SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  87
Télécharger pour lire hors ligne
สารบ ั ญ


•	 พงันในอดีตกว่าจะมาเป็นเกาะพะงัน	                                    4    •	 งามหาดทรายนํ้าใสทะเลสวย หาดท้องนายปาน	                            87
•	 เกาะพะงันกับคุณค่าและความหมายของการเสด็จประพาส	                     8    •	 งามจันทร์กระจ่างฟ้า ฟูลมูนปาร์ตี้ที่คนทั้งโลกใฝ่ฝัน	              90
•	 เกาะพะงัน สวรรค์ของคนรักธรรมชาติ	                                  16    •	 ตัวอย่างที่พักน่าสนใจและได้มาตรฐาน บนหาดต่างๆ ของเกาะพะงัน	       97
•	 ภูมิศาสตร์ของเกาะพะงันเพชรเม็ดงามบริสุทธิ์ของอ่าวไทย	              21	   •	 ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดในวก หาดท้องศาลา	                    98
•	 ฤดูกาลและการเดินทางท่องเที่ยวเกาะพะงัน	                            24    	 หาดบางจะรุ หาดบ้านใต้ หาดบางนํ้าเค็ม บ้านค่าย และหาดหินล่อ
•	 แหล่งท่องเที่ยวบริเวณหาดท้องศาลา	                                  29    •	 ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดบางสน หาดริ้นใน หาดสีกันตัง	        109
•	 หาดท้องศาลา	                                                       30    	 หาดลีลา หัวแหลม หาดริ้นนอก หาดคนที หาดยวน
•	 ถนนคนเดินวิถีชีวิตและสีสันวันสุดสัปดาห์	                           32    	 หาดเทียนตะวันออก หาดยาวตะวันออก และหาดหวายนํ้า
•	 ท่องหาดตะวันตกเสน่ห์งามยามเย็นเกาะพะงัน	                           38    •	 ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดท้องนายปานน้อย	                     119
•	 งามวิถีชีวิต งามชวนคิดมะพร้าวเอนอ่าววกตุ่ม	                        41    	 หาดท้องนายปานใหญ่ หาดธารเสด็จ และหาดทองเหรง
•	 งามตะวันลับขอบฟ้าหาดศรีธนู หาดเจ้าเภา หาดสน	                       44    •	 ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดสลัด หาดแม่หาด หาดทองหลาง	          132
•	 งามเม็ดทรายชายทะเล หาดยาว หาดสลัด	                                 49    	 อ่าวหินงาม อ่าวโฉลกหลำ� หาดขอม และหาดขวด
•	 งามมหัศจรรย์ทะเลแหวกเกาะพะงัน ที่แม่หาด เกาะม้า	                   52    •	 ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดปลายแหลม หาดวกตุ่ม	                 142
•	 งามวิถีชีวิตชุมชน หาดโฉลกหลำ� งามลํ้าหินสวย หาดหินงาม	             57    	 หินกอง หาดศรีธนู หาดเจ้าเภา หาดสน หาดดาวดึก
•	 งามย้อนอดีตสู่เส้นทางวิถีชุมชนบ้านมะเดื่อหวาน บ้านในสวน	           66    	 หาดยาว หาดเทียน และหาดกรวด
•	 งามพิสุทธิ์หัวใจสีเขียวเที่ยวพิชิตยอดเขาหรา นํ้าตกแพง	             74    •	 ที่พักเกาะพะงัน	                                              160-168
•	 งามจากอดีตสู่ปัจจุบันงามลํ้าธรรมชาติ ชุมชนเก่าบ้านใต้ บ้านค่าย 	   80
พงันในอดีตกว่าจะมาเป็นเกาะพะงัน

        	 เกาะพะงัน นับเป็นเกาะขนาดใหญ่เคียงคู่กับเกาะสมุย ตั้งอยู่ใน
    ทะเลอาวไทยบรเวณทเรยกวา ชองอางทอง ของจงหวดสราษฎรธานี เปน
          ่       ิ    ี่ ี ่ ่ ่                ั ั ุ       ์      ็
    เกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ในประเทศไทยรองจากเกาะภูเก็ต
    เกาะสมุย เกาะช้างและเกาะตะรุเตา โดยมีพื้นที่ 122 ตารางกิโลเมตร
            จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี เชื่อว่าเกาะพะงันนี้
    เคยมีผู้คนอาศัยอยู่มานานกว่า 1,300-2,000 ปี โดยคนกลุ่มแรกที่มาถึง
    เกาะพะงันน่าจะเป็นนักเดินเรือชาวโจฬะหรือชนเผ่าทมิฬ ซึ่งเป็นคนพื้น
    เมืองในแถบอินเดียตอนใต้ที่เจริญรุ่งเรืองอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 14
    ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 โดยเฉพาะในรัชสมัยพระเจ้าราชาราชะโจฬะที่ 1
    และพระเจ้าราเชนทระโจฬะที่ 1 ที่ได้ทรงแผ่ขยายพระราชอาณาจักรมา
    ถงคาบสมทรมลายู ซงตรงกนกบยคสมยอาณาจกรศรวชยในสมยนน และ
      ึ        ุ        ึ่     ั ั ุ ั            ั ีิั       ั ั้
    ไดมการเดนเรอคาขายกบดนแดนแถบนจนมผคนเขามาตงถนฐานอยตาม
        ้ ี      ิ ื ้     ั ิ             ี้ ี ู้ ้ ั้ ิ่         ู่
    เกาะต่างๆ เช่นที่เกาะพะงันนี้เป็นต้น




4                                                                         5
อย่างไรก็ดี หลักฐานการตั้งชุมชนแบบถาวรบนเกาะพะงัน
    น่ า จะเริ่ ม ต้ น มาตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย จนถึ ง สมั ย                     
    กรงรตนโกสนทรตอนตนทเกาะพะงนขนอยกบเมองไชยา ในขณะ
        ุ ั        ิ ์          ้ ี่            ั ึ้ ู่ ั ื
    ที่เกาะสมุยซึ่งอยู่ใกล้เคียงไปขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราช ตราบ  
    จนกระทั่งรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
    รัชกาลที่ 4 จึงได้รวมพื้นที่เกาะสมุยและเกาะพะงันเข้าเป็นอำ�เภอ
    เดียวกัน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2440 ใช้ชื่อว่า อำ�เภอ
    เกาะสมุย สังกัดเมืองกาญจนดิษฐ์ ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นจังหวัด
    สุราษฎร์ธานีในที่สุด ส่วนเกาะสมุยและเกาะพะงันนั้นได้รวมเป็น
    อ�เภอเดยวกนอยประมาณ 63 ปี แลวไดแยกพนทเกาะพะงนออก
      ำ        ี ั ู่                            ้ ้     ื้ ี่ ั
    เป็นกิ่งอำ�เภอ เมื่อพ.ศ. 2513 ก่อนที่จะยกฐานะเป็นอำ�เภอ
    เกาะพะงันตั้งแต่ พ.ศ. 2520 เป็นต้นมา
          สำ�หรับชื่อของเกาะพะงันนั้น มีที่มาอยู่หลายแหล่งบ้างก็ว่า
    มาจากภาษาแขกหรือภาษามลายู เรียก สันดอนดินทรายว่า
    “ราฮัน” แปลว่า “เงาตะคุ่ม” และภายหลังมีคนเรียกเพี้ยนไปจน
    เป็นคำ�ว่า “พงัน” ในขณะที่อีกความเชื่อหนึ่งเชื่อว่าเกาะแห่งนี้มี
    ชื่อเก่าเรียกขานกันมาอยู่แล้วว่า “เกาะงัน” ซึ่งเป็นภาษาถิ่น     
    หมายถึง สันดอนดินทรายที่มักจะผุดโผล่ขึ้นมารอบๆ เกาะในช่วง
    เวลานํ้าลด อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเกาะแห่งนี้ ชาวบ้าน   
    เรยกวา “หลงงน” ภายหลงจงมคนเรยกเพยนมาเปน “พงน”  และ
        ี ่       ั ั           ั ึ ี ี ี้          ็     ั
    ตอมาเมอมการยกฐานะกงอ�เภอเกาะพงนขนเปนอ�เภอ จงมการ
      ่      ื่ ี           ิ่ ำ            ั ึ้ ็ ำ        ึ ี
    ประวิสรรชนียกลายเป็นชือ “เกาะพะงัน” สืบต่อมาจนถึงปัจจุบน
                    ์         ่                                  ั




6                                                                                             7
เกาะพะงันกับคุณค่า                                                                                       เกาะพะงัน นับเป็นสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า    
    และความหมายของการเสด็จประพาส                                                                      เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเป็นการส่วนพระองค์และได้เคยเสด็จประพาส
                                                                                                      มาถึงที่นี่บ่อยครั้งกว่าที่แห่งใดในประเทศไทยถึง 14 ครั้ง ระหว่าง พ.ศ. 2431-
                                                                                                      2452 ซงมทงทเปนทางผานตามเสนทางเสดจสแหลมมลายหรอการเสดจมณฑล
                                                                                                               ึ่ ี ั้ ี่ ็       ่       ้         ็ ู่        ู ื       ็
          	 ในห้วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ของการเสด็จประพาสไปในสถานที่ต่างๆ                              ฝ่ายใต้ เช่นเมืองนครศรีธรรมราช สงขลา เป็นต้น การเสด็จประพาสครั้งแรกนั้น
    ของพระมหากษั ต ริ ย์ ไ ทยนั้ น พระพุ ท ธเจ้ า หลวงหรื อ พระบาทสมเด็ จ                             เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2431 (ร.ศ. 107) เป็นการเสด็จประพาสเมืองสงขลาและแวะที่
    พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 นับทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงโปรด                           เกาะพะงันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2431 ครั้งกระนั้นพระองค์
    การเสด็จประพาสหัวเมืองต่างๆ ไปและทรงเยี่ยมเยียนราษฎรของพระองค์                                    เสด็จประพาสธารนํ้าตกแห่งหนึ่งบนเกาะพะงัน ซึ่งต่อมาพระองค์ท่านได้เสด็จ
    อยู่เสมอ ถึงขนาดบางครั้งพระองค์ก็เสด็จประพาสไปในที่ต่างๆโดย การเสด็จ                              กลบมาเยอนนาตกแหงนอกหลายครงและพระราชทานนามวา “นาตกธารเสดจ”
                                                                                                           ั      ื ํ้        ่ ี้ ี        ั้                   ่ ํ้          ็
    ประพาสแต่ละครั้งทรงไม่เปิดเผยพระองค์เองว่า เป็นเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ทำ�ให้                          และโปรดให้จารึกอักษรพระปรมาภิไธยย่อ “หิน จปรที่ ๑” ไว้ที่โขดหินบริเวณ
    ทรงได้ รั บ รู้ ถึ ง ความทุ ก ข์ สุ ข ของอาณาประชาราษฎร์ แ ละเห็ น ความเป็ น อยู่                 นาตกธารเสดจนี้ เพอเปนการบนทกประวตการเดนทาง หากคดอกมมหนงกเพอ
                                                                                                        ํ้            ็     ื่ ็        ั ึ     ั ิ      ิ          ิ ี ุ ึ่ ็ ื่
    ของบ้านเมืองตามชนบท ตลอดจนได้สร้างความใกล้ชิดกับราษฎร นับเป็น                                     เป็นการประกาศพระราชอาณาเขตของพระองค์ด้วยอีกนัยหนึ่ง เพราะสมัยนั้น
    พระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง                                                     ชาติตะวันตกออกล่าอาณานิคมมายังดินแดนตะวันออกซึ่งมีประเทศแถบเอเชีย
                                                                                                      ตะวันออกเฉียงใต้เป็นเป้าหมาย


8                                                                                                                                                                                   9
นํ้าตกธารเสด็จแห่งนี้หากเป็นเมื่อ พ.ศ. 2431 ก็น่าเชื่อว่าจะงดงามอุดมสมบูรณ์เป็นธรรมชาติ   
     ยิ่งนัก เพราะแม้กระทั่งวันนี้กาลเวลาผ่านไปถึง 124 ปี ผืนป่าบริเวณนํ้าตกธารเสด็จก็ยังอุดมสมบูรณ์
     ร่มรื่นสวยงามที่สุดบนเกาะพะงันไม่เสื่อมคลาย เพียงแต่ว่าฤดูแล้งวันนี้อาจจะมีนํ้าท่าไม่อุดมสมบูรณ์
     เท่าวันวานคงสวยงามเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น แต่ก็นับว่าเป็นมนต์ขลังและความมีเสน่ห์ที่มีมาแต่
     โบราณกาลโดยแท้
           การเสด็จประพาสนํ้าตกธารเสด็จในครั้งต่อๆมาของพระองค์ ก็เพื่อสรงนํ้าที่ลำ�ธารแห่งนี้ รวมทั้ง
     ยังเป็นแหล่งนํ้าจืดในระหว่างเส้นทางการเดินเรือ ซึ่งทรงมีสายพระเนตรที่ยาวไกลสมกับการเป็น         
     นักเดินทางและนักบุกเบิกผจญภัยโดยแท้ นอกจากนั้นพระองค์ยังได้ทรงสำ�รวจนํ้าตกแห่งใหม่ที่อยู่     
     ในบริเวณไม่ไกลกันกับนํ้าตกธารเสด็จอีก 2 แห่ง พระราชทานนามว่า “นํ้าตกธารประพาศ” และ        
     “นํ้าตกธารประเวศ”
          ปัจุจบันการเดินทางเข้าไปเที่ยวยังนํ้าตกธารเสด็จนั้นสะดวกสบายขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก เนื่อง       
     จากถนนที่ตัดข้ามเกาะพะงันไปยังอ่าวท้องนายปานทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะได้      
     เสร็จสมบูรณ์เกือบทั้งหมดแล้ว คงเหลือช่วงที่เป็นทางลูกรังอีก 4 กิโลเมตร ก่อนถึงปากทางเข้านํ้าตก
     ธารเสด็จ จากนั้นจะมีถนนลูกรังแยกเข้าสู่นํ้าตกธารเสด็จ ระยะทางอีก 3 กิโลเมตร ถึงที่ทำ�การอุทยาน
     แห่งชาติธารเสด็จ ฤดูแล้งรถปิกอัพเดินทางได้สะดวก ส่วนฤดูฝนยังต้องใช้รถขับเคลื่อนสี่ล้อจึงจะ        
     เดินทางไปถึงได้ ส่วนรถเก๋งไม่แนะนำ�




