนบ้าน
๘. การมีเกียรติและศักดิ์ศรีในประชาคมระหว่างประเทศ
สภาวะแวดล้อม
• สถานการณ์ต่างๆ ของโลก
• ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
• สภาพการเมืองระหว่างประเทศ
• สภาวะการณ์ภายในประเทศ
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
• การพิสูจน์ทราบ บรรยายให้เห็นถึงแรงผลักดันและแนวโน้มที่ท้า
ทายอานาจของชาติ ก่อให้เกิดปัญหาการคุกคาม โอกาส
• รวบรวมข่าวสารที่เกี่ยวข้อง เพื่อที่จะทราบแรงผลักดัน และ
แนวโน้ม ซึ่งก่อให้เกิดปัญหาและโอกาส
• การเปลี่ยนแปลงสภาวะแวดล้อมที่ทาให้ความเป็นอยู่แปรเปลี่ยนไป
ได้แก่ แรงผลักดัน การเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ทาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงค่อนข้างถาวร และวิกฤตการณ์ที่ส่งผลรุนแรงในระยะ
หนึ่ง และทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในส่วนต่างๆ ของโลก
ผลกระทบจาก
ผลกระทบ
ประชากรมากขึ้น ( แย่งชิงทรัพยากร แข่งขันทางเศรษฐกิจ
ทาลายสิ่งแวดล้อมสูงขึ้น)
โลกยุคข่าวสารข้อมูล และโลกาภิวัตน์
วิกฤตการณ์ที่สาคัญ น้ามัน โรคระบาด น้า ภัยพิบัติ
ผลกระทบในภูมิภาคในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก
การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ APEC AFTA ECS FTA
ความร่วมมือ 6 ประเทศลุ่มแม่น้าโขง และกลุ่มอื่นๆ
ผลกระทบ
„ ความร่วมมือด้านความมั่นคง
„ มีการสะสมอาวุธมากขึ้น เพื่อคุ้มครองเศรษฐกิจที่เจริญเติบโตอย่าง
รวดเร็ว
„ จีนเร่งพัฒนาเศรษฐกิจของตนเอง และขยายความสัมพันธ์มาทางใต้
„ ญี่ปุ่นเพิ่มบทบาททางการเมืองและความมั่นคง
„ ความขัดแย้งในภูมิภาคมีมากขึ้น
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
แ ร ง ผ ลั ก ดั น : ปรากฏการณ์อย่างหนึ่งอย่างใดที่จะมีผลกระทบ
หรือสามารถก่อให้เกิดผลกระทบต่อการดาเนินการใดๆ ของรัฐ ซึ่ง
อาจจะขัดขวางหรือสนับสนุนการบรรลุถึงซึ่งวัตถุประสงค์และ
ผลประโยชน์แห่งชาติได้
แ น ว โ น้ ม : หนทางหรือผลซึ่งแรงผลักดัน สามารถที่จะทาให้
เปลี่ยนแปลงไปได้แนวโน้มดังกล่าวเกี่ยวโยงไปถึงทิศทาง รูปแบบ
และระดับความรุนแรง ตามนัยของแรงผลักดัน
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ปั ญ ห า : สถานการณ์ หรือ สภาวการณ์ ที่ขัดต่อ การดาเนินนโยบาย
หรือขัดต่อ วัตถุประสงค์ที่ต้องการ หรือสภาพเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต ที่มีแนวโน้มจะไม่ตรงกับความต้องการ
ก า ร คุ ก ค า ม : พฤติกรรมที่คาดคะเนได้ว่าจะก่อให้เกิดความ
เสียหาย มีผลให้ฝ่ายที่ถูกคุกคามต้องกระทา หรือละเว้นการกระทา
อย่างใดอย่างหนึ่ง
โ อ ก า ส : กรณีแวดล้อมที่เป็นผลดีต่อผลประโยชน์แห่งชาติ เป็นกรณี
