SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  90
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่ใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับระบบการให้คาปรึกาา
ตามแนวการสร้างสรรค์ความรู้ เรื่องการควบคุมระบบ
นายสันติ หุตะมาน
ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Topic ที่นาเสนอ
ข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิจัย
ขั้นทดลองเครื่องมือวิจัย
การทดลองใช้เครื่องมือในงานวิจัย
วัตถุประสงค์งานวิจัย
ทฤษฎีที่เกี่ยวข้องงานวิจัยด้าน PBL, Mentoring และ Authentic Assessment
ความเป็นมาและความสาคัญของปัญหา
ความเป็นมาของการศึกาาไทย
พ.ศ. 2391 การศึกษาไทยเริ่มจาก วัด วัง บ้าน สานักครู
พ.ศ. 2414 โรงเรียนหลวงจัดตั้งขึ้นในพระบรมมหาราชวังเพื่อสอนภาษาไทยให้แก่เจ้านายชั้นสูง
พ.ศ. 2464 ประกาศใช้พรบ. ประถมศึกษา บังคับให้เด็ก 7 ขวบต้องเข้าเรียนจนถึงอายุ 14 ปี
มี 4 ระดับคือ ชั้นมูล ชั้นประถม ชั้นมัธยม และชั้นอุดม ต่อมาตัดชั้นมูลออกไป
ที่มา : วิทย์ วิศทเวทย์. ปรัชญาการศึกาาไทย ๒๔๑๑-๒๔๗๕.
พ.ศ. 2441 พระยาวิสุทธิสุริยศักดิ์ (อรรคราชฑูตสยามกรุงลอนดอน) เสนอให้รัฐบาลทา 3 อย่างใน
การปฎิรูปการศึกษา
- ตั้งโครงการแปลถ่ายเอาวิชาการจากภาษาต่างประเทศมาเป็นภาษาไทย
- เพิ่มวิชาภาษาต่างประเทศไว้ในไทย
- เตรียมนักเรียนที่จะส่งไปเรียนต่างประเทศให้มีพื้นดีพอ
“ภาาาต่างประเทศมิได้มีค่าในตัวเองเป็นเพียงสะพานพาไปสู่ความรู้”
การสอนจึงเป็นลักษณะการบอก
การเรียนคือการท่องจา
การสอบจาเรียกว่าการไล่
ครูผู้สอบเรียกว่าผู้ไล่หนังสือ
ไล่หมายถึงไล่ไปทีละตัวอักษร
เพื่อทดสอบความจา
รากเหง้าการสอน ของไทย
เป็นลักษณะการบอกให้จา
ยุทธศาสตร์การผลิตกาลังคนในทศวรราที่สอง พ.ศ. 2552-2561
สถานการณ์ด้านกาลังคน กาลังคนที่สถานศึกษาผลิตมานั้นขาดความรู้ทักษะที่จาเป็น
ความรู้ในการ
ประยุกต์ตัวเลข
ทักษะการคานวณ
ขั้นพื้นฐาน
การคิดอย่างเป็น
ระบบ
การแก้ปัญหา
ในงาน
ก า ร ท า ง า น
เป็นทีมความรับผิดชอบ
ในงาน
ที่มา : สานักงานสภาการศึกษา. ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากาลังคนของประเทศในช่วงการปฎิรูปการศึกาาในทศวรราที่สอง พ.ศ. 2552-2561.
ความรู้ ทักาะ
ไม่มีความอดทน
ไม่กระตือรือร้นใน
การทางาน
คุณลักาณะด้านความรู้
กิจนิสัยด้านอุตสาหกรรม
ยุทธศาสตร์การผลิตกาลังคนในทศวรราที่สอง พ.ศ. 2552-2561
ข้อเสนอแนะ
ควรมีการพัฒนา
หลักสูตรที่เน้น
การฝึกปฎิบัติ
ควรมีการบูรณา
การกับการ
ทางานจริง
มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ระหว่างผู้เรียนพัฒนากาลังคนให้มี ความรู้
และ ทักษะ ทั้งทักษะที่
จาเป็นและทักษะวิชาชีพ
ที่มา : สานักงานสภาการศึกษา. ยุทธศาสตร์การผลิตและพัฒนากาลังคนของประเทศในช่วงการปฎิรูปการศึกาาในทศวรราที่สอง พ.ศ. 2552-2561.