10                                                                                                        11
ระหว่างทางจากจุดแยกนี้ ถือว่าเป็น  
     ดิ น แดนแห่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง
     เ พ ร า ะ น อ ก จ า ก พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ                        
     พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 5        
     แล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่
     หัว รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า
     เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และสมเด็จพระนาง
     เจ้ารำ�ไพพรรณี ตลอดจนพระบาทสมเด็จ
     พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9  
     ก็ ล้ ว นแต่ เ คยเสด็ จ ประพาสมายั ง นํ้ า ตก      
     ธารเสด็จแห่งนี้ โดยมีจารึกพระปรมาภิไธย
     ย่ อ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ        
     ทง 3 รชกาลจารกไวบนแผนหนเรยงรายเปน
        ั้ ั           ึ ้        ่ ิ ี            ็
     ระยะริมธารเสด็จถึง 10 แห่ง ซึ่งอนุชนรุ่น
     หลังสามารถศึกษาหาความรู้ได้




                                                                                   เมื่อเดินทางเข้าไปตามทางแยกสู่นํ้าตกธารเสด็จ ทางด้านขวามือก็จะพบ
                                                                            พื้นที่โบราณสถานกลุ่มแรก ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ของ
                                                                            พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 5 ถั ด ไปเป็ น จารึ ก              
                                                                            พระปรมาภิไธยย่อ “จปร ๑๐๘ ต่อไปมีไร่” และฟากตรงข้ามลำ�ธารจะเป็นจารึก
                                                                            พระปรมาภิไธยย่อ “ปปร ๒๔๖๙, ๒๔๗๑” ต่อจากนั้นเมื่อเดินทางลึกเข้าไปอีก
                                                                            ก็จะพบโบราณสถานกลุ่มที่สอง อยู่ทางด้านขวามือเช่นกัน โบราณสถานกลุ่มนี้
                                                                            จะมจารกพระปรมาภไธยยอ “วปร ๑๓๐” จารกพระปรมาภไธยยอ “จปร” และ
                                                                                ี ึ                ิ ่                     ึ            ิ ่
                                                                            จลศกราชทเสดจประพาส จารกพระปรมาภไธยยอ “ปปร,รพ ๒๔๖๙”  ครนเมอ
                                                                             ุ ั          ี่ ็           ึ            ิ ่                              ั้ ื่


12                                                                                                                                                                            13
เดินทางเลยที่ทำ�การสำ�นักงาน อุทยานแห่งชาติธารเสด็จเข้าไปอีกก็จะเป็นพื้นที่โบราณสถานกลุ่มที่
     สาม ซงกลมนมจารกเรยงรายอยสองฝงล�ธารคอ จารกอกษรพระนามยอ “รพ” ทางฝงซายของล�ธาร
            ึ่ ุ่ ี้ ี ึ ี          ู่ ั่ ำ          ื    ึ ั               ่            ั่ ้     ำ
     และจารึกพระปรมาภิไธยย่อ “ภปร ๒๓ เมษายน ๒๕๐๕” และจารึกอักษรคำ�ว่า ธารเสด็จ ที่ล้นเกล้า
     รัชกาลที่ 5 ได้ทรงให้จารึกไว้แต่ครั้งเสด็จนํ้าตกแห่งนี้เมื่อปี พ.ศ.2432 ส่วนด้านในสุดบริเวณใกล้กับ
     ปากลำ�ธารจะเป็นกลุมโบราณสถานกลุมสุดท้าย ด้านซ้ายมือจะเป็นจารึกพระปรมาภิไธยย่อ  3 รัชกาล
                         ่                  ่
     และพลับพลาเก่าที่เคยประทับซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะขึ้นมาใหม่เป็นอนุสรณ์ บริเวณใกล้ลำ�ธาร   
     มีจารึกอักษรจีนย่อ “จปร ๑๑๙” เป็นจารึกสุดท้ายที่พบตลอดแนวลำ�ธารสายประวัติศาสตร์แห่งนี้
     ส่วนต้นจันกะพ้อ 4 ต้นที่มีบันทึกว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เคยปลูกไว้บริเวณ
     พลับพลาแห่งนี้ปัจจุบันไม่พบว่ามีหลงเหลืออยู่ คาดว่าคงจะสูญหายล้มตายไปหมดแล้ว
          สำ�หรับการเที่ยวชมนํ้าตกธารเสด็จสามารถท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ฤดูที่ดีที่สุดควรเป็นช่วง    
     ปลายฤดูฝนราวเดือนมกราคมจะมีนํ้ามากกว่าในฤดูอื่น ส่วนฤดูแล้งนํ้าตกจะไม่ค่อยมีนํ้าแต่หาก        
     ใครสนใจในเรื่องราวประวัติศาสตร์หรือแวะมาพักผ่อนเที่ยวชมผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์  ลำ�ธารสายนี้ก็
     ยงคงมคณคาตอการคนหาเสมอ สวนนาตกธารประพาศนน ปจจบนเสนทางยงคอนขางล�บากสามารถ
      ั ีุ ่ ่             ้         ่ ํ้                  ั้ ั ุ ั ้        ั ่ ้ ำ
     เดนทางไดเฉพาะรถขบเคลอนสลอเทานน เนองจากระยะทางราว 4 กโลเมตรทเขาไปยงตวนาตกตอง
        ิ       ้         ั ื่ ี่ ้ ่ ั้ ื่                            ิ        ี่ ้ ั ั ํ้       ้
     ข้ามเนินเขาหลายแห่งและสภาพเส้นทางไม่ค่อยดีนัก ส่วนนํ้าตกธารประเวศจะแยกเข้าไปจากหัวโค้ง
     บริเวณที่จะลงสู่หาดท้องนายปานเพียง 300 เมตรเท่านั้นตามเส้นทางที่จะไปหาดขวด แต่ควรเป็น     
     รถปิคอัพเท่านั้นที่จะเดินทางได้เนื่องจากเส้นทางเป็นลูกรังและไม่ค่อยดีเช่นกัน นํ้าตกทั้งสองแห่งนี้
     ปัจจุบันมีคุณค่าในความเป็นแหล่งนํ้าจืดและเส้นทางเสด็จ มากกว่าที่จะเป็นนํ้าตก ทั้งนี้ด้วยสภาพ
     ธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา

14                                                                                                        15
เกาะพะงัน สวรรค์ของคนรักธรรมชาติ

           	 หลายคนคงจะจดจำ�ภาพของเกาะพะงันว่าเป็นดินแดนของงานฟูลมูนปาร์ตี้ที่โด่งดัง      
     ไปทั่วโลก อันมีจุดกำ�เนิดเล็กๆ มาจากนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ได้มีโอกาสมาถึงเกาะพะงันใน
     วันพระจันทร์เต็มดวง และดื่มดํ่ากับธรรมชาติ มีความรู้สึกประทับใจบนผืนทรายของหาดริ้น     
     จึงนำ�ไปเขียนเป็นบทความในหนังสือว่าเป็นที่สุดของชายหาดที่จะดูพระจันทร์เต็มดวงได้สวย
     งามที่สุดแห่งหนึ่งในโลก จนมีคนอ่านแล้วเคลิบเคลี้มตามมาเที่ยวในวันพระจันทร์เต็มดวงตาม
     บทความนั้นมากขึ้น จากนั้นจึงเริ่มมีงานปาร์ตี้เกิดขึ้นบนชายหาดท่ามกลางบรรยากาศริมทะเล
     ที่วิเศษสุด จนเกิดเป็นกระแสการท่องเที่ยวในหมู่ชาวต่างประเทศขึ้นว่าจะต้องมาปาร์ตี้บน       
     หาดทรายของเกาะพะงันในคืนวันพระจันทร์เต็มดวงให้ได้สักครั้งหนึ่งในชีวิต นี่เองจึงเป็น          
     จุ ด กำ � เนิ ด ของงานฟู ล มู น ปาร์ ตี้ ที่ วั น นี้ มี ผู้ ค นนั บ หมื่ น คนมาร่ ว มงานสนุ ก สนานนี้ ใ นทุ ก วั น  
     พระจันทร์เต็มดวงบนเกาะพะงัน


16                                                                                                                           17
หลายคนอาจจะมองภาพของเกาะพะงนในมมนี้ วาเปนเกาะทมแต่
                                                  ั       ุ ่ ็             ี่ ี
     คนมากนเหลา เมายา ปารตี้ จนกลายเปนภาพลกษณทออกไปในทางไมสู้
                 ิ ้             ์         ็        ั ์ ี่                         ่
     ดนก หากแตในความเปนจรงงานฟลมนปารตกเปนงานหนงซงสนกสนาน
         ี ั         ่         ็ ิ     ู ู    ์ ี้ ็ ็           ึ่ ึ่ ุ
     มีสีสัน มีเสน่ห์เป็นของตัวเองไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน มีหลาย
     แห่งอาจจะเลียนแบบเอาอย่างแต่ก็ไม่อาจมีเสน่ห์ได้อย่างสถานที่แท้จริง
     ซึงเป็นต้นกำ�เนิดคือเกาะพะงัน และในภาพรวมของงานฟูลมูนปาร์ตกเป็น
       ่                                                                 ี้ ็
     งานที่สนุกสนานสำ�หรับคนในวัยสนุกวัยหนุ่มสาวอยากปลดปล่อยความ
     เป็นอิสระเสรีที่ไม่ได้เกินเลยขอบเขตของสังคม หากเราดูแลให้งานฟูลมูน
     ปาร์ตี้ดำ�เนินไปตามครรลองของระเบียบและกฎหมาย ไม่ให้เกิดเรื่องที่มี
     ผลกระทบต่อเกาะพะงันในมุมลบ เป็นได้  ฟูลมูนปาร์ตเกาะพะงันวันนีนา
                                                            ี้                   ้ ่
     จะเปนการผสมผสาน ของ หาดทรายขาวของหาดรน  เสนหของแสงจนทร  
             ็                                         ิ้      ่ ์            ั ์
     แฟชั่น  ศิลปะ และการดื่มด่ำ�ในดนตรี เสียงเพลงในสไตล์ที่เข้าถึงอารมณ์
     ของวัยรุ่นจากทั่วโลก
                                                                                             อย่างไรก็ดี เกาะพะงันนั้นก็ใช่ว่าจะมีเสน่ห์ที่โด่งดังไปทั่วโลกอยู่แค่งาน          
                                                                                       ฟลมนปารตดงกลาว เพราะหากเรามเวลาลดเลาะเทยวไปในความเปนธรรมชาติ
                                                                                         ู ู       ์ ี้ ั ่                ี    ั        ี่               ็
                                                                                       อันยังบริสุทธิ์อยู่ของเกาะพะงัน เราจะพบว่าจากหาดท้องศาลา อ่าววกตุ่ม อ่าว
                                                                                       ในวก หาดสน หาดศรีธนู หาดยาว หาดสลัด แม่หาดไปจรดหาดโฉลกหลำ� หาด
                                                                                       ขอมและหาดขวด เลียบชายหาดตะวันตกไปทางด้านเหนือ หรือหาดบ้านใต้
                                                                                       บ้านค่าย หาดริ้นใน หาดสีกันตัง หาดริ้นนอก ไปจรดหาดยวน หาดเทียนรวม    
                                                                                       ถึงหาดอืนทางด้านทิศตะวันออก หรือแม้แต่หาดท้องนายปานน้อย ท้องนายปาน
                                                                                                ่
                                                                                       ใหญ่ที่อยู่ไกลสุดทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งต้องขับรถข้ามพื้นที่ซึ่งเป็น     
                                                                                       ภูเขาสูงบริเวณตอนกลางของเกาะไป
                                                                                             หาดเหล่านี้ล้วนมีเสน่ห์มีเอกลักษณ์ของตัวเองที่น่าท่องเที่ยวทั้งสิ้น รวมทั้ง
                                                                                       วถชวตวฒนธรรมประเพณทผกพนกบความเปนธรรมชาตของคนเกาะพะงนทยง
                                                                                        ิีีิ ั                   ี ี่ ู ั ั          ็          ิ                 ั ี่ ั
                                                                                       มีความเปลียนแปลงไปไม่มากนัก หากเทียบกับเกาะแห่งอืนทีกลายเป็นเกาะท่อง
                                                                                                  ่                                               ่ ่
                                                                                       เที่ยวอย่างเต็มตัว เกาะพะงันก็ยังมีเสน่ห์มีมุมมองที่น่าค้นคว้าน่าเที่ยวชมอยู่ไม่
                                                                                       น้อย โดยเฉพาะความเป็นธรรมชาติและเป็นกันเองของผู้คนซึ่งวันนี้ยังหาได้อยู่	


18                                                                                                                                                                                19
ภูมิศาสตร์ของเกาะพะงัน
     เพชรเม็ดงามบริสุทธิ์ของอ่าวไทย

           ด้วยสภาพที่ตั้งของเกาะพะงันที่เป็นเกาะขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในช่องอ่างทอง
     ทางด้านทิศเหนือของเกาะสมุย มีขนาดเนื้อที่ถึง 122  ตารางกิโลเมตร เป็นรอง
     ก็แต่เกาะภูเก็ต เกาะสมุย  เกาะช้าง และเกาะตะรุเตาเท่านั้น เกาะพะงันจึงเป็น
     เกาะขนาดใหญ่ที่มีสภาพภูมิศาสตร์อุดมสมบูรณ์ทั้งหาดทรายชายทะเลที่มีอยู่
     เกือบรอบเกาะโดยมีแนวปะการังอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของเกาะเหมาะแก่       
     การดำ�นํ้าชมความงามของโลกใต้สมุทรกับมีสันดอนทรายหรือหลังงันอยู่เป็น
     ระยะอันเป็นที่มาของชื่อเกาะพะงันในอดีตถัดจากชายหาดขึ้นไปเป็นพื้นที่ราบ
     เชิงเขาที่เหมาะแก่การทำ�สวนมะพร้าว สวนผลไม้และสวนยางพาราไปจนจรด
     แนวเขาที่วางตัวเหนือใต้อยู่เป็นแกนกลางของพื้นที่เกาะ แนวเขาเหล่านี้เอง             