ที่ชาติสมควรจะแสวงประโยชน์ โดยการดาเนินการอย่างใด อย่าง
หนึ่ง เพื่อให้บรรลุถึงซึ่งวัตถุประสงค์หรือผลประโยชน์แห่งชาติ
การตรวจสอบสภาวะแวดล้อม
• รวบรวมข่าวสารเกี่ยวกับความรู้ภูมิหลังตามพื้นที่ภูมิศาสตร์ ปัญหาสาคัญ
ต่างๆ ทั้งภายนอกและภายในประเทศ
• กาหนดเรื่องราวข่าวสารที่เป็นภัยคุกคาม หรือมีผลกระทบต่อผลประโยชน์
และความมั่นคงแห่งชาติ
• ระบุประเทศที่เข้ามาเกี่ยวข้องให้ชัดเจน
• เหตุการณ์ภายใน รวบรวมตามภาคหรือเหตุการณ์ ถ้ามีต่างประเทศเข้ามา
เกี่ยวข้องให้ระบุด้วย
• พิจารณาแยกแรงผลักดันและแนวโน้มของแต่ละเรื่อง ประเมินแนวโน้มใน
ทิศทางของแนวโน้ม พิจารณาปัญหา การคุกคามและโอกาส
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมต่างประเทศ
• ผลประโยชน์แห่งชาติของต่างประเทศ
• วัตถุประสงค์แห่งชาติของต่างประเทศ
• นโยบายแห่งชาติของต่างประเทศ
• กาลังแห่งชาติของต่างประเทศ
• บทบาทของหน่วยงานและ บุคคลสาคัญของต่างประเทศ
• การกระทาของหน่วยงาน และบุคคลสาคัญของต่างประเทศ
• ประวัติศาสตร์ของต่างประเทศ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางกายภาพ
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการเมือง
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางสังคมจิตวิทยา
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางการทหาร
• การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิเคราะห์กาลังอานาจและแบบแผนของชาติ
การวิเคราะห์กาลังอานาจทางการทหาร
กาลังอานาจของชาติแบ่งออกเป็น ๕ องค์ประกอบ คือ
๑. กาลังอานาจทางการเมือง
๒. กาลังอานาจทางเศรษฐกิจ
๓. กาลังอานาจทางสังคมจิตวิทยา
๔. กาลังอานาจทางทหาร
๕. กาลังอานาจทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
กาลังอานาจทางทหาร
กาลังรบและ
อาวุธยุทโธปกรณ์
ศักย์สงคราม
ในการระดม
สรรพกาลัง
ทักษะ,ขวัญ,ผู้นา
หลักนิยมทางยุทธศาสตร์,หลักการสงคราม
ความคล่องแคล่ว,ขวัญทางการเมือง
ขีดความสามารถกาลังรบ
คุณภาพกาลังพล ประสิทธิภาพของอาวุธ โครงสร้างพื้นฐานและ
การสนับสนุนทางการส่ง
กาลังบารุง
คุณภาพการจัดหน่วย
ปัจจัยของกาลังอานาจทางทหาร
ก. เป็นโครงสร้างและการพัฒนากาลังรบตามเป้าหมาย
ข. ระดับของความพร้อมรบเปรียบเทียบกับภัยคุกคาม
ค. ขีดความสามารถในการระดมสรรพกาลัง
ง. กาลังสารองและยุทธปัจจัย
จ. ทรัพยากรและยุทธปัจจัย
ฉ. ที่ตั้ง ขนาดและแนวชายแดนของประเทศ
ช. ความสามารถทางเศรษฐกิจ
ซ. ความสามารถในการบริหารทรัพยากร
ด. ขวัญและการปลุกระดมเพื่อการสงคราม
ต. พันธมิตรที่เข้มแข็งและเชื่อถือได้
กาลังอานาจทางทหาร มี ๒ ประเภท