วิธีการ
ส่งเสริมการใช้
เทคโนโลยี
กระบวนการ
การจัดการเรียนรู้ตามแนว
ทฤาฎีการสร้างสรรค์ความรู้
โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
เป้าหมาย
พัฒนากาลังคนให้มี
กิจนิสัยด้าน
อุตสาหกรรม
งานวิจัยที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสร้างองค์ความรู้จากการปฎิบัติ(1)
โดยทั่วไป สถานประกอบการต้องการบุคคลที่จบออกไปแล้วทางานได้ แต่ขณะเดียวกันสถานศึกษาผลิตกาลังคนที่มี
การฝึกปฎิบัติเพียงแค่เฉพาะรายวิชา โครงงานพิเศษ
ดังนั้นจึงควรควรส่งเสริมให้ทาโครงงานมากกว่าการลง Lab. ปกติ (Conventional Laboratory Class)
Kevin J. McDermott Andrew Nafalski and Ozdemir Gol Project-based Teaching in Engineering Programs. IEEE Frontiers in Education Conferenca, 2007.
Carina Savander-Ranne, Olli-Pekka Lunden and Samuli Kolari An Alternative Teaching Method for Electrical Engineering Course. IEEE Transactions on Education,
Vol.,51 No.4, November, 2008.
ตัวอย่างการสอนวิชา Active RF Circuit ด้วยการให้งานรายสัปดาห์, ทดสอบมโนทัศน์, นศ.นาเสนองานโครงงาน
พบว่าช่วยให้ผู้เรียนมีทักษะด้านการสื่อสารและทักษะการแก้ปัญหา ดีกว่าการเรียนแบบบรรยาย
ควรส่งเสริมให้ผู้เรียนมีการสรุปมโนทัศน์ที่ได้จากการเรียนรู้ควบคู่กับการนาเสนองาน
การลงมือทา
โครงงาน
Kolb’s Learning Cycle
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง
พัฒนาทักษะทางเทคนิคด้านวิศวกรรม
เกิดทักษะการร่วมมือกันทางาน
งานวิจัยที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสร้างองค์ความรู้จากการปฎิบัติ(2)
ผู้สอนควรจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน “learn how to lern” และควรสนับสนุนให้หลักสูตรมีการจัดการเรียนรู้ด้วย
ตนเองควบคู่กับการทาโครงงานเพิ่มเติมจากวิธีการสอนแบบบรรยาย
การทางานกลุ่มที่ดี อยู่ระหว่าง 3-5 คน และควรใช้การบูรณาการหลายๆวิชา
Marco Winzker Semester Structure with Time Slot for Self-Learning and Project-Based Learning. IEEE Education Conferenca, 17-20 April, 2012.
การทาโครงงานต้องใช้เวลามาก, ผู้เรียนต้องมี Academic Performanceมากพอ ที่จะทาโครงงานได้ทาให้
ไม่สามารถบูรณาการวิชาต่างๆเพื่อแก้ปัญหาได้
การทาโครงงานต้องใช้ค่าใช้จ่ายมาก ทาให้มีปัญหากับผู้เรียนบางคนได้
ควรให้ผู้เรียนทาโครงงานเป็นกลุ่มโดยบูรณาการหลายวิชาเข้าด้วยกัน
ข้อด้อยของ PBL คือใช้เวลาและค่าใช้จ่ายมาก
ผู้เรียนควรมีพื้นฐานความรู้เดิม (Prior Knowledge) ที่เพียงพอต่อการทาโครงงาน
สรุป
งานวิจัยที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางสร้างองค์ความรู้จากการปฎิบัติ(3)
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานช่วยให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนดีกว่า การจัดการเรียนรู้แบบบรรยาย
และมีความคงทนทางการเรียน
ทรงศักดิ์ สองสนิท การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบร่วมมือบนเว็บโดยใช้พื้นฐานการเรียนรู้แบบโครงงาน.วิทยานิพนธ์ ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ศึกษา), มจพ.,2552.