20                                                                                         21
ทเปนพนทปาไมอดมสมบรณมาแตครงโบราณกาล เปนตน
        ี่ ็ ื้ ี่ ่ ้ ุ     ู ์        ่ ั้           ็ ้
     นํ้าลำ�ธารหลายสายที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนเกาะพะงัน มีนํ้าตก
     ลำ�ธารอันสวยงามจนเป็นสถานที่ ที่พระมหากษัตริย์หลาย
     พระองค์ ท รงเคยเสด็ จ ประพาสมาถึ ง ที่ นี่ โดยเฉพาะ
     พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5
     เสด็จประพาสมาที่เกาะแห่งนี้ถึง 14 ครั้ง
             	 นอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด
     โดยเฉพาะกวางป่า มีหลักฐานกล่าวกันว่าเมือครังพระบาท
                                                    ่ ้
     สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จะเสด็จ
     เกาะพะงนเปนครงที่ 2 นน มการเตรยมกวางปาใหพระองค์
                ั ็ ั้           ั้ ี        ี          ่ ้
     ท่านทรงปล่อย แต่เมื่อทรงเปลี่ยนแปลงกำ�หนดการไม่ได้
     มาเยอนจงมการปลอยกวางเหลานนเขาปาไป ปจจบนยงมี
            ื ึ ี          ่             ่ ั้ ้ ่           ั ุ ั ั
     ผู้พบเห็นกวางเหล่านี้อยู่บ่อยครั้งทั้งแถบนํ้าตกแพงและ   
     แถบนํ้ า ตกธารเสด็ จ และตามทุ่ ง นาในบางครั้ ง รวมทั้ ง      
     ร่ อ งรอยต่ า งๆที่ พ บเห็ น ตามเส้ น ทางเดิ น ป่ า แสดงว่ า ฝู ง  
     กวางเหล่านี้ยังมีจำ�นวนประชากรที่มากอยู่ แต่ยังไม่มีการ
     ส�รวจอยางเปนทางการวามอยสกเทาใด รวมทงพชพรรณ
        ำ        ่ ็               ่ ี ู่ ั ่             ั้ ื
     ไม้ ห ายากต่ า งๆ อาทิ กล้ ว ยไม้ เ พชรหึ ง กล้ ว ยไม้ ที่ มี            ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะมีแนว
     ขนาดลำ�ต้นสูงใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาดความสูงราว 2- 3                        หาดทรายขาวสะอาดและสวยงามกวา    ่
     เมตร กลีบดอกเป็นลายกระสีเหลืองปนนํ้าตาล มักออก                           ทอนใดคอ  หาดทองนายปานนอยและ
                                                                                ี่ ื่ ื      ้          ้
     ดอกในราวเดอนกรกฎาคมถงเดอนตลาคม ซงเปนไมประจ�
                    ื                ึ ื ุ           ึ่ ็ ้ ำ                 ท้องนายปานใหญ่
     ถิ่นที่พบบนเกาะแห่งนี้                                                          เหตุ นี้ เ องที่ เ กาะพะงั น วั น นี้ จึ ง    
          เกาะพะงันมียอดเขาหรา เป็นยอดเขาสูงที่สุดของ                         ถื อ ได้ ว่ า เป็ น เกาะที่ ยั ง มี ค วามเป็ น
     เกาะ มีความสูง 627 เมตรจากระดับนํ้าทะเล ในฤดูฝนหมู่                      ธรรมชาติเหลืออยู่มากที่สุดแห่งหนึ่ง
     เมฆ จะลอยเรี่ยยอดเขา เป็นจุดท้าทายให้ผู้คนที่รักการ                      และเหมาะกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
     ผจญภัยได้ปีนป่ายขึ้นไปสัมผัสและชมวิวทิวทัศน์ ส่วน                        อย่างยิ่งด้วยสภาพความอุดมสมบูรณ์
                                                                              ทางภูมิศาสตร์ดังกล่าว


22                                                                                                                                    23
หาดธารเสด็จ หาดท้องนายปานใหญ่ หาดท้องนายปานน้อยและ
                                                                                       หาดขวด ฤดูกาลต่างๆ เหล่านี้จึงเป็นตัวกำ�หนดเขตพื้นที่การ     
                                                                                       ทองเทยวบนเกาะพะงนไปโดยปรยาย อยางไรกดถอวาเกาะพะงน
                                                                                          ่ ี่                      ั           ิ               ่      ็ ีื ่             ั
                                                                                       ยังมีฤดูท่องเที่ยวได้เกือบตลอดทั้งปี ผิดกับทางฝั่งทะเลอันดามัน
                                                                                       เมื่อถึงฤดูมรสุมจะมีฝนตกยาวนานกว่าคือเกือบ 6 เดือนต่อปี
                                                                                              การเดินทางสูเกาะพะงันนันสามารถทำ�ได้ไม่ยาก โดยเฉพาะ
                                                                                                             ่                ้
                                                                                       จากท่าเรือเฟอร์รี่ดอนสักซึ่งมีเรือเฟอร์รี่ของบริษัทราชาเฟอร์รี่   
                                                                                       ข้ามสูเกาะพะงันวันละ 5 เทียวและออกจากเกาะอีกวันละ 5 เทียว
                                                                                              ่                          ่                                            ่
                                                                                       เช่นกัน เริ่มตั้งแต่เวลา 8.00 น ถึง 18.00 น. ขาไป และ 05.00 น.
                                                                                       ถึง 17.00 น. สำ�หรับขากลับ ใช้เวลาเดินทางราว 2 ชัวโมง 30 นาที       ่
                                                                                       นักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยรถทัวร์จากกรุงเทพฯ สามารถมากับ     
                                                                                       รถทัวร์แล้วลงเรือเฟอร์รี่เที่ยวเช้าข้ามไปยังเกาะพะงันได้จากที่นี่
     ฤดูกาลและการเดินทางท่องเที่ยวเกาะพะงัน                                            สวนทานทเดนทางดวยรถยนตสวนตวกสามารถน�รถลงเรอไดเชน
                                                                                         ่ ่ ี่ ิ                 ้          ์่ ั ็                      ำ         ื ้ ่      ได้ด้วยตัวเองอีกด้วย หากคุณไม่มีรถจะทำ�
                                                                                       เดยวกน นอกจากนหากใครเดนทางดวยเครองบนมาลงทสนามบน
                                                                                           ี ั                 ี้          ิ            ้         ื่ ิ          ี่      ิ     อย่างไร? การเช่ารถยนต์หรือรถมอเตอร์ไซค์   
                                                                                       สุราษฎร์ธานี ก็จะมีรถบัสปรับอากาศให้บริการรับ-ส่งตามเทียวบิน                 ่         ที่มีให้บริการอยู่หลายร้านบริเวณท้องศาลา    
            เกาะพะงัน มีฤดูกาลต่างๆ เป็นไปตามอิทธิพลของลมมรสุมเป็นสำ�คัญ               ของเครื่องบินสู่ท่าเรือเฟอร์รี่ดอนสัก สำ�หรับใครที่ไปท่องเที่ยว                        ซึ่ ง เป็ น ชุ ม ชน ขนาดใหญ่ ที่ เ จริ ญ ที่ สุ ด บน
     ฤดูร้อนอากาศสดใสเหมาะกับการท่องเที่ยวที่สุดอยู่ระหว่างเดือนมกราคมถึง              เกาะสมุย เกาะเต่าแล้วจะมาแวะเที่ยวชมเกาะพะงันก็สามารถ                                  เกาะพะงันและเป็นที่ตั้ง ของท่าเรือเฟอร์รี่     
     พฤษภาคม จากนั้นจะเข้าสู่ช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ซึ่งฤดูนี้จะมี           เดินทางต่อไประหว่างเกาะเหล่านี้ได้ด้วยบริการเรือเร็วลมพระยา                            บนเกาะพะงัน ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งซึ่งสะดวกใน      
     ลมพัดยาหรือลมพัทธยาพัดสู่เกาะพะงันอาจมีฝนบ้างเล็กน้อยแต่ก็ยังสามารถ               และเรื อ เร็ ว ซี ท รานดิ ส คั ฟ เวอรี่ ที่ วิ่ ง เชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งเกาะสมุ ย      การท่องเที่ยว หากแต่จะต้องระมัดระวังให้         
     ท่องเที่ยวได้เพียงแต่ช่วงกลางวันนํ้าทะเลมักจะลงจนเห็นหลังงันหรือหลังนาที่         เกาะพะงัน และเกาะเต่าอยู่ทุกวันทั้งไปและกลับ ติดต่อหาราย                               มาก โดยเฉพาะการขับขี่รถเตอร์ไซค์ มักเกิด
     เป็นแนวสันดอนปะการังอยู่นอกฝั่งอยู่ทั่วไปและนํ้าจะขึ้นเต็มฝั่งในช่วงเย็นและ       ละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารและแผนที่ๆ มีแจกจ่ายอยู่ทั่วไป                             อุบัติเหตุกันอยู่บ่อยครั้ง หรือไม่เช่นนั้นถ้าหาก
     กลางคืน หาดที่มีผลกระทบในช่วงนี้ได้แก่ หาดริ้นใน หาดบ้านใต้ บ้านค่าย              ก่อนเดินทางแนะนำ�ให้ตรวจสอบตารางเวลา ราคาค่าโดยสารไป                                   คุณไม่ต้องการเดินทางเอง การติดต่อซื้อทัวร์
     หาดท้องศาลาและหาดหินกอง อย่างไรก็ดีสำ�หรับชาวประมงแล้วในช่วงที่มีลม               ที่เว็บไซต์ของบริษัทบริการขนส่งโดยตรง                                                  จากผประกอบการทองเทยวทองถนกสามารถ
                                                                                                                                                                                      ู้            ่ ี่ ้ ิ่ ็
     พัดยาหรือลมพัทธยากลับเป็นฤดูที่ดีในการออกหาปูหาปลาที่มักจะชุกชุมกว่า                   การเดินทางท่องเทียวเกาะพะงันนั้นอาจทำ�ได้หลายวีธี   เริม
                                                                                                                  ่                                ่                          ท�ไดไมยากซงมอยหลายรานบรเวณทองศาลา
                                                                                                                                                                                  ำ ้ ่ ึ่ ี ู่           ้      ิ      ้
     ในฤดูอื่น ส่วนในเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมเป็นช่วงฤดูมรสุมที่มีลมว่าวพัด          จากคุณนำ�รถยนต์ส่วนตัวข้ามเรือเฟอร์รี่มาเอง วิธีนี้สะดวกที่สุด                         เช่ น กั น สามารถหาข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม พร้ อ ม        
     เขาสเกาะพะงนท�ใหมฝนตกชกกวาชวงอน เดอนทมฝนตกหนกทสดจะเปนเดอน
       ้ ู่        ั ำ ้ ี        ุ ่ ่ ื่ ื ี่ ี              ั ี่ ุ     ็ ื          คุณสามารถวางแผนการท่องเที่ยวเอง เดินทางได้เองด้วยการ                                   รายละเอียดได้จากเอกสารท่องเที่ยวต่างๆที่
     พฤศจิกายนและหาดที่หันหน้ารับคลื่นลมจากลมว่าวเต็มที่ก็คือ หาดริ้นนอก               ดูแผนที่ ที่มีแจกอยู่ทั่วไปบนเกาะและสนุกกับการขับรถรอบเกาะ                             วางแจกอยู่ทั่วไปหรือสอบถามร้านค้าต่างๆ


24                                                                                                                                                                                                                                        25
ชุมพร
   Chumphon




                                                               จากส



                                                                                        จากสนา
                                                                    นาม
                                                                                                                                                                                                            บางกอก แอร์เวย์        0 7742 2512-8              www.bangkokairways.com




                                                             บินส
                                                                                                                                                                                                            การบินไทย              0 7760 1331-2              www.thaiairways.com




                                                                                            มบินสุว
                                                                     L

                                                             ุว
                                                                    ighompr                                                                                                                                 ไฟร์ฟลาย แอร์ไลน์      0 7760 1400                www.fireflyz.com

                                                       รรณภ
        ทาเรือทุงมะขาม
      Thung Makham Pier

                                                              H
                                                                        Sp ayah                                                                                                                             ซิลค์แอร์              0 7760 1172-73             www.silkair.com




                                                                                              รรณภ
                                                            ูมิแล
                                                                     6 7 ed
                                                                           e                                                                                                                                ราชา เฟอรี่	           0 7741 5230-3              www.rajaferryport.com
                                                                        k m Cata




                                                                                                 ูมิ Fr
                                                      ะสนา

                                                                           s
                                                                          . (1         ma                                                                                                                   ซีทราน เฟอรี่          0 7742 6000-1              www.seatranferry.com
                                                                                 .30       ra
                                                      มบิ



                                                                                                                              เกาะเตา
                                                                                       hrs n




                                                                                                        om
                                                                                                                              Ko Tao                                                                        เรือเร็วลมพระยา        0 7742 7765-6              www.lomprayah.com
                                    นดอน




                                                                                          .)