กาลังอานาจที่มีตัวตนและกาลังอานาจที่ไม่มีตัวตน กาลังอานาจที่ไม่มี
ตัวตน ได้แก่
๑. ความสามัคคี
๒. อุดมการณ์ของชาติ
๓. การบริหาร
๔. ลักษณะผู้นา
๕. ขวัญและกาลังใจ
๖. วินัย
๗. ความเชี่ยวชาญทาง ยุทธศาสตร์, ยุทธวิธี
๘. การทูต
การวิเคราะห์กาลังอานาจทางทหาร
๑. หลักนิยมทางทหาร
๒. โครงสร้างของการควบคุมบังคับบัญชา
๓. การจัดหน่วย กาลังและการประกอบกาลัง
๔. ที่ตั้งและการวางกาลัง
๕. ขีดความสามารถในการส่งกาลังบารุง
๖. ความสามารถในการระดมสรรพกาลัง
๗. แนวโน้มของกาลังอานาจทางทหารในอนาคต
๘. พันธมิตรและมิตรประเทศ
๙. การพัฒนาเทคโนโลยีและทรัพยากรที่มีอยู่
หลักนิยมทางทหาร
• หลักนิยมทางทหารต้องเหมาะสมกับลักษณะของสงครามและการสู้รบที่
เกิดขึ้น
• การเปลี่ยนแปลงในอนาคต ทั้งในด้านระบบอาวุธ การจัดการส่งกาลังบารุง
ยุทธวิธี และยุทธศาสตร์
• การกาหนดและยึดถือหลักนิยมที่ผิดจะทาให้กาลังอานาจทางทหารไร้ค่า
(๑) มีหลักนิยมที่เกี่ยวกับการใช้กาลังทหารเขียนไว้หรือไม่
(๒) ในอดีตเคยทาสงครามชนิดใดมาบ้างแล้ว
(๓) การวิเคราะห์หลักนิยมที่ผ่านมาแล้วในอดีตเคยปรากฏเป็นแบบใดบ้าง
หรือไม่
โครงสร้างในการควบคุมบังคับบัญชา
• การควบคุมบังคับบัญชา เปรียบเสมือนระบบสมองและประสาท
• มีการติดต่อสื่อสารที่ดี ให้มีประสิทธิภาพ มีเอกภาพ ไม่มีหน่วยรองมากเกินไป ไม่มี
ผู้บังคับบัญชาหลายระดับเกินความจาเป็น
• มีการแบ่งมอบอานาจหน้าที่ที่ดี ประสิทธิภาพจาเป็น
• ปัจจุบันสามารถทราบเหตุการณ์ในแนวรบ และอานวยการรบได้คล่องแคล่วทันต่อ
เหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้รวมทั้งช่วยการสื่อสารโทรทัศน์ ดาวเทียม
กล้องแสงอินฟราเรด ฯลฯ
(๑) หน่วยทหารที่ได้จัดตั้งขึ้นนั้นมีพลเรือนเป็นผู้ปกครองในหน่วยระดับใดบ้างหรือไม่ ในลักษณะ
ใด ถึงระดับใด
(๒) มีการจัดกาลังทหารเป็นอย่างไร, มีกาลังรบทางยุทธศาสตร์หรือไม่ หลักการทางยุทธวิธีกับ
หลักการจัดการบริหารและการปกครองเป็นอย่างไร
(๓) มีการจัดฝ่ายเสนาธิการอย่างไร
(๔) มีการติดต่อสื่อสารเป็นเอกเทศจากพลเรือนเพื่อใช้เฉพาะทางทหารหรือไม่
กาลังและการประกอบกาลัง
• ขนาดของกาลังป้องกันประเทศ เห็นได้ถึงความเข้มแข็งหรืออ่อนแอ
• มีกองทัพขนาดใหญ่ย่อมเป็นที่เกรงขาม ถ้ามีกองทัพขนาดเล็ก
อาจจะถูกคุกคาม
• การประกอบกาลัง การประกอบกาลังที่ไม่เหมาะสมกับภารกิจ
สภาพภูมิประเทศและลมฟ้าอากาศในการสู้รบ จะกลายเป็นกองทัพ
ที่มีแต่ปริมาณ ขาดคุณภาพ
– ขนาดของกาลังรบเหล่าต่าง ๆ กับขนาดของเหล่าทัพเป็นอย่างไร
– เหล่าทัพใด, บก, เรือ หรืออากาศ ที่เป็นเหล่าทัพหลัก
– มีกองกาลังกึ่งทหารพร้อมที่จะใช้การได้อยู่หรือไม่
ที่ตั้งและการวางกาลัง
• ที่ตั้ง และการวางกาลังหน่วยทหาร ต้องเป็นไปตามแผน