PBL
ข้อดี
เกิดทักษะการแก้ปัญหาและทักษะการร่วมมือกันทางาน
เกิดทักษะการสื่อสาร
เกิดทักษะทางวิชาชีพ
ข้อด้อย
มีความคงทนทางการเรียน Mentoring
ควรการบูรณาการหลายๆวิชาเข้าด้วยกัน
ใช้เวลามาก
เสียค่าใช้จ่ายมาก
ต้องมี Prior Knowledge เพียงพอต่อการทาโครงงาน
งานวิจัยที่สนับสนุนการจัดการเรียนรู้ร่วมกับระบบพี่เลี้ยง
รูปแบบฝึกอบรมการสอนงาน(Coaching) ที่เหมาะสมคือใช้การบรรยาย อภิปราย กรณีศึกษา บทบาทสมมติและ
การฝึกปฎิบัติการสอนงาน
แพรวพรรณ บุญฤทธิ์มนตรี การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการสอนงานให้กับหัวหน้าโรงงานอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ : กรณีศึกาา บริาัทแคล-คอมพ์อิเล็กโทรนิคส์.วิทยานิพนธ์ปริญญา
การศึกษาดุษฎีบัณฑิต (การศึกษาผู้ใหญ่),มศว., 2550.
Mentoring ช่วยให้Mentee มีความเชื่อมั่นในตนเอง มีความรู้ (Knowledge) และทักษะ (Skill) เพิ่มขึ้น
ช่วยลดความเสียหายที่จะเกิดจากการรู้เท่าไม่ถึงการณ์ได้
Phyllis A. Gordon The Road to Success with Mentor. 17th Annual Society for Vascular Nursing Symposium,Las Vegas, Nevada, June 10, 1999.
Peer-Mentoring นอกจากจะช่วยส่งเสริมให้มีความรู้เพิ่มขึ้นแล้วยังช่วยส่งเสริมด้านจิตใจของ Menteeอีกด้วย
อาทิเช่น การเคารพตนเอง เป็นต้นแบบ(Modeling) ให้Mentee ปกป้อง Mentee จากการถูกตาหนิติเตียน
การให้คาปรึกษา(Counseling) การช่วยให้Mentee มองเห็นหนทางที่เป็นไปได้เป็นต้น
Kimberly A. Smith-Jentsch, Shannon A. Scielzo, Charyl S. Yarbrough and Patrick J. Rosopa. A Comparison of face-to-face and Electronic peer-mentoring :
Interactions with mentor gender. Journal of Vocational Behavior, Volume 72 : 193-206, 2008..
ระบบพี่เลี้ยง
(Mentoring)
กระตุ้นให้ผู้เรียนลงมือทา
ให้การช่วยเหลือทั้งด้านเทคนิค
และด้านจิตใจส่งเสริมให้ผู้เรียนแสวงหาความ
ด้วยตนเองลดภาระการชี้แนะของผู้สอน
การมอบหมายงานเป็น
กลุ่ม จะมีผู้เรียนบางคน
ในกลุ่มที่ตั้งใจทางาน
ปัญหา
การใช้รูปแบบ PBL
ผู้ เ รี ย น บ า ง ค น ที่ มี
พื้นฐานน้อย ขาดความ
กระตือรือร้นในการทา
โครงงาน
การใช้รูปแบบ PBL
ผู้เรียนบางคนใช้เวลา
หาข้อมูลมากจนเกินไป
และอาจเป็นข้อมูลที่ไม่มี
ประโยชน์ในการทา
โครงงาน1. K.Garvin case study of project-based learning course in civil engineering
design. European Journal of Engineering Education,Vol.36, No.6, December 2011.
2. Yu Wang et.all. Project-based learning in mechatronics education in close
collaboration with industrial : Methodologies, example and experiences. Elsevier 2012.
ทฤาฎีที่เกี่ยวข้อง
ทฤาฎีการเรียนรู้
ที่มา : สุรางค์ โค้วตระกูล จิตวิทยาการศึกาา
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. การจัดการเรียนรู้แนวใหม่.