                                                                                                      Suva
                                                                                                                                                                                                            เรือด่วนส่งเสริม       0 7742 0157                www.songserm-expressboat.com
                                         เมือง F




                                                                                                                                                                                                            ซีทราน ดีสคัฟเวอรี่    0 7724 6086-8              www.seatrandiscovery.com



                                                                                                          rnab
                                                                                                                                                                                                            หาดริ้น ควีนเฟอร์รี่   0 7742 7650                -


                                                                                                              hum
                                                 rom Su




    41
                                                                                                                                                                                                            เพชรรัตน์ มารีน่า      0 7742 5514, 0 7742 5262   www.samuispeedboat.com

                                                                                                                 i Air

                                                                                                                    65
                                                                                                                       por
                                                        va




                                                                                                                        km
                                                                                                                           t
          rnabhu




                                                                                                                             s            . (1
                                                                                                                                                                                 เกาะพะงัน


                                                                                                                                           .30
                                                                                                                                                                                Ko Pha-ngan
                                                                                                                                                   rs                                                       จักรยาน การท่องเที่ยวเนิบช้า

                                                                                                                                               h
                                                                                                                                                        .)
                 mi Airpor




                                                                                                                                                                         ทาเรือทองศาลา
                                                                                                                                                                         Thong Sala Pier                    พาท่านเที่ยวเกาะพะงันได้ทั่วถึง และปลอดภัย
อ.ละแม                                                                                                                                                                               ทาเรือหาดริ้น                  ด้วยขนาดพืนที  ภูมประเทศ ตลอดจน การแบ่งโซนการใช้ประโยชน์
                                                                                                                                                                                                                               ้ ่ ิ
                           t and Don M




Amphoe                                                                                                                                                                               Hat Rin Pier
 Lamae
                                                                                                                                                                                                            พนทดวยฝมอของธรรมชาติ ประกอบกบ “วถพะงน”  การทองเทยวดวย
                                                                                                                                                                                                                ื้ ี่ ้ ี ื                          ั ิี ั             ่ ี่ ้


                                                                                                                                                                        1 hr .
                                                                                                                                                                        30 m

                                                                                                                                                                          45 mins.
                                                                                  อุทยานแหงชาติทางทะเล



                                                                                                                                                                            .
                                                                                                                                                                                                            จักรยานเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ขอแนะนำ�พร้อมประทับตรายืนยันให้ผู้
                                                                                                                                                                              ins
                                                                                      หมูเกาะอางทอง
                                       uang Airport




                                                                                     Mu Ko Ang Thong
                                                                                       National Park                                                           ทาเรือลมพระยา       ทาเรือบอผุด           เดนทางทองเทยวรบรวา “เหมาะสม” ถนนทวเกาะพะงนตดตรง ตดขวาง
                                                                                                                                                                                                                  ิ      ่ ี่ ั ู้ ่                     ั่        ั ั        ั
                                                                                                                                                              Lomprayah Pier        Bo Phut Pier            ระโยงระยางทั่วเกาะนับรวมกันได้ความยาวที่  74.72 กิโลเมตร เส้นทาง
                                                                                                                                           2.30 hrs.




                                            อ.ทาชนะ                                                                                                                                     สนามบินเกาะสมุย
                                            Amphoe                                                                                                                                       Ko Samui Airport   เชื่อมโยงที่ยาวที่สุดคือเส้นท้องศาลา-อ่าวท้องนายปาน 17.0 กิโลเมตร
                                           Tha Chana                                                                                                               ทาเรือซีทรานเฟอรรี่
                                                                                                                                                                   Seatran Ferry Pier เกาะสมุย
                                                                                                                                                                                         Ko Samui           สภาพเป็นถนนซีเมนต์ผสมถนนดิน แม้วันนี้ยังไม่มีเลนช่องทางจักรยาน
                                                                                                                                                        s.




                  41                                                                                                                                               ทาเรือราชาเฟอรรี่                      เป็ นการเฉพาะ แต่ ถนนทั่ ว เกาะพะงั น ยั ง มี พ าหนะบนถนนน้ อ ยมาก               เหมาะสม ระวงกแตสนขทตางท�หนาที่
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                 ั ็ ่ ุ ั ี่ ่ ำ ้
                                                                                                                                                   2 hr




                                                                                                                 .                                                  Raja Ferry Pier
                                                                                                              rs
                                                                                                                                                   .




                                                                                                                             rs.                                                                            สงทผเดนทางจะไดพบเจอบนสองฝงถนนแทบทกสายตางหากทมากมาย
                                                                                                                                                                                                              ิ่ ี่ ู้ ิ         ้              ั่           ุ      ่      ี่                เห่ า เมื่ อ พบเจอคนแปลกหน้ า ผ่ า นมา     
                                                                                                                                                             hrs




                                                                                                          h              h
                                                                                                      3
                                                                                                                     .30
                                                                                                                                                       1.30




                                                                                                                 2                                                                                          หลากหลาย เกาะแคนมนาขาว มดงเสมดขาว มวถชาวบานพะงนทบงบอก
                                                                                                                                                                                                                                   ่ ี้ ี ้ ี      ็        ีิี ้        ั ี่ ่              แต่วิธีทำ�ให้สุนัขหรือแม้แต่สัตว์ทุกชนิด
                                                                                                                                          ทาเรือดอนสัก
                                                                                                                                                                                                            ว่าวิถีพะงันนี่แหล่ะที่จะนำ�พาไปสู่เกาะสีเขียวได้ ทั้งสถาปัตยกรรมบ้าน            สยบยอมนิ่ง หยุดดูได้ คือความเนิบช้า
                                                                                                                     อ.ดอนสัก
          อ.ทาฉาง                                                                                                   Amphoe               Don Sak Pier                                                      ที่สอดคล้องกับสภาพอากาศ นิสัยชอบปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารพิษข้าง                      ความนิง และนิงเท่านัน สำ�หรับจักรยาน
                                                                                                                                                                                                                                                                                                        ่         ่    ้
          Amphoe                                                                                                     Don Sak
         Tha Chang                                                                                                                                 4142                                                     บ้านรับประทานกันเอง วิถีเศรษฐกิจพอเพียง รักสะอาด รักธรรมชาติ                     ให้ เช่ า มี บ ริ ก ารตามร้ า นบริ เวณใกล้
                 41                                                  ทาเรือทาทอง
                                                                    Tha Thong Pier
                                                                                                                                   4142
                                                                                                                                                                                                            เก็บความเป็น “บ้าน บ้าน” ไว้ครบถ้วน ทั้งเช้าและบ่ายเป็นเวลาที่                   ท่าเรือท้องศาลา
                                                                                              401
 สนามบินสุราษฎรธานี                                         สุราษฎรธานี
 Surat Thani Airport อ.พุนพิน                                Surat Thani
                                                                                                                      ไปนครศรีธรรมราช                                                                                                                                                                                                      27
                 Amphoe Phunphin                                                                               To Nakhon Si Thammarat
แหล่งท่องเที่ยว
     บริเวณหาดท้องศาลา

            ชื่อหาด “ท้องศาลา” นี้มีกำ�เนิดมาจากครั้งอดีตเมื่อ
     ราว พ.ศ. 2427 เคยมีศาลาอยู่หลังหนึ่งอยู่ใกล้กับบริเวณ
     สะพานทาเรอ ซงเจาเมองไชยาเคยใชนงวาราชการงานเมอง
                ่ ื ึ่ ้ ื                   ้ ั่ ่          ื
     และใช้เป็นที่พักผ่อนปัจจุบันเรียกว่าศาลาที่ว่าการหรือ
     ทำ�เนียบ จึงเรียกขานหาดแถบนี้ว่า หาดท้องศาลา ซึ่งต่อ
     มากลายเป็นศูนย์กลางความเจริญของเกาะพะงัน มีทั้ง
     ท่าเรือเฟอร์รี่ เรือด่วน รถรับส่งนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร
     นานาชาติ ร้านขายของทีระลึก ร้านอินเทอร์เน็ต ร้านกาแฟ
                               ่
     น่ารักๆ ตลอดจนโรงแรมที่พัก ธนาคาร บริษัทท่องเที่ยว  
     รถเชา ฯลฯ ถอวาเปนแหลงทมสงอ�นวยความสะดวกทสด
          ่         ื ่ ็        ่ ี่ ี ิ่ ำ               ี่ ุ
     บนเกาะพะงัน
         บริ เวณหาดท้ อ งศาลาแห่ ง นี้ ห ากเป็ น เทศกาลงาน
     ประเพณีสงกรานต์ ก็จะเป็นศูนย์รวมของนักท่องเที่ยวทั้ง
     ชาวไทยและต่างประเทศที่มารวมตัวเล่นสาดนํ้าสงกรานต์
     กันอย่างสนุกสนาน  
           นอกจากนี้ก็ยังมีประเพณีชักพระในวันออกพรรษา
     เป็ น ประเพณี เ ก่ า แก่ ที่ สำ � คั ญ ซึ่ ง กำ � เนิ ด ขึ้ น ที่ เ กาะพะงั น     
     เป็นประเพณีพื้นบ้านที่ชาวเกาะพะงันยังคงยึดถือและ
     ปฏิบัติกันสืบมา




28                                                                                        29
หาดท้องศาลา

     	       หาดท้ อ งศาลา ถื อ ว่ า เป็ น ชายหาดแห่ ง หนึ่ ง ที่ ส ามารถเฝ้ า ชมพระอาทิ ต ย์ ต กได้ ส วยงาม               
     และสามารถมองเห็นเกาะแตในที่อยู่ไม่ไกลได้อย่างดี เป็นจุดที่บริษัทนำ�เที่ยวมักจะพานักท่องเที่ยว   
     พายเรือคายัคไปยังเกาะแตในซึ่งอยู่ไม่ไกลเพื่อไปท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจอยู่เสมอ บริเวณด้าน
     หน้าของหาดเป็นสถานที่ตั้งของเรือหลวงพงันซึ่งปลดประจำ�การและนำ�มาตั้งไว้เป็นอนุสรณ์สถาน       
     ในความทรงจำ�ครั้งอดีต  เรือหลวงพงันนี้เป็นเรือในกลุ่มเรือยกพลขึ้นบกและยุทธบริการเดิมชื่อ ยูเอส
     เอสสตารค เคานตี แอลเอสที 1134 ซงกองทพเรอไดจดหาตามโครงการชวยเหลอทางทหารจากรฐบาล
                 ์      ์                   ึ่   ั ื ้ั                          ่     ื                ั
     สหรัฐอเมริกา โดยขึ้นระวางประจำ�การ เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2509 และปลดระวางประจำ�การ
     เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2551 อายุการใช้งานในกองทัพเรือประมาณ 40 ปี มีประวัติการร่วมรบใน
     สงครามเวียดนามในหน้าที่เรือลำ�เลียงยกพลขึ้นบก และเฝ้าตรวจการณ์บริเวณชายฝั่งเพื่อป้องกันการ
     แทรกซมทางทะเล ตลอดจนการล�เลยงอาวธยทโธปกรณและอาหารไปยงเมองตางๆในเวยดนาม เคย
              ึ                          ำ ี      ุ ุ              ์               ั ื ่         ี
     ถูกซุ่มโจมตีอยู่หลายครั้งแต่ได้รับความเสียหายไม่มากนัก ปัจจุบันกองทัพเรือได้อนุมัติสนับสนุนเรือ   
     หลวงพงัน พร้อมพัสดุอุปกรณ์ประจำ�เรือให้จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2553  
      เพื่อนำ�ไปจัดสร้างเป็น “พิพิธภัณฑ์เรือหลวงพงัน”  ณ บริเวณท่าเทียบเรือท้องศาลา ตำ�บลเกาะพะงัน
     อำ�เภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานีอันจะเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ สำ�หรับ      
     คนรุ่นหลัง และเป็นเกียรติประวัติของกองทัพเรือและเป็นความภาคภูมิใจของชาวสุราษฎร์ธานีต่อไป




30                                                                                                                            31
มี ม นต์ ข ลั ง ให้ เ ห็ น โดยเฉพาะในเวลาโพล้ เ พล้ ใ กล้ ค่ำ � ที่ มี แ สงสี ข องไฟมาช่ ว ย       
                                                                                                    สร้างบรรยากาศพร้อมกับนักท่องเที่ยวและผู้คนที่เดินจับจ่ายซื้อของกินของใช้
                                                                                                    กันอย่างสนุกสนาน ทั้งเสื้อผ้าราคาถูก ของกินต่างๆ รวมทั้งขนมโบราณอย่างขี้
                                                                                                    หมาต้วงหรือข้าวตูที่มีทั้งแห้งทั้งสดก็ยังมีให้ลองลิ้มชิมรส โปสการ์ดสวยๆ ก็มี     
                                                                                                    ให้เลือกซื้อเป็นที่ระลึก ใครคลั่งไคล้กับเสียงเพลงคันทรีย้อนยุคให้ไปที่หน้าร้าน
                                                                                                    อาหารไอริช ที่นี่จะมีศิลปินจากแดนไกลที่หลงใหลคลั่งไคล้ในความบริสุทธิ์ของ
                                                                                                    เกาะพะงันผันตัวมาเป็นชาวเกาะผู้มีดนตรีในหัวใจพร้อมให้ความบันเทิงกับ        
                                                                                                    คุณได้อย่างไม่รู้เบื่อในทุกวันเสาร์ที่มีถนนคนเดินจนกลายเป็นเอกลักษณ์อย่าง
                                                                                                    หนึ่งคู่ถนนคนเดินไปแล้วในวันนี้




     ถนนคนเดินวิถีชีวิต
     และสีสันวันสุดสัปดาห์

            เป็นกิจกรรมที่ชาวท้องศาลาร่วมกันจัดพื้นที่ให้มีการนำ�สินค้ามาวางขายบนถนนทุก          
     วันเสาร์ เวลา 16.00 – 21.00 น. ในวันดังกล่าวตั้งแต่ยามบ่ายบริเวณถนนตลาดเก่าที่เป็นย่าน
     การค้าโบราณจะคลาคลํ่าไปด้วยผู้คนพ่อค้าแม่ขายที่พากันนำ�สินค้ามาวางขายเรียงรายกันบน
     ถนน โดยมีการปิดการจราจรให้เป็นถนนคนเดินเที่ยวอย่างเพลินใจ สภาพบ้านเรือนสองฟาก
     ถนนคนเดินนี้ยังเป็นบ้านห้องแถวเรือนไม้ที่มีสภาพสมบูรณ์อยู่หลายหลัง บางหลังก็เคยเป็นที่
     อยู่ร้านค้าของคหบดีในอดีตเช่นบ้านเก่าหลังหนึ่งเคยเป็นตัวแทนขายส่งสุรา อีกหลังหนึ่งเจ้า    
     ของชื่อโกยี่เคยขายผัดไทยขึ้นชื่อปัจจุบันเลิกราไปแล้ว แต่บ้านเก่าหลังนี้ก็ยังอยู่และมีของขาย
     อยู่หลายชนิด บ้านเก่าๆเหล่านี้ยังอยู่เรียงรายไปจนถึงบริเวณหน้าไปรษณีย์และธนาคาร
     นครหลวงไทย จำ�กัด ซึ่งเป็นธนาคารแห่งแรกบนเกาะพะงัน บรรยากาศย้อนยุคเหล่านี้จะยิ่ง     