ยุทธศาสตร์ในการป้องกันประเทศ
• การวางกาลังที่ถูกต้องเหมาะสมเป็นการใช้กาลังอานาจทาง
ทหารที่มีประสิทธิภาพ และอาจเป็นการเสริมสร้างให้กาลัง
อานาจทางทหารเข้มแข็งขึ้น
– กาลังทหารภายในประเทศตั้งอยู่ที่ไหนบ้าง
– มีกาลังทหารไปตั้งอยู่นอกประเทศบ้างหรือไม่
ความสามารถในการระดมสรรพกาลัง
• เพื่อการประหยัด และผลทางเศรษฐกิจของชาติ
• การระดมสรรพกาลังแยกได้เป็น ๒ ด้าน
– การระดมสรรพกาลังทางทหาร ระดมทหารกองหนุนและกองเกิน สารองและ
สะสมสิ่งอุปกรณ์ในการส่งกาลังบารุง
– การระดมสรรพกาลังทางเศรษฐกิจ เป็นการรวบรวมและจัดระเบียบทรัพยากร
ทางเศรษฐกิจของชาติให้พร้อมที่จะใช้สนับสนุนการป้องกันประเทศหรือการทหาร
ทั้งทรัพยากรด้านกาลังคน ยุทโธปกรณ์และบริการ
• มีกาลังกองหนุนเข้าประจาการอยู่บ้างหรือไม่
• ใช้เวลานานเท่าใดในการเรียกระดมกองหนุนเข้าประจาการ
• ที่ตั้งกาลังสารองตั้งอยู่ที่ไหน
การส่งกาลังบารุง
• การส่งกาลังบารุงหมายรวมถึงการส่งกาลังการซ่อมบารุง การ
ส่งกลับและรักษาพยาบาล การขนส่ง และการก่อสร้าง
– ขีดความสามารถของหน่วยทหารในการส่งกาลัง การบารุงรักษาและ
การซ่อมบารุง การก่อสร้าง การขนส่ง และการเคลื่อนย้ายกาลังรบ
รวมทั้งอุปกรณ์ แรงงาน การส่งกลับเพื่อการรักษาพยาบาลและการ
รักษาพยาบาล
– ความสามารถในการส่งกาลังบารุงทางทหารมีความสมบูรณ์ได้สัดส่วนกับ
เศรษฐกิจทางด้านพลเรือนมากน้อยเพียงใด
– สถานภาพทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการพลังงานและสิ่งแวดล้อม
เป็นอย่างไร
พันธมิตรและมิตรประเทศ
• การป้องกันร่วมกันมีลักษณะเกี่ยวกับประเทศที่เป็นสมาชิก และ
ผลประโยชน์ร่วมกันอัน
• แท้จริง มีระยะเวลา และพื้นที่ที่กาหนด มีการช่วยเหลือของ
บรรดา
แนวโน้มในอนาคตและการพัฒนาเทคโนโลยีและทรัพยากรที่มีอยู่
• มีการประกาศเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับการโยกย้ายกาลังทางทหาร
หรือหลักนิยมในทางทหารหรือไม่
• มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นบ้างหรือไม่ ในลักษณะใด
การปฏิบัติการอื่นที่มิใช่สงคราม
• โจรสลัด
• การลักลอบนาคนเข้าเมือง
• การลักลอบค้าอาวุธ
• การลักลอบค้าอุปกรณ์นิวเคลียร์
• การค้าผู้หญิงและเด็ก
• การลักลอบค้าอวัยวะมนุษย์
• การโจรกรรมและลักลอบค้ายานพาหนะ
• อาชญากรรมทรัพย์สินทางปัญญา และคอมพิวเตอร์
• การฟอกเงิน
การทหารของไทยในเวทีต่างประเทศ
„ ระดับโลก:
‟ มีส่วนร่วมในเวทีต่างประเทศ/ไม่สวนกระแสโลก
„ ระดับภูมิภาค:
‟ ในภูมิภาคมีขั้วอานาจสหรัฐฯ จีน ญี่ปุ่น อินเดีย ออสเตรเลีย
‟ การรวมกลุ่ม ASEAN , ARF
„ ระดับประเทศรอบบ้าน:
‟ ทวิภาคี ร่วมมือ การทูตเชิงป้องกัน
‟ สร้างความสัมพันธ์ความไว้เนื้อเชื่อใจ