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
(Cognitive Theories)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
(Behavioral Theories)
Pavlov ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
Watson ทดลองทฤษฎีการวางเงื่อนไขกับมนุษย์
Skinner ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบ Operant (การเสริมแรง)
Wund ทฤษฎีจิตสานึก (Consciousness)ประกอบด้วย 3 อย่างคือ1)การสัมผัส
กับสิ่งเร้าจากประสาททั้ง5 2)มโนภาพ 3)อารมณ์ ความรู้สึก
ทฤษฎีการเรียนรู้ทางสังคมแนว
พุทธิปัญญานิยม
(Social Cognitive Theories)
กลุ่มGestaltทฤษฎีการหยั่งรู้การเรียนรู้เป็นผลจากผู้เรียนสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
Piaget ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา เชื่อว่าผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
Vygotsky ทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญา เน้นการเรียนรู้ด้วยตนเองจากสังคม
Bruner ปรับปรุงจากทฤษฎีของ Piaget และ Vygotsky โดยให้ความสาคัญกับ
การสัมผัสกับสิ่งแวดล้อม ทฤษฎี Constructivist
Bandura เชื่อว่ามนุษย์เรียนรู้จากการสังเกตและการเลียนแบบ
หลักการของ Constructivist การจัดการเรียนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
แนวความคิดมาจาก Jerome Seymour Bruner
- การรับรู้ของคน จะใช้การจัดประเภทของสิ่งเร้าด้วย
การลงรหัส ว่าสิ่งเร้าที่ตนพบอยู่ในประเภทใด
- ความสามารถในการอธิบายมโนทัศน์จะเกิด
หลังจากอายุ 15 ปีขึ้นไป- การเรียนรู้เป็นกระบวนการกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดใหม่
หรือมีมโนทัศน์ใหม่ด้วยการอ้างอิงจากความรู้เดิม
- เน้นให้ผู้เรียนค้นพบด้วยตัวเอง (อิงตามทฤษฎีของ
Piaget) โดยเน้นพื้นฐานความรู้เดิมเนื้อหาใหม่จะต้องอยู่ใน
รูปที่ผู้เรียนสังเกตได้จากประสบการณ์ของตนเอง
ที่มา : สิริอร วิชชาวุธ. จิตวิทยาการเรียนรู้.
ที่มา : ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. การจัดการเรียนรู้แนวใหม่.
ปรัชญาปฎิบัตินิยม (Pragmatism)
Practical ใช้กับกฎเกณฑ์ทางศีลธรรม
Pragmatic ใช้กับกฎเกณฑ์ทางศิลปะและเทคนิค
ด้านวิทยาศาสตร์John Dewey นักปรัชญาที่รวมแนวคิดของ William James และ Charles
Sanders Peirce เข้าด้วยกัน แล้วนามาใช้กับการศึกษา
มนุษย์จะเก็บรักษาประสบการณ์ไว้ได้ในความทรงจา แต่
สัตว์ไม่สามารถทาได้ความจริงก็คือสิ่งที่เป็นธรรมชาติ ที่เรารับรู้ด้วย
ประสาทสัมผัสประสบการณ์มีลักษณะเป็นสิ่งธรรมชาติ เป็นการแสดงปฎิกริยา
ระหว่างอินทรีย์กับสิ่งแวดล้อม
ที่มา : ประทุม อังกูรโรหิต. ปรัชญาปฎิบัตินิยม : รากฐานปรัชญาการศึกาาในสังคมประชาธิปไตย.
การศึกาาในโรงเรียนทดลองของ Dewey
Dewey สร้างโรงเรียนทดลองในมหาวิทยาลัยชิคา
โก พ.ศ. 2439- กระจายอานาจการบริหารไปสู่แผนกวิชา
- ผู้สอนต้องมีความรู้เฉพาะด้านเป็นอย่างดี
- ไม่มีระบบการให้คะแนน (Ungrade)
- แบ่งกลุ่มตามความสนใจและความสามารถ
ของเด็ก- ไม่ส่งเสริมการเรียนโดยใช้
คะแนนเป็นการวัดความสามารถ
- ไม่มีแบบฝึกหัดหรือการบ้าน ใช้
ระบบกิจการแทน วัดจากเป้าหมาย
จะต้องบรรลุจึงจะถือว่าผ่าน
Project-based Learning
ใช้โปรแกรม MATLAB
เพื่อจาลองการทางาน
ทาโครงงาน
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อ
ควบคุม Plant
Prototype
PCB
พัฒนาการของการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานกับงานด้านการสอนวิศวกรรม
John Dewey
สร้างโรงเรียน
ทดลองในปี
คศ.1896
Roedel et al.
จัดการเรียนรู้โดยใช้
โครงงานด้านวิศวกรรม
กับภาษาอังกฤษ ให้
นักศึกษาชั้นปีที่1
มหาวิทยาลัย Arizona
State ในปี คศ.1995
Oakes et al.