32                                                                                                                                                                                                        33
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน
ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน

Contenu connexe

Tendances

พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9banlangkhao
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11teacherhistory
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
บทความ
บทความบทความ
บทความsan40
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1teacherhistory
 
นางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธิ
นางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธินางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธิ
นางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธิZeeratithi
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...A'mp Minoz
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 

Tendances (12)

พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
พระราชประวัติรัชกาลที่ 9
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร11
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
บทความ
บทความบทความ
บทความ
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
Osaka takayama-tokyo-6 d4n-by-tg
Osaka takayama-tokyo-6 d4n-by-tgOsaka takayama-tokyo-6 d4n-by-tg
Osaka takayama-tokyo-6 d4n-by-tg
 
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
กรณีพิพาทปราสาทพระวิหาร1
 
นางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธิ
นางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธินางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธิ
นางสาว ฐิติ สุวรรณสุทธิ
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 

Similaire à ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน

ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงPloy Wanida
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlidecom_2556
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมDos Zaa
 
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้าง
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้างผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้าง
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้างpittayut
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวArinrada Jabthong
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าyah2527
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวArinrada Jabthong
 
ประเพณีและวัฒนธรรม Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม  Tarประเพณีและวัฒนธรรม  Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม TarDos Zaa
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็กJarutsee
 
Impact khaoyaiกกกกกกก
Impact khaoyaiกกกกกกกImpact khaoyaiกกกกกกก
Impact khaoyaiกกกกกกกM'inld MMMMM
 

Similaire à ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน (20)

Pp
PpPp
Pp
 
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทงประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
ประวัติความเป็นมาประเพณีลอยกระทง
 
ศรีษเกษ
ศรีษเกษศรีษเกษ
ศรีษเกษ
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
โครงานคอมSlide
โครงานคอมSlideโครงานคอมSlide
โครงานคอมSlide
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
ประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรมประเพณีและวัฒนธรรม
ประเพณีและวัฒนธรรม
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
เล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอีเล่าขานบ้านคำชะอี
เล่าขานบ้านคำชะอี
 
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้าง
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้างผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้าง
ผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมเกาะช้าง
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
สถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยวสถานที่ท่องเที่ยว
สถานที่ท่องเที่ยว
 
ประเพณีและวัฒนธรรม Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม  Tarประเพณีและวัฒนธรรม  Tar
ประเพณีและวัฒนธรรม Tar
 
งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็ก
 
Impact khaoyaiกกกกกกก
Impact khaoyaiกกกกกกกImpact khaoyaiกกกกกกก
Impact khaoyaiกกกกกกก
 