‟ สร้างดุลย์แห่งอานาจทางการทหาร
๖. เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศโดย
๖.๑ พัฒนากองทัพให้มีโครงสร้างกาลังกองทัพที่เหมาะสม มี
ความพร้อม และมีขีดความสามารถในการป้องกัน ป้องปราม
และต่อต้านภัยคุกคามที่มีต่ออธิปไตยของดินแดน น่านน้าและ
น่านฟ้า รวมทั้งคุ้มครองเส้นทางคมนาคมทางทะเล ตลอดจน
ผลประโยชน์ของชาติภายนอกประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ในทุกระดับของสถานการณ์ที่กระทบต่อผลประโยชน์ของชาติ
๖. เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ โดย
๖.๒ สนับสนุนให้กองทัพมีระบบอาวุธและระบบการแจ้งเตือนภัยทาง
ทหารที่มีขีดความสามารถในการป้องปรามทางยุทธศาสตร์ และ
พึ่งตนเองได้อย่างมั่นใจ เพื่อเตรียมรับสถานการณ์ที่ไม่แน่นอนใน
อนาคต โดยส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาอุตสาหกรรมป้องกันประเทศ
การมีส่วนร่วมระหว่างกองทัพกับหน่วยงานวิจัยของภาครัฐ องค์กร
สถาบันวิจัย และสถาบันการศึกษาด้านเทคโนโลยีของภาครัฐและ
ภาคเอกชนทั้งในประเทศและต่างประเทศ เป็นลาดับต้น และจัด
งบประมาณสนับสนุนอย่างเพียงพอเป็นการต่อเนื่อง รวมทั้งมีกรอบ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ชัดเจน
๖. เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ
๖.๓ พัฒนาศักยภาพของชาติในการป้องกันประเทศ ด้วยการ
ผนึกกาลังจากทุกฝ่าย ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาค
ประชาชนเข้าด้วยกันอย่างเป็นระบบในการรักษาความสงบ
เรียบร้อย และความมั่นคงของชาติ
๖. เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ
๖.๔ นาศักยภาพของกองทัพในยามปกติเข้ามาช่วยเสริมสร้าง
ความสามัคคีของคนในชาติและการพัฒนาประเทศ และมี
ส่วนร่วมบรรเทาภัยพิบัติทางธรรมชาติ และการแก้ไขปัญหา
ความมั่นคงของชาติในรูปแบบต่าง ๆ รวมทั้งเสริมสร้าง
ความเข้มแข็งของประชาชนและชุมชนพื้นที่ชายแดน
๖. เสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพการป้องกันประเทศ
๖.๕ พัฒนาความร่วมมือทางทหารและความเข้าใจอันดีกับกองทัพ
ของประเทศเพื่อนบ้านและกลุ่มอาเซียนรวมทั้งมิตรประเทศ
อื่นๆ อย่างใกล้ชิดในทุกระดับ และเสริมสร้างความร่วมมือทาง
ทหารกับ ประเทศมหาอานาจอย่างสมดุลบนพื้นฐานของการ
รักษาผลประโยชน์ร่วมกัน โดยสอดคล้องกับนโยบายต่างประเทศ
รวมทั้งสนับสนุนภารกิจในการรักษาสันติภาพของโลกภายใต้
กรอบของสหประชาชาติ ตลอดจนมีส่วนร่วมบรรเทาภัยพิบัติทาง
ธรรมชาติในภูมิภาค
ขอบคุณครับ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น หรือถามคาถามเพิ่มเติมได้ที่
www.facebook.com/ekkachai.srivilas
www.elifesara.com