จัดการเรียนรู้โดยใช้
โครงงานเป็น
Community Service
agency มหาวิทยาลัย
Purdue ในปี คศ.1999
United Kingdom
จัดการเรียนรู้โดยให้
นักศึกษาชั้นปีที่4 ทา
โครงงานด้านวิศวกรรม
ก่อนจบในกลางปี
คศ.1960s
Birmingham,1965
Imperial
College,1964
Reading,1967
Sheppard
จัดการเรียนรู้โดยใช้
โครงงานด้านวิศวกรรม
ให้นักศึกษาชั้นปีที่1 ที่
เรียกว่า Artifact
Study มหาวิทยาลัย
Stanford ในปี
คศ.1992
ปัจจุบัน
ที่มา :John Heywood. Engineering Education : Research and Development
in Curriculum and Instruction. John Wiley & Sons,Inc.,2005.
ระบบพี่เลี้ยง (Mentoring) คือ
เป็นกระบวนการอย่างหนึ่ง
เป็นการส่งผ่านความรู้ความชานาญ จากพี่เลี้ยงไปยังผู้เรียน
มีทักษะการโน้มน้าวจูงใจให้ผู้เรียนนาสิ่งที่ดีที่สุดของตัวเองออกมา
ให้คาแนะนา(Coaching) และให้คาปรึกาา (Counseling)
เพื่อให้ผู้เรียนจัดการ การเรียนรู้ด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพ
Coaching กับ Mentoring
เกี่ยวข้องกับการทางาน
เน้นที่ทักษะและผลการทางาน
เน้นที่การให้คาชี้แนะผู้เรียน
เน้นที่ความสัมพันธ์ระยะสั้น
มีการถกเถียงและให้คาแนะนาชัดเจน
เกี่ยวข้องมากกว่าการทางาน
เน้นที่ศักยภาพและความสามารถ
ผู้เรียนเป็นผู้ขอความเห็น
เน้นที่ความสัมพันธ์ระยะยาว
คาแนะนาและพูดคุยไม่แสดงออกชัดเจนเป็นเรื่องของ
พฤติกรรมและปัญหาที่เกิดขึ้น
Coaching
Mentoring
1. รศ.ดร.วิชัย วงษ์ใหญ่และดร.มารุต พัฒผล การโค้ชเพื่อการรู้คิด. 2557.
2.วุฒินันท์ ชุมภู (ผู้แปล) วิธีประเมินผลการปฎิบัติงาน (How to be good at performance appraisals). 2556.
ระบบพี่เลี้ยงกับการเรียนรู้ของผู้เรียน
ประโยชน์ที่พี่เลี้ยงได้รับ
มีโอกาสได้เรียนรู้ปัญหาใหม่ๆจากการทาโครงงานของผู้เรียน
มีโอกาสได้ทบทวนความรู้เดิม
รู้สึกพอใจและมีความสุขที่ได้ชี้แนะแล้วผู้เรียนทาได้
ลักาณะรายวิชา ระบบควบคุมแบบคลาสสิค
ลักาณะรายวิชา ระบบควบคุมแบบคลาสสิค
ลักาณะรายวิชา ระบบควบคุมแบบคลาสสิค
ลักาณะรายวิชา
ระบบควบคุม
ลักาณะการสอนวิชา ระบบควบคุม
วิศวกรรมศาสตร์
เน้นคณิตศาสตร์
คานวณพารามิเตอร์ Math Model
คานวณพารามิเตอร์เพื่อพล๊อต Root Locus
คานวณพารามิเตอร์ จาก Root Locus หรือ
Bode Plot หรือ Nyquist Plot
เพื่อออกแบบตัวควบคุม
คานวณพารามิเตอร์เพื่อพล๊อต Bode Plot
คานวณพารามิเตอร์เพื่อพล๊อต Nyquist Plot
Massachusetts Department of Education. Massachusetts Science and
Technology/Engineering Curriculum Framework. May 2001, Page73. .