ตามรอย ร.5 ค้นคุณค่าเกาะพะงัน

  • 1.
  • 2.
  • 3. สารบ ั ญ • พงันในอดีตกว่าจะมาเป็นเกาะพะงัน 4 • งามหาดทรายนํ้าใสทะเลสวย หาดท้องนายปาน 87 • เกาะพะงันกับคุณค่าและความหมายของการเสด็จประพาส 8 • งามจันทร์กระจ่างฟ้า ฟูลมูนปาร์ตี้ที่คนทั้งโลกใฝ่ฝัน 90 • เกาะพะงัน สวรรค์ของคนรักธรรมชาติ 16 • ตัวอย่างที่พักน่าสนใจและได้มาตรฐาน บนหาดต่างๆ ของเกาะพะงัน 97 • ภูมิศาสตร์ของเกาะพะงันเพชรเม็ดงามบริสุทธิ์ของอ่าวไทย 21 • ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดในวก หาดท้องศาลา 98 • ฤดูกาลและการเดินทางท่องเที่ยวเกาะพะงัน 24 หาดบางจะรุ หาดบ้านใต้ หาดบางนํ้าเค็ม บ้านค่าย และหาดหินล่อ • แหล่งท่องเที่ยวบริเวณหาดท้องศาลา 29 • ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดบางสน หาดริ้นใน หาดสีกันตัง 109 • หาดท้องศาลา 30 หาดลีลา หัวแหลม หาดริ้นนอก หาดคนที หาดยวน • ถนนคนเดินวิถีชีวิตและสีสันวันสุดสัปดาห์ 32 หาดเทียนตะวันออก หาดยาวตะวันออก และหาดหวายนํ้า • ท่องหาดตะวันตกเสน่ห์งามยามเย็นเกาะพะงัน 38 • ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดท้องนายปานน้อย 119 • งามวิถีชีวิต งามชวนคิดมะพร้าวเอนอ่าววกตุ่ม 41 หาดท้องนายปานใหญ่ หาดธารเสด็จ และหาดทองเหรง • งามตะวันลับขอบฟ้าหาดศรีธนู หาดเจ้าเภา หาดสน 44 • ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดสลัด หาดแม่หาด หาดทองหลาง 132 • งามเม็ดทรายชายทะเล หาดยาว หาดสลัด 49 อ่าวหินงาม อ่าวโฉลกหลำ� หาดขอม และหาดขวด • งามมหัศจรรย์ทะเลแหวกเกาะพะงัน ที่แม่หาด เกาะม้า 52 • ตัวอย่างที่พักโรงแรม กลุ่มหาดปลายแหลม หาดวกตุ่ม 142 • งามวิถีชีวิตชุมชน หาดโฉลกหลำ� งามลํ้าหินสวย หาดหินงาม 57 หินกอง หาดศรีธนู หาดเจ้าเภา หาดสน หาดดาวดึก • งามย้อนอดีตสู่เส้นทางวิถีชุมชนบ้านมะเดื่อหวาน บ้านในสวน 66 หาดยาว หาดเทียน และหาดกรวด • งามพิสุทธิ์หัวใจสีเขียวเที่ยวพิชิตยอดเขาหรา นํ้าตกแพง 74 • ที่พักเกาะพะงัน 160-168 • งามจากอดีตสู่ปัจจุบันงามลํ้าธรรมชาติ ชุมชนเก่าบ้านใต้ บ้านค่าย 80
  • 4. พงันในอดีตกว่าจะมาเป็นเกาะพะงัน เกาะพะงัน นับเป็นเกาะขนาดใหญ่เคียงคู่กับเกาะสมุย ตั้งอยู่ใน ทะเลอาวไทยบรเวณทเรยกวา ชองอางทอง ของจงหวดสราษฎรธานี เปน ่ ิ ี่ ี ่ ่ ่ ั ั ุ ์ ็ เกาะที่มีขนาดใหญ่เป็นอันดับที่ 5 ในประเทศไทยรองจากเกาะภูเก็ต เกาะสมุย เกาะช้างและเกาะตะรุเตา โดยมีพื้นที่ 122 ตารางกิโลเมตร จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์และโบราณคดี เชื่อว่าเกาะพะงันนี้ เคยมีผู้คนอาศัยอยู่มานานกว่า 1,300-2,000 ปี โดยคนกลุ่มแรกที่มาถึง เกาะพะงันน่าจะเป็นนักเดินเรือชาวโจฬะหรือชนเผ่าทมิฬ ซึ่งเป็นคนพื้น เมืองในแถบอินเดียตอนใต้ที่เจริญรุ่งเรืองอยู่ระหว่างพุทธศตวรรษที่ 14 ถึงพุทธศตวรรษที่ 18 โดยเฉพาะในรัชสมัยพระเจ้าราชาราชะโจฬะที่ 1 และพระเจ้าราเชนทระโจฬะที่ 1 ที่ได้ทรงแผ่ขยายพระราชอาณาจักรมา ถงคาบสมทรมลายู ซงตรงกนกบยคสมยอาณาจกรศรวชยในสมยนน และ ึ ุ ึ่ ั ั ุ ั ั ีิั ั ั้ ไดมการเดนเรอคาขายกบดนแดนแถบนจนมผคนเขามาตงถนฐานอยตาม ้ ี ิ ื ้ ั ิ ี้ ี ู้ ้ ั้ ิ่ ู่ เกาะต่างๆ เช่นที่เกาะพะงันนี้เป็นต้น 4 5
  • 5. อย่างไรก็ดี หลักฐานการตั้งชุมชนแบบถาวรบนเกาะพะงัน น่ า จะเริ่ ม ต้ น มาตั้ ง แต่ ส มั ย อยุ ธ ยาตอนปลาย จนถึ ง สมั ย กรงรตนโกสนทรตอนตนทเกาะพะงนขนอยกบเมองไชยา ในขณะ ุ ั ิ ์ ้ ี่ ั ึ้ ู่ ั ื ที่เกาะสมุยซึ่งอยู่ใกล้เคียงไปขึ้นกับเมืองนครศรีธรรมราช ตราบ จนกระทั่งรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 จึงได้รวมพื้นที่เกาะสมุยและเกาะพะงันเข้าเป็นอำ�เภอ เดียวกัน เมื่อวันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2440 ใช้ชื่อว่า อำ�เภอ เกาะสมุย สังกัดเมืองกาญจนดิษฐ์ ซึ่งต่อมาได้กลายมาเป็นจังหวัด สุราษฎร์ธานีในที่สุด ส่วนเกาะสมุยและเกาะพะงันนั้นได้รวมเป็น อ�เภอเดยวกนอยประมาณ 63 ปี แลวไดแยกพนทเกาะพะงนออก ำ ี ั ู่ ้ ้ ื้ ี่ ั เป็นกิ่งอำ�เภอ เมื่อพ.ศ. 2513 ก่อนที่จะยกฐานะเป็นอำ�เภอ เกาะพะงันตั้งแต่ พ.ศ. 2520 เป็นต้นมา สำ�หรับชื่อของเกาะพะงันนั้น มีที่มาอยู่หลายแหล่งบ้างก็ว่า มาจากภาษาแขกหรือภาษามลายู เรียก สันดอนดินทรายว่า “ราฮัน” แปลว่า “เงาตะคุ่ม” และภายหลังมีคนเรียกเพี้ยนไปจน เป็นคำ�ว่า “พงัน” ในขณะที่อีกความเชื่อหนึ่งเชื่อว่าเกาะแห่งนี้มี ชื่อเก่าเรียกขานกันมาอยู่แล้วว่า “เกาะงัน” ซึ่งเป็นภาษาถิ่น หมายถึง สันดอนดินทรายที่มักจะผุดโผล่ขึ้นมารอบๆ เกาะในช่วง เวลานํ้าลด อันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะของเกาะแห่งนี้ ชาวบ้าน เรยกวา “หลงงน” ภายหลงจงมคนเรยกเพยนมาเปน “พงน” และ ี ่ ั ั ั ึ ี ี ี้ ็ ั ตอมาเมอมการยกฐานะกงอ�เภอเกาะพงนขนเปนอ�เภอ จงมการ ่ ื่ ี ิ่ ำ ั ึ้ ็ ำ ึ ี ประวิสรรชนียกลายเป็นชือ “เกาะพะงัน” สืบต่อมาจนถึงปัจจุบน ์ ่ ั 6 7
  • 6. เกาะพะงันกับคุณค่า เกาะพะงัน นับเป็นสถานที่แห่งหนึ่งซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า และความหมายของการเสด็จประพาส เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ทรงโปรดเป็นการส่วนพระองค์และได้เคยเสด็จประพาส มาถึงที่นี่บ่อยครั้งกว่าที่แห่งใดในประเทศไทยถึง 14 ครั้ง ระหว่าง พ.ศ. 2431- 2452 ซงมทงทเปนทางผานตามเสนทางเสดจสแหลมมลายหรอการเสดจมณฑล ึ่ ี ั้ ี่ ็ ่ ้ ็ ู่ ู ื ็ ในห้วงเวลาแห่งประวัติศาสตร์ของการเสด็จประพาสไปในสถานที่ต่างๆ ฝ่ายใต้ เช่นเมืองนครศรีธรรมราช สงขลา เป็นต้น การเสด็จประพาสครั้งแรกนั้น ของพระมหากษั ต ริ ย์ ไ ทยนั้ น พระพุ ท ธเจ้ า หลวงหรื อ พระบาทสมเด็ จ เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2431 (ร.ศ. 107) เป็นการเสด็จประพาสเมืองสงขลาและแวะที่ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 นับทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงโปรด เกาะพะงันเป็นครั้งแรก เมื่อวันที่ 31 สิงหาคม พ.ศ. 2431 ครั้งกระนั้นพระองค์ การเสด็จประพาสหัวเมืองต่างๆ ไปและทรงเยี่ยมเยียนราษฎรของพระองค์ เสด็จประพาสธารนํ้าตกแห่งหนึ่งบนเกาะพะงัน ซึ่งต่อมาพระองค์ท่านได้เสด็จ อยู่เสมอ ถึงขนาดบางครั้งพระองค์ก็เสด็จประพาสไปในที่ต่างๆโดย การเสด็จ กลบมาเยอนนาตกแหงนอกหลายครงและพระราชทานนามวา “นาตกธารเสดจ” ั ื ํ้ ่ ี้ ี ั้ ่ ํ้ ็ ประพาสแต่ละครั้งทรงไม่เปิดเผยพระองค์เองว่า เป็นเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดิน ทำ�ให้ และโปรดให้จารึกอักษรพระปรมาภิไธยย่อ “หิน จปรที่ ๑” ไว้ที่โขดหินบริเวณ ทรงได้ รั บ รู้ ถึ ง ความทุ ก ข์ สุ ข ของอาณาประชาราษฎร์ แ ละเห็ น ความเป็ น อยู่ นาตกธารเสดจนี้ เพอเปนการบนทกประวตการเดนทาง หากคดอกมมหนงกเพอ ํ้ ็ ื่ ็ ั ึ ั ิ ิ ิ ี ุ ึ่ ็ ื่ ของบ้านเมืองตามชนบท ตลอดจนได้สร้างความใกล้ชิดกับราษฎร นับเป็น เป็นการประกาศพระราชอาณาเขตของพระองค์ด้วยอีกนัยหนึ่ง เพราะสมัยนั้น พระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวไทยเป็นอย่างยิ่ง ชาติตะวันตกออกล่าอาณานิคมมายังดินแดนตะวันออกซึ่งมีประเทศแถบเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้เป็นเป้าหมาย 8 9
  • 7. นํ้าตกธารเสด็จแห่งนี้หากเป็นเมื่อ พ.ศ. 2431 ก็น่าเชื่อว่าจะงดงามอุดมสมบูรณ์เป็นธรรมชาติ ยิ่งนัก เพราะแม้กระทั่งวันนี้กาลเวลาผ่านไปถึง 124 ปี ผืนป่าบริเวณนํ้าตกธารเสด็จก็ยังอุดมสมบูรณ์ ร่มรื่นสวยงามที่สุดบนเกาะพะงันไม่เสื่อมคลาย เพียงแต่ว่าฤดูแล้งวันนี้อาจจะมีนํ้าท่าไม่อุดมสมบูรณ์ เท่าวันวานคงสวยงามเฉพาะในฤดูฝนเท่านั้น แต่ก็นับว่าเป็นมนต์ขลังและความมีเสน่ห์ที่มีมาแต่ โบราณกาลโดยแท้ การเสด็จประพาสนํ้าตกธารเสด็จในครั้งต่อๆมาของพระองค์ ก็เพื่อสรงนํ้าที่ลำ�ธารแห่งนี้ รวมทั้ง ยังเป็นแหล่งนํ้าจืดในระหว่างเส้นทางการเดินเรือ ซึ่งทรงมีสายพระเนตรที่ยาวไกลสมกับการเป็น นักเดินทางและนักบุกเบิกผจญภัยโดยแท้ นอกจากนั้นพระองค์ยังได้ทรงสำ�รวจนํ้าตกแห่งใหม่ที่อยู่ ในบริเวณไม่ไกลกันกับนํ้าตกธารเสด็จอีก 2 แห่ง พระราชทานนามว่า “นํ้าตกธารประพาศ” และ “นํ้าตกธารประเวศ” ปัจุจบันการเดินทางเข้าไปเที่ยวยังนํ้าตกธารเสด็จนั้นสะดวกสบายขึ้นกว่าแต่ก่อนมาก เนื่อง จากถนนที่ตัดข้ามเกาะพะงันไปยังอ่าวท้องนายปานทางด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเกาะได้ เสร็จสมบูรณ์เกือบทั้งหมดแล้ว คงเหลือช่วงที่เป็นทางลูกรังอีก 4 กิโลเมตร ก่อนถึงปากทางเข้านํ้าตก ธารเสด็จ จากนั้นจะมีถนนลูกรังแยกเข้าสู่นํ้าตกธารเสด็จ ระยะทางอีก 3 กิโลเมตร ถึงที่ทำ�การอุทยาน แห่งชาติธารเสด็จ ฤดูแล้งรถปิกอัพเดินทางได้สะดวก ส่วนฤดูฝนยังต้องใช้รถขับเคลื่อนสี่ล้อจึงจะ เดินทางไปถึงได้ ส่วนรถเก๋งไม่แนะนำ� 10 11
  • 8. ระหว่างทางจากจุดแยกนี้ ถือว่าเป็น ดิ น แดนแห่ ง ประวั ติ ศ าสตร์ อ ย่ า งแท้ จ ริ ง เ พ ร า ะ น อ ก จ า ก พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 5 แล้ว พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว รัชกาลที่ 6 พระบาทสมเด็จพระปกเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 และสมเด็จพระนาง เจ้ารำ�ไพพรรณี ตลอดจนพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลที่ 9 ก็ ล้ ว นแต่ เ คยเสด็ จ ประพาสมายั ง นํ้ า ตก ธารเสด็จแห่งนี้ โดยมีจารึกพระปรมาภิไธย ย่ อ ของพระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ฯ ทง 3 รชกาลจารกไวบนแผนหนเรยงรายเปน ั้ ั ึ ้ ่ ิ ี ็ ระยะริมธารเสด็จถึง 10 แห่ง ซึ่งอนุชนรุ่น หลังสามารถศึกษาหาความรู้ได้ เมื่อเดินทางเข้าไปตามทางแยกสู่นํ้าตกธารเสด็จ ทางด้านขวามือก็จะพบ พื้นที่โบราณสถานกลุ่มแรก ซึ่งเป็นที่ประดิษฐานพระบรมราชานุสาวรีย์ของ พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว รั ช กาลที่ 5 ถั ด ไปเป็ น จารึ ก พระปรมาภิไธยย่อ “จปร ๑๐๘ ต่อไปมีไร่” และฟากตรงข้ามลำ�ธารจะเป็นจารึก พระปรมาภิไธยย่อ “ปปร ๒๔๖๙, ๒๔๗๑” ต่อจากนั้นเมื่อเดินทางลึกเข้าไปอีก ก็จะพบโบราณสถานกลุ่มที่สอง อยู่ทางด้านขวามือเช่นกัน โบราณสถานกลุ่มนี้ จะมจารกพระปรมาภไธยยอ “วปร ๑๓๐” จารกพระปรมาภไธยยอ “จปร” และ ี ึ ิ ่ ึ ิ ่ จลศกราชทเสดจประพาส จารกพระปรมาภไธยยอ “ปปร,รพ ๒๔๖๙” ครนเมอ ุ ั ี่ ็ ึ ิ ่ ั้ ื่ 12 13