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2teerachon
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะPop Punkum
 
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นThirawut Saenboon
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์nasomyon13
 
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)Khunakon Thanatee
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาจักรพงษ์ แผ่นทอง
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอนKobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
คำนาม
คำนามคำนาม
คำนาม
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.2
 
ความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติความมั่นคงแห่งชาติ
ความมั่นคงแห่งชาติ
 
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
ความหมายและความสำคัญของสุนทรียะ
 
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่นการวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
การวิเคราะห์และวิจารณ์ภาพยนตร์แอนิเมชั่น
 
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
 
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
Construct 2 Manual (คู่มือ Construct 2 ฉบับภาษาไทย)
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนาโครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
โครงงานคณิตศาสตร์กับวิถีชีวิตชาวนา
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
แผนผังขบวบวนพาเหรด
แผนผังขบวบวนพาเหรดแผนผังขบวบวนพาเหรด
แผนผังขบวบวนพาเหรด
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
แบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรปแบบทดสอบทวีปยุโรป
แบบทดสอบทวีปยุโรป
 
30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน30 เทคนิคการสอน
30 เทคนิคการสอน
 

Viewers also liked

ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติplaplaruzzi
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติLink Standalone
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามTeeranan
 
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc25561กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556Taraya Srivilas
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติTeeranan
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.Taraya Srivilas
 
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯIsriya Paireepairit
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองTaraya Srivilas
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59Taraya Srivilas
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองTaraya Srivilas
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์Taraya Srivilas
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-NewTaraya Srivilas
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมTaraya Srivilas
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีTaraya Srivilas
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันTaraya Srivilas
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือTaraya Srivilas
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยTaraya Srivilas
 

Viewers also liked (20)

ยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติยุทธศาสตร์ชาติ
ยุทธศาสตร์ชาติ
 
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติเศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
เศรษฐกิจกับความมั่นคงแห่งชาติ
 
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
ความมั่นคงแห่งชาติและภัยคุกคาม
 
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc25561กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
1กำลังอำนาจแห่งชาติ ndc2556
 
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
ภัยคุกคามความมั่นคงแห่งชาติ
 
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
กำลังอำนาจแห่งชาติ Ndc วปอ.มส.
 
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ20160208  เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
20160208 เอกสารรายละเอียด (ร่าง) แผนพัฒนาดิจิทัลฯ
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมืองความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
ความขัดแย้งที่ถูกมองข้าม ในมุมมองเศรษฐศาสตร์การเมือง
 
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-599. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
9. รศ.ดร.ฉันทนา (รัฐศาสตร์ ๖๐ สำรวจขันติธรรม) 1 07-59
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
1สรุปโครงการดรีม ไทยแลนด์
 
Thai civic org
Thai civic orgThai civic org
Thai civic org
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-New
 
Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคมส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
ส่งเสริมความเข้มแข็งของสถาบันศาสนา เพื่อให้เป็นสถาบันหลักของสังคม
 
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนีบทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
บทเรียนประชาธิปไตยจากประเทศเยอรมนี
 
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบันรายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
รายงานสันติสุขเกิดได้ภายใต้ความแตกต่าง ส่งสถาบัน
 
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือจากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
จากสงครามสู่สมานฉันท์ ลองฟังประสบการณ์จากไอร์แลนด์เหนือ
 
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยพุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
พุทธบูรณาการสมานฉันท์และลดความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 

โครงสร้าง กระบวนการกำหนด และพัฒนายุทธศาสตร์ทหาร