  • 9. เดินทางเลยที่ทำ�การสำ�นักงาน อุทยานแห่งชาติธารเสด็จเข้าไปอีกก็จะเป็นพื้นที่โบราณสถานกลุ่มที่ สาม ซงกลมนมจารกเรยงรายอยสองฝงล�ธารคอ จารกอกษรพระนามยอ “รพ” ทางฝงซายของล�ธาร ึ่ ุ่ ี้ ี ึ ี ู่ ั่ ำ ื ึ ั ่ ั่ ้ ำ และจารึกพระปรมาภิไธยย่อ “ภปร ๒๓ เมษายน ๒๕๐๕” และจารึกอักษรคำ�ว่า ธารเสด็จ ที่ล้นเกล้า รัชกาลที่ 5 ได้ทรงให้จารึกไว้แต่ครั้งเสด็จนํ้าตกแห่งนี้เมื่อปี พ.ศ.2432 ส่วนด้านในสุดบริเวณใกล้กับ ปากลำ�ธารจะเป็นกลุมโบราณสถานกลุมสุดท้าย ด้านซ้ายมือจะเป็นจารึกพระปรมาภิไธยย่อ 3 รัชกาล ่ ่ และพลับพลาเก่าที่เคยประทับซึ่งปัจจุบันได้รับการบูรณะขึ้นมาใหม่เป็นอนุสรณ์ บริเวณใกล้ลำ�ธาร มีจารึกอักษรจีนย่อ “จปร ๑๑๙” เป็นจารึกสุดท้ายที่พบตลอดแนวลำ�ธารสายประวัติศาสตร์แห่งนี้ ส่วนต้นจันกะพ้อ 4 ต้นที่มีบันทึกว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 5 เคยปลูกไว้บริเวณ พลับพลาแห่งนี้ปัจจุบันไม่พบว่ามีหลงเหลืออยู่ คาดว่าคงจะสูญหายล้มตายไปหมดแล้ว สำ�หรับการเที่ยวชมนํ้าตกธารเสด็จสามารถท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี ฤดูที่ดีที่สุดควรเป็นช่วง ปลายฤดูฝนราวเดือนมกราคมจะมีนํ้ามากกว่าในฤดูอื่น ส่วนฤดูแล้งนํ้าตกจะไม่ค่อยมีนํ้าแต่หาก ใครสนใจในเรื่องราวประวัติศาสตร์หรือแวะมาพักผ่อนเที่ยวชมผืนป่าอันอุดมสมบูรณ์ ลำ�ธารสายนี้ก็ ยงคงมคณคาตอการคนหาเสมอ สวนนาตกธารประพาศนน ปจจบนเสนทางยงคอนขางล�บากสามารถ ั ีุ ่ ่ ้ ่ ํ้ ั้ ั ุ ั ้ ั ่ ้ ำ เดนทางไดเฉพาะรถขบเคลอนสลอเทานน เนองจากระยะทางราว 4 กโลเมตรทเขาไปยงตวนาตกตอง ิ ้ ั ื่ ี่ ้ ่ ั้ ื่ ิ ี่ ้ ั ั ํ้ ้ ข้ามเนินเขาหลายแห่งและสภาพเส้นทางไม่ค่อยดีนัก ส่วนนํ้าตกธารประเวศจะแยกเข้าไปจากหัวโค้ง บริเวณที่จะลงสู่หาดท้องนายปานเพียง 300 เมตรเท่านั้นตามเส้นทางที่จะไปหาดขวด แต่ควรเป็น รถปิคอัพเท่านั้นที่จะเดินทางได้เนื่องจากเส้นทางเป็นลูกรังและไม่ค่อยดีเช่นกัน นํ้าตกทั้งสองแห่งนี้ ปัจจุบันมีคุณค่าในความเป็นแหล่งนํ้าจืดและเส้นทางเสด็จ มากกว่าที่จะเป็นนํ้าตก ทั้งนี้ด้วยสภาพ ธรรมชาติที่เปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา 14 15
  • 10. เกาะพะงัน สวรรค์ของคนรักธรรมชาติ หลายคนคงจะจดจำ�ภาพของเกาะพะงันว่าเป็นดินแดนของงานฟูลมูนปาร์ตี้ที่โด่งดัง ไปทั่วโลก อันมีจุดกำ�เนิดเล็กๆ มาจากนักท่องเที่ยวต่างชาติที่ได้มีโอกาสมาถึงเกาะพะงันใน วันพระจันทร์เต็มดวง และดื่มดํ่ากับธรรมชาติ มีความรู้สึกประทับใจบนผืนทรายของหาดริ้น จึงนำ�ไปเขียนเป็นบทความในหนังสือว่าเป็นที่สุดของชายหาดที่จะดูพระจันทร์เต็มดวงได้สวย งามที่สุดแห่งหนึ่งในโลก จนมีคนอ่านแล้วเคลิบเคลี้มตามมาเที่ยวในวันพระจันทร์เต็มดวงตาม บทความนั้นมากขึ้น จากนั้นจึงเริ่มมีงานปาร์ตี้เกิดขึ้นบนชายหาดท่ามกลางบรรยากาศริมทะเล ที่วิเศษสุด จนเกิดเป็นกระแสการท่องเที่ยวในหมู่ชาวต่างประเทศขึ้นว่าจะต้องมาปาร์ตี้บน หาดทรายของเกาะพะงันในคืนวันพระจันทร์เต็มดวงให้ได้สักครั้งหนึ่งในชีวิต นี่เองจึงเป็น จุ ด กำ � เนิ ด ของงานฟู ล มู น ปาร์ ตี้ ที่ วั น นี้ มี ผู้ ค นนั บ หมื่ น คนมาร่ ว มงานสนุ ก สนานนี้ ใ นทุ ก วั น พระจันทร์เต็มดวงบนเกาะพะงัน 16 17
  • 11. หลายคนอาจจะมองภาพของเกาะพะงนในมมนี้ วาเปนเกาะทมแต่ ั ุ ่ ็ ี่ ี คนมากนเหลา เมายา ปารตี้ จนกลายเปนภาพลกษณทออกไปในทางไมสู้ ิ ้ ์ ็ ั ์ ี่ ่ ดนก หากแตในความเปนจรงงานฟลมนปารตกเปนงานหนงซงสนกสนาน ี ั ่ ็ ิ ู ู ์ ี้ ็ ็ ึ่ ึ่ ุ มีสีสัน มีเสน่ห์เป็นของตัวเองไม่เหมือนใครและไม่มีใครเหมือน มีหลาย แห่งอาจจะเลียนแบบเอาอย่างแต่ก็ไม่อาจมีเสน่ห์ได้อย่างสถานที่แท้จริง ซึงเป็นต้นกำ�เนิดคือเกาะพะงัน และในภาพรวมของงานฟูลมูนปาร์ตกเป็น ่ ี้ ็ งานที่สนุกสนานสำ�หรับคนในวัยสนุกวัยหนุ่มสาวอยากปลดปล่อยความ เป็นอิสระเสรีที่ไม่ได้เกินเลยขอบเขตของสังคม หากเราดูแลให้งานฟูลมูน ปาร์ตี้ดำ�เนินไปตามครรลองของระเบียบและกฎหมาย ไม่ให้เกิดเรื่องที่มี ผลกระทบต่อเกาะพะงันในมุมลบ เป็นได้ ฟูลมูนปาร์ตเกาะพะงันวันนีนา ี้ ้ ่ จะเปนการผสมผสาน ของ หาดทรายขาวของหาดรน เสนหของแสงจนทร ็ ิ้ ่ ์ ั ์ แฟชั่น ศิลปะ และการดื่มด่ำ�ในดนตรี เสียงเพลงในสไตล์ที่เข้าถึงอารมณ์ ของวัยรุ่นจากทั่วโลก อย่างไรก็ดี เกาะพะงันนั้นก็ใช่ว่าจะมีเสน่ห์ที่โด่งดังไปทั่วโลกอยู่แค่งาน ฟลมนปารตดงกลาว เพราะหากเรามเวลาลดเลาะเทยวไปในความเปนธรรมชาติ ู ู ์ ี้ ั ่ ี ั ี่ ็ อันยังบริสุทธิ์อยู่ของเกาะพะงัน เราจะพบว่าจากหาดท้องศาลา อ่าววกตุ่ม อ่าว ในวก หาดสน หาดศรีธนู หาดยาว หาดสลัด แม่หาดไปจรดหาดโฉลกหลำ� หาด ขอมและหาดขวด เลียบชายหาดตะวันตกไปทางด้านเหนือ หรือหาดบ้านใต้ บ้านค่าย หาดริ้นใน หาดสีกันตัง หาดริ้นนอก ไปจรดหาดยวน หาดเทียนรวม ถึงหาดอืนทางด้านทิศตะวันออก หรือแม้แต่หาดท้องนายปานน้อย ท้องนายปาน ่ ใหญ่ที่อยู่ไกลสุดทางด้านตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งต้องขับรถข้ามพื้นที่ซึ่งเป็น ภูเขาสูงบริเวณตอนกลางของเกาะไป หาดเหล่านี้ล้วนมีเสน่ห์มีเอกลักษณ์ของตัวเองที่น่าท่องเที่ยวทั้งสิ้น รวมทั้ง วถชวตวฒนธรรมประเพณทผกพนกบความเปนธรรมชาตของคนเกาะพะงนทยง ิีีิ ั ี ี่ ู ั ั ็ ิ ั ี่ ั มีความเปลียนแปลงไปไม่มากนัก หากเทียบกับเกาะแห่งอืนทีกลายเป็นเกาะท่อง ่ ่ ่ เที่ยวอย่างเต็มตัว เกาะพะงันก็ยังมีเสน่ห์มีมุมมองที่น่าค้นคว้าน่าเที่ยวชมอยู่ไม่ น้อย โดยเฉพาะความเป็นธรรมชาติและเป็นกันเองของผู้คนซึ่งวันนี้ยังหาได้อยู่ 18 19
  • 12. ภูมิศาสตร์ของเกาะพะงัน เพชรเม็ดงามบริสุทธิ์ของอ่าวไทย ด้วยสภาพที่ตั้งของเกาะพะงันที่เป็นเกาะขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในช่องอ่างทอง ทางด้านทิศเหนือของเกาะสมุย มีขนาดเนื้อที่ถึง 122 ตารางกิโลเมตร เป็นรอง ก็แต่เกาะภูเก็ต เกาะสมุย เกาะช้าง และเกาะตะรุเตาเท่านั้น เกาะพะงันจึงเป็น เกาะขนาดใหญ่ที่มีสภาพภูมิศาสตร์อุดมสมบูรณ์ทั้งหาดทรายชายทะเลที่มีอยู่ เกือบรอบเกาะโดยมีแนวปะการังอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของเกาะเหมาะแก่ การดำ�นํ้าชมความงามของโลกใต้สมุทรกับมีสันดอนทรายหรือหลังงันอยู่เป็น ระยะอันเป็นที่มาของชื่อเกาะพะงันในอดีตถัดจากชายหาดขึ้นไปเป็นพื้นที่ราบ เชิงเขาที่เหมาะแก่การทำ�สวนมะพร้าว สวนผลไม้และสวนยางพาราไปจนจรด แนวเขาที่วางตัวเหนือใต้อยู่เป็นแกนกลางของพื้นที่เกาะ แนวเขาเหล่านี้เอง 20 21
  • 13. ทเปนพนทปาไมอดมสมบรณมาแตครงโบราณกาล เปนตน ี่ ็ ื้ ี่ ่ ้ ุ ู ์ ่ ั้ ็ ้ นํ้าลำ�ธารหลายสายที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนเกาะพะงัน มีนํ้าตก ลำ�ธารอันสวยงามจนเป็นสถานที่ ที่พระมหากษัตริย์หลาย พระองค์ ท รงเคยเสด็ จ ประพาสมาถึ ง ที่ นี่ โดยเฉพาะ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 เสด็จประพาสมาที่เกาะแห่งนี้ถึง 14 ครั้ง นอกจากนี้ยังเป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่านานาชนิด โดยเฉพาะกวางป่า มีหลักฐานกล่าวกันว่าเมือครังพระบาท ่ ้ สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6 จะเสด็จ เกาะพะงนเปนครงที่ 2 นน มการเตรยมกวางปาใหพระองค์ ั ็ ั้ ั้ ี ี ่ ้ ท่านทรงปล่อย แต่เมื่อทรงเปลี่ยนแปลงกำ�หนดการไม่ได้ มาเยอนจงมการปลอยกวางเหลานนเขาปาไป ปจจบนยงมี ื ึ ี ่ ่ ั้ ้ ่ ั ุ ั ั ผู้พบเห็นกวางเหล่านี้อยู่บ่อยครั้งทั้งแถบนํ้าตกแพงและ แถบนํ้ า ตกธารเสด็ จ และตามทุ่ ง นาในบางครั้ ง รวมทั้ ง ร่ อ งรอยต่ า งๆที่ พ บเห็ น ตามเส้ น ทางเดิ น ป่ า แสดงว่ า ฝู ง กวางเหล่านี้ยังมีจำ�นวนประชากรที่มากอยู่ แต่ยังไม่มีการ ส�รวจอยางเปนทางการวามอยสกเทาใด รวมทงพชพรรณ ำ ่ ็ ่ ี ู่ ั ่ ั้ ื ไม้ ห ายากต่ า งๆ อาทิ กล้ ว ยไม้ เ พชรหึ ง กล้ ว ยไม้ ที่ มี ด้านทิศตะวันออกเฉียงเหนือจะมีแนว ขนาดลำ�ต้นสูงใหญ่ที่สุดในโลกมีขนาดความสูงราว 2- 3 หาดทรายขาวสะอาดและสวยงามกวา ่ เมตร กลีบดอกเป็นลายกระสีเหลืองปนนํ้าตาล มักออก ทอนใดคอ หาดทองนายปานนอยและ ี่ ื่ ื ้ ้ ดอกในราวเดอนกรกฎาคมถงเดอนตลาคม ซงเปนไมประจ� ื ึ ื ุ ึ่ ็ ้ ำ ท้องนายปานใหญ่ ถิ่นที่พบบนเกาะแห่งนี้ เหตุ นี้ เ องที่ เ กาะพะงั น วั น นี้ จึ ง เกาะพะงันมียอดเขาหรา เป็นยอดเขาสูงที่สุดของ ถื อ ได้ ว่ า เป็ น เกาะที่ ยั ง มี ค วามเป็ น เกาะ มีความสูง 627 เมตรจากระดับนํ้าทะเล ในฤดูฝนหมู่ ธรรมชาติเหลืออยู่มากที่สุดแห่งหนึ่ง เมฆ จะลอยเรี่ยยอดเขา เป็นจุดท้าทายให้ผู้คนที่รักการ และเหมาะกับการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ ผจญภัยได้ปีนป่ายขึ้นไปสัมผัสและชมวิวทิวทัศน์ ส่วน อย่างยิ่งด้วยสภาพความอุดมสมบูรณ์ ทางภูมิศาสตร์ดังกล่าว 22 23
  • 14. หาดธารเสด็จ หาดท้องนายปานใหญ่ หาดท้องนายปานน้อยและ หาดขวด ฤดูกาลต่างๆ เหล่านี้จึงเป็นตัวกำ�หนดเขตพื้นที่การ ทองเทยวบนเกาะพะงนไปโดยปรยาย อยางไรกดถอวาเกาะพะงน ่ ี่ ั ิ ่ ็ ีื ่ ั ยังมีฤดูท่องเที่ยวได้เกือบตลอดทั้งปี ผิดกับทางฝั่งทะเลอันดามัน เมื่อถึงฤดูมรสุมจะมีฝนตกยาวนานกว่าคือเกือบ 6 เดือนต่อปี การเดินทางสูเกาะพะงันนันสามารถทำ�ได้ไม่ยาก โดยเฉพาะ ่ ้ จากท่าเรือเฟอร์รี่ดอนสักซึ่งมีเรือเฟอร์รี่ของบริษัทราชาเฟอร์รี่ ข้ามสูเกาะพะงันวันละ 5 เทียวและออกจากเกาะอีกวันละ 5 เทียว ่ ่ ่ เช่นกัน เริ่มตั้งแต่เวลา 8.00 น ถึง 18.00 น. ขาไป และ 05.00 น. ถึง 17.00 น. สำ�หรับขากลับ ใช้เวลาเดินทางราว 2 ชัวโมง 30 นาที ่ นักท่องเที่ยวที่เดินทางโดยรถทัวร์จากกรุงเทพฯ สามารถมากับ รถทัวร์แล้วลงเรือเฟอร์รี่เที่ยวเช้าข้ามไปยังเกาะพะงันได้จากที่นี่ ฤดูกาลและการเดินทางท่องเที่ยวเกาะพะงัน สวนทานทเดนทางดวยรถยนตสวนตวกสามารถน�รถลงเรอไดเชน ่ ่ ี่ ิ ้ ์่ ั ็ ำ ื ้ ่ ได้ด้วยตัวเองอีกด้วย หากคุณไม่มีรถจะทำ� เดยวกน นอกจากนหากใครเดนทางดวยเครองบนมาลงทสนามบน ี ั ี้ ิ ้ ื่ ิ ี่ ิ อย่างไร? การเช่ารถยนต์หรือรถมอเตอร์ไซค์ สุราษฎร์ธานี ก็จะมีรถบัสปรับอากาศให้บริการรับ-ส่งตามเทียวบิน ่ ที่มีให้บริการอยู่หลายร้านบริเวณท้องศาลา เกาะพะงัน มีฤดูกาลต่างๆ เป็นไปตามอิทธิพลของลมมรสุมเป็นสำ�คัญ ของเครื่องบินสู่ท่าเรือเฟอร์รี่ดอนสัก สำ�หรับใครที่ไปท่องเที่ยว ซึ่ ง เป็ น ชุ ม ชน ขนาดใหญ่ ที่ เ จริ ญ ที่ สุ ด บน ฤดูร้อนอากาศสดใสเหมาะกับการท่องเที่ยวที่สุดอยู่ระหว่างเดือนมกราคมถึง เกาะสมุย เกาะเต่าแล้วจะมาแวะเที่ยวชมเกาะพะงันก็สามารถ เกาะพะงันและเป็นที่ตั้ง ของท่าเรือเฟอร์รี่ พฤษภาคม จากนั้นจะเข้าสู่ช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกันยายน ซึ่งฤดูนี้จะมี เดินทางต่อไประหว่างเกาะเหล่านี้ได้ด้วยบริการเรือเร็วลมพระยา บนเกาะพะงัน ก็เป็นอีกวิธีหนึ่งซึ่งสะดวกใน ลมพัดยาหรือลมพัทธยาพัดสู่เกาะพะงันอาจมีฝนบ้างเล็กน้อยแต่ก็ยังสามารถ และเรื อ เร็ ว ซี ท รานดิ ส คั ฟ เวอรี่ ที่ วิ่ ง เชื่ อ มต่ อ ระหว่ า งเกาะสมุ ย การท่องเที่ยว หากแต่จะต้องระมัดระวังให้ ท่องเที่ยวได้เพียงแต่ช่วงกลางวันนํ้าทะเลมักจะลงจนเห็นหลังงันหรือหลังนาที่ เกาะพะงัน และเกาะเต่าอยู่ทุกวันทั้งไปและกลับ ติดต่อหาราย มาก โดยเฉพาะการขับขี่รถเตอร์ไซค์ มักเกิด เป็นแนวสันดอนปะการังอยู่นอกฝั่งอยู่ทั่วไปและนํ้าจะขึ้นเต็มฝั่งในช่วงเย็นและ ละเอียดเพิ่มเติมได้จากเอกสารและแผนที่ๆ มีแจกจ่ายอยู่ทั่วไป อุบัติเหตุกันอยู่บ่อยครั้ง หรือไม่เช่นนั้นถ้าหาก กลางคืน หาดที่มีผลกระทบในช่วงนี้ได้แก่ หาดริ้นใน หาดบ้านใต้ บ้านค่าย ก่อนเดินทางแนะนำ�ให้ตรวจสอบตารางเวลา ราคาค่าโดยสารไป คุณไม่ต้องการเดินทางเอง การติดต่อซื้อทัวร์ หาดท้องศาลาและหาดหินกอง อย่างไรก็ดีสำ�หรับชาวประมงแล้วในช่วงที่มีลม ที่เว็บไซต์ของบริษัทบริการขนส่งโดยตรง จากผประกอบการทองเทยวทองถนกสามารถ ู้ ่ ี่ ้ ิ่ ็ พัดยาหรือลมพัทธยากลับเป็นฤดูที่ดีในการออกหาปูหาปลาที่มักจะชุกชุมกว่า การเดินทางท่องเทียวเกาะพะงันนั้นอาจทำ�ได้หลายวีธี เริม ่ ่ ท�ไดไมยากซงมอยหลายรานบรเวณทองศาลา ำ ้ ่ ึ่ ี ู่ ้ ิ ้ ในฤดูอื่น ส่วนในเดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคมเป็นช่วงฤดูมรสุมที่มีลมว่าวพัด จากคุณนำ�รถยนต์ส่วนตัวข้ามเรือเฟอร์รี่มาเอง วิธีนี้สะดวกที่สุด เช่ น กั น สามารถหาข้ อ มู ล เพิ่ ม เติ ม พร้ อ ม เขาสเกาะพะงนท�ใหมฝนตกชกกวาชวงอน เดอนทมฝนตกหนกทสดจะเปนเดอน ้ ู่ ั ำ ้ ี ุ ่ ่ ื่ ื ี่ ี ั ี่ ุ ็ ื คุณสามารถวางแผนการท่องเที่ยวเอง เดินทางได้เองด้วยการ รายละเอียดได้จากเอกสารท่องเที่ยวต่างๆที่ พฤศจิกายนและหาดที่หันหน้ารับคลื่นลมจากลมว่าวเต็มที่ก็คือ หาดริ้นนอก ดูแผนที่ ที่มีแจกอยู่ทั่วไปบนเกาะและสนุกกับการขับรถรอบเกาะ วางแจกอยู่ทั่วไปหรือสอบถามร้านค้าต่างๆ 24 25
  • 15. ชุมพร Chumphon จากส จากสนา นาม บางกอก แอร์เวย์ 0 7742 2512-8 www.bangkokairways.com บินส การบินไทย 0 7760 1331-2 www.thaiairways.com มบินสุว L ุว ighompr ไฟร์ฟลาย แอร์ไลน์ 0 7760 1400 www.fireflyz.com รรณภ ทาเรือทุงมะขาม Thung Makham Pier H Sp ayah ซิลค์แอร์ 0 7760 1172-73 www.silkair.com รรณภ ูมิแล 6 7 ed e ราชา เฟอรี่ 0 7741 5230-3 www.rajaferryport.com k m Cata ูมิ Fr ะสนา s . (1 ma ซีทราน เฟอรี่ 0 7742 6000-1 www.seatranferry.com .30 ra มบิ เกาะเตา hrs n om Ko Tao เรือเร็วลมพระยา 0 7742 7765-6 www.lomprayah.com นดอน .) Suva เรือด่วนส่งเสริม 0 7742 0157 www.songserm-expressboat.com เมือง F ซีทราน ดีสคัฟเวอรี่ 0 7724 6086-8 www.seatrandiscovery.com rnab หาดริ้น ควีนเฟอร์รี่ 0 7742 7650 - hum rom Su 41 เพชรรัตน์ มารีน่า 0 7742 5514, 0 7742 5262 www.samuispeedboat.com i Air 65 por va km t rnabhu s . (1 เกาะพะงัน .30 Ko Pha-ngan rs จักรยาน การท่องเที่ยวเนิบช้า h .) mi Airpor ทาเรือทองศาลา Thong Sala Pier พาท่านเที่ยวเกาะพะงันได้ทั่วถึง และปลอดภัย อ.ละแม ทาเรือหาดริ้น ด้วยขนาดพืนที ภูมประเทศ ตลอดจน การแบ่งโซนการใช้ประโยชน์ ้ ่ ิ t and Don M Amphoe Hat Rin Pier Lamae พนทดวยฝมอของธรรมชาติ ประกอบกบ “วถพะงน” การทองเทยวดวย ื้ ี่ ้ ี ื ั ิี ั ่ ี่ ้ 1 hr . 30 m 45 mins. อุทยานแหงชาติทางทะเล . จักรยานเป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ขอแนะนำ�พร้อมประทับตรายืนยันให้ผู้ ins หมูเกาะอางทอง uang Airport Mu Ko Ang Thong National Park ทาเรือลมพระยา ทาเรือบอผุด เดนทางทองเทยวรบรวา “เหมาะสม” ถนนทวเกาะพะงนตดตรง ตดขวาง ิ ่ ี่ ั ู้ ่ ั่ ั ั ั Lomprayah Pier Bo Phut Pier ระโยงระยางทั่วเกาะนับรวมกันได้ความยาวที่ 74.72 กิโลเมตร เส้นทาง 2.30 hrs. อ.ทาชนะ สนามบินเกาะสมุย Amphoe Ko Samui Airport เชื่อมโยงที่ยาวที่สุดคือเส้นท้องศาลา-อ่าวท้องนายปาน 17.0 กิโลเมตร Tha Chana ทาเรือซีทรานเฟอรรี่ Seatran Ferry Pier เกาะสมุย Ko Samui สภาพเป็นถนนซีเมนต์ผสมถนนดิน แม้วันนี้ยังไม่มีเลนช่องทางจักรยาน s. 41 ทาเรือราชาเฟอรรี่ เป็ นการเฉพาะ แต่ ถนนทั่ ว เกาะพะงั น ยั ง มี พ าหนะบนถนนน้ อ ยมาก เหมาะสม ระวงกแตสนขทตางท�หนาที่ ั ็ ่ ุ ั ี่ ่ ำ ้ 2 hr .  Raja Ferry Pier rs . rs. สงทผเดนทางจะไดพบเจอบนสองฝงถนนแทบทกสายตางหากทมากมาย ิ่ ี่ ู้ ิ ้ ั่ ุ ่ ี่ เห่ า เมื่ อ พบเจอคนแปลกหน้ า ผ่ า นมา hrs h h 3 .30 1.30 2 หลากหลาย เกาะแคนมนาขาว มดงเสมดขาว มวถชาวบานพะงนทบงบอก ่ ี้ ี ้ ี ็ ีิี ้ ั ี่ ่ แต่วิธีทำ�ให้สุนัขหรือแม้แต่สัตว์ทุกชนิด ทาเรือดอนสัก ว่าวิถีพะงันนี่แหล่ะที่จะนำ�พาไปสู่เกาะสีเขียวได้ ทั้งสถาปัตยกรรมบ้าน สยบยอมนิ่ง หยุดดูได้ คือความเนิบช้า อ.ดอนสัก อ.ทาฉาง Amphoe Don Sak Pier ที่สอดคล้องกับสภาพอากาศ นิสัยชอบปลูกผัก ผลไม้ปลอดสารพิษข้าง ความนิง และนิงเท่านัน สำ�หรับจักรยาน ่ ่ ้ Amphoe Don Sak Tha Chang 4142 บ้านรับประทานกันเอง วิถีเศรษฐกิจพอเพียง รักสะอาด รักธรรมชาติ ให้ เช่ า มี บ ริ ก ารตามร้ า นบริ เวณใกล้ 41 ทาเรือทาทอง Tha Thong Pier 4142 เก็บความเป็น “บ้าน บ้าน” ไว้ครบถ้วน ทั้งเช้าและบ่ายเป็นเวลาที่ ท่าเรือท้องศาลา 401 สนามบินสุราษฎรธานี สุราษฎรธานี Surat Thani Airport อ.พุนพิน Surat Thani ไปนครศรีธรรมราช 27 Amphoe Phunphin To Nakhon Si Thammarat
  • 16. แหล่งท่องเที่ยว บริเวณหาดท้องศาลา ชื่อหาด “ท้องศาลา” นี้มีกำ�เนิดมาจากครั้งอดีตเมื่อ ราว พ.ศ. 2427 เคยมีศาลาอยู่หลังหนึ่งอยู่ใกล้กับบริเวณ สะพานทาเรอ ซงเจาเมองไชยาเคยใชนงวาราชการงานเมอง ่ ื ึ่ ้ ื ้ ั่ ่ ื และใช้เป็นที่พักผ่อนปัจจุบันเรียกว่าศาลาที่ว่าการหรือ ทำ�เนียบ จึงเรียกขานหาดแถบนี้ว่า หาดท้องศาลา ซึ่งต่อ มากลายเป็นศูนย์กลางความเจริญของเกาะพะงัน มีทั้ง ท่าเรือเฟอร์รี่ เรือด่วน รถรับส่งนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร นานาชาติ ร้านขายของทีระลึก ร้านอินเทอร์เน็ต ร้านกาแฟ ่ น่ารักๆ ตลอดจนโรงแรมที่พัก ธนาคาร บริษัทท่องเที่ยว รถเชา ฯลฯ ถอวาเปนแหลงทมสงอ�นวยความสะดวกทสด ่ ื ่ ็ ่ ี่ ี ิ่ ำ ี่ ุ บนเกาะพะงัน บริ เวณหาดท้ อ งศาลาแห่ ง นี้ ห ากเป็ น เทศกาลงาน ประเพณีสงกรานต์ ก็จะเป็นศูนย์รวมของนักท่องเที่ยวทั้ง ชาวไทยและต่างประเทศที่มารวมตัวเล่นสาดนํ้าสงกรานต์ กันอย่างสนุกสนาน นอกจากนี้ก็ยังมีประเพณีชักพระในวันออกพรรษา เป็ น ประเพณี เ ก่ า แก่ ที่ สำ � คั ญ ซึ่ ง กำ � เนิ ด ขึ้ น ที่ เ กาะพะงั น เป็นประเพณีพื้นบ้านที่ชาวเกาะพะงันยังคงยึดถือและ ปฏิบัติกันสืบมา 28 29
  • 17. หาดท้องศาลา หาดท้ อ งศาลา ถื อ ว่ า เป็ น ชายหาดแห่ ง หนึ่ ง ที่ ส ามารถเฝ้ า ชมพระอาทิ ต ย์ ต กได้ ส วยงาม และสามารถมองเห็นเกาะแตในที่อยู่ไม่ไกลได้อย่างดี เป็นจุดที่บริษัทนำ�เที่ยวมักจะพานักท่องเที่ยว พายเรือคายัคไปยังเกาะแตในซึ่งอยู่ไม่ไกลเพื่อไปท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจอยู่เสมอ บริเวณด้าน หน้าของหาดเป็นสถานที่ตั้งของเรือหลวงพงันซึ่งปลดประจำ�การและนำ�มาตั้งไว้เป็นอนุสรณ์สถาน ในความทรงจำ�ครั้งอดีต เรือหลวงพงันนี้เป็นเรือในกลุ่มเรือยกพลขึ้นบกและยุทธบริการเดิมชื่อ ยูเอส เอสสตารค เคานตี แอลเอสที 1134 ซงกองทพเรอไดจดหาตามโครงการชวยเหลอทางทหารจากรฐบาล ์ ์ ึ่ ั ื ้ั ่ ื ั สหรัฐอเมริกา โดยขึ้นระวางประจำ�การ เมื่อวันที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2509 และปลดระวางประจำ�การ เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2551 อายุการใช้งานในกองทัพเรือประมาณ 40 ปี มีประวัติการร่วมรบใน สงครามเวียดนามในหน้าที่เรือลำ�เลียงยกพลขึ้นบก และเฝ้าตรวจการณ์บริเวณชายฝั่งเพื่อป้องกันการ แทรกซมทางทะเล ตลอดจนการล�เลยงอาวธยทโธปกรณและอาหารไปยงเมองตางๆในเวยดนาม เคย ึ ำ ี ุ ุ ์ ั ื ่ ี ถูกซุ่มโจมตีอยู่หลายครั้งแต่ได้รับความเสียหายไม่มากนัก ปัจจุบันกองทัพเรือได้อนุมัติสนับสนุนเรือ หลวงพงัน พร้อมพัสดุอุปกรณ์ประจำ�เรือให้จังหวัดสุราษฎร์ธานี เมื่อวันที่ 10 มิถุนายน พ.ศ.2553    เพื่อนำ�ไปจัดสร้างเป็น “พิพิธภัณฑ์เรือหลวงพงัน”  ณ บริเวณท่าเทียบเรือท้องศาลา ตำ�บลเกาะพะงัน อำ�เภอเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานีอันจะเป็นแหล่งเรียนรู้ที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์ สำ�หรับ คนรุ่นหลัง และเป็นเกียรติประวัติของกองทัพเรือและเป็นความภาคภูมิใจของชาวสุราษฎร์ธานีต่อไป 30 31
  • 18. มี ม นต์ ข ลั ง ให้ เ ห็ น โดยเฉพาะในเวลาโพล้ เ พล้ ใ กล้ ค่ำ � ที่ มี แ สงสี ข องไฟมาช่ ว ย สร้างบรรยากาศพร้อมกับนักท่องเที่ยวและผู้คนที่เดินจับจ่ายซื้อของกินของใช้ กันอย่างสนุกสนาน ทั้งเสื้อผ้าราคาถูก ของกินต่างๆ รวมทั้งขนมโบราณอย่างขี้ หมาต้วงหรือข้าวตูที่มีทั้งแห้งทั้งสดก็ยังมีให้ลองลิ้มชิมรส โปสการ์ดสวยๆ ก็มี ให้เลือกซื้อเป็นที่ระลึก ใครคลั่งไคล้กับเสียงเพลงคันทรีย้อนยุคให้ไปที่หน้าร้าน อาหารไอริช ที่นี่จะมีศิลปินจากแดนไกลที่หลงใหลคลั่งไคล้ในความบริสุทธิ์ของ เกาะพะงันผันตัวมาเป็นชาวเกาะผู้มีดนตรีในหัวใจพร้อมให้ความบันเทิงกับ คุณได้อย่างไม่รู้เบื่อในทุกวันเสาร์ที่มีถนนคนเดินจนกลายเป็นเอกลักษณ์อย่าง หนึ่งคู่ถนนคนเดินไปแล้วในวันนี้ ถนนคนเดินวิถีชีวิต และสีสันวันสุดสัปดาห์ เป็นกิจกรรมที่ชาวท้องศาลาร่วมกันจัดพื้นที่ให้มีการนำ�สินค้ามาวางขายบนถนนทุก วันเสาร์ เวลา 16.00 – 21.00 น. ในวันดังกล่าวตั้งแต่ยามบ่ายบริเวณถนนตลาดเก่าที่เป็นย่าน การค้าโบราณจะคลาคลํ่าไปด้วยผู้คนพ่อค้าแม่ขายที่พากันนำ�สินค้ามาวางขายเรียงรายกันบน ถนน โดยมีการปิดการจราจรให้เป็นถนนคนเดินเที่ยวอย่างเพลินใจ สภาพบ้านเรือนสองฟาก ถนนคนเดินนี้ยังเป็นบ้านห้องแถวเรือนไม้ที่มีสภาพสมบูรณ์อยู่หลายหลัง บางหลังก็เคยเป็นที่ อยู่ร้านค้าของคหบดีในอดีตเช่นบ้านเก่าหลังหนึ่งเคยเป็นตัวแทนขายส่งสุรา อีกหลังหนึ่งเจ้า ของชื่อโกยี่เคยขายผัดไทยขึ้นชื่อปัจจุบันเลิกราไปแล้ว แต่บ้านเก่าหลังนี้ก็ยังอยู่และมีของขาย อยู่หลายชนิด บ้านเก่าๆเหล่านี้ยังอยู่เรียงรายไปจนถึงบริเวณหน้าไปรษณีย์และธนาคาร นครหลวงไทย จำ�กัด ซึ่งเป็นธนาคารแห่งแรกบนเกาะพะงัน บรรยากาศย้อนยุคเหล่านี้จะยิ่ง 32 33