ความรู้ ทักษะ กิจนิสัยอุตสาหกรรม
ผู้เรียน
Mentoring
Classical Control System
กิจนิสัยด้าน
อุตสาหกรรม
ความรู้
ทักาะ
แก้ปัญหา
ความรู้ ทักษะ กิจนิสัยอุตสาหกรรม
งานวิจัยด้าน Project-based Learning, Mentoring และ
Authentic Assessment
งานวิจัยที่สัมพันธ์กับ PBL และ Mentoring
การสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้เรียนระดับประถม 4-5
59คน (ปฏิญญา โกศลสิริพจน์) จุฬา
สังเกต สัมภาษณ์ ประเมินตนเอง
เครื่องมือวิจัย
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้เรียนระดับมัธยมปีที่ 1
35คน (เตือนใจ ไชยโย) มช
แบบฝึกคิดและวางแผน แบบทดสอบ
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้เรียนระดับมัธยมปีที่ 3
35คน (นริศรา โกเสนตอ) มช
แบบบันทึกการคิด แบบทดสอบ
แบบทดสอบวัดการคิด
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้เรียนระดับมัธยมปีที่ 1
100คน (รัตติยา รัตนอุดม) มศว
แบบทดสอบเปรียบเทียบด้วย t-test
Difference Score แบบทดสอบจิตวิทยาศาสตร์
ศึกษารูปแบบของดรุนสิกขาลัยที่ใช้
PBL+Coach+Authentic Ass.(ณัฐทิพย์
วิทยาภรณ์) มจธ
แบบสังเกต แบบสัมภาษณ์
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้เรียนระดับปวช 1
20คน สอนแบบMIAP (กัญญา ขุนทอง) มช
แบบประเมินตามสภาพจริง แบบสังเกต
กลุ่มตัวอย่างเป็น ผู้เรียนระดับปริญญาตรีปี1
(กนกอร นุ้ยเล็ก) มทรอีสาน
แบบประเมินชิ้นงาน แบบประเมินความพึงพอใจ
Mentoring
กระบวนการชี้แนะแก่ครูพี่เลี้ยง (เฉลิมชัยพันธ์เลิศ)
จุฬา
รูปแบบกระบวนการสอนงาน (เกรียงไกร คล้ายกล่า)
จุฬา
นาการชี้แนะใช้กับครูชั้นอนุบาล (อรพรรณ
บุตรกตัญญู) จุฬา
พัฒนาหลักสูตรอบรมอาจารย์พี่เลี้ยง(สุรกานต์ จังหาร)
มจพ
พัฒนากระบวนการพี่เลี้ยงออนไลน์(รุ่งทิวา เสาร์สิงห์)
มจพ
การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลพี่เลี้ยง
(อรชร ภาศาศวัต) จุฬา
นาพี่เลี้ยงร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือ (มนต์ชัย เทียนทอง
มจพ
งานวิจัยที่สัมพันธ์กับ PBL และ Mentoring
การสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน
ให้ทาโครงงานในรายวิชาระบบควบคุม
นักศึกษาวิศวกรรมเครื่องกล (Jeffrey L.
Newcomer) IEEE 1998.
แบบประเมินความพึงพอใจ
เครื่องมือวิจัย
ทาโครงงานในรายวิชา Nonlinear นศ.
ปริญญาโท (M.De la Sen) IEEE 2001.
ตรวจจากชิ้นงาน
ทาโครงงานร่วมกับอุตสาหกรรมของ นศ.
Mechatronics(Yu Wang et al.)
Science Direct 2012
ตรวจผลการทาโครงงานจากงานกลุ่มและ
งานเดี่ยว
ใช้MATLAB ออกแบบ
ไมโครคอนโทรลเลอร์ควบคุม DC Motor
(Gupta et al.) IEEE 2005
ตรวจชิ้นงานและคู่มือ แบบประเมินความ
พึงพอใจ
Mentoring
ใช้Virtual Mentoring กับครูประจาการ(Ng Siew
Fong et al.) Science Direct 2012.
ใช้Mentor-Teacher กับนักศึกษาฝึกสอนเพื่อเพิ่ม
สมรรถนะ (Popescu et al.) World Conference
on Education Science 2013.
ใช้การ Coaching เพื่อเพิ่มคะแนน PISA (Martin
et al.) Elsevier (learning and Instruction)
2007.
PBL
Authentic
Assessment
Mentoring
รูปแบบที่
พัฒนาขึ้น
รูปแบบที่พัฒนาขึ้น
วัตถุประสงค์งานวิจัย
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1.เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับระบบพี่เลี้ยงตามแนวทฤษฎีคอน
สตรัคติวิซึ่ม
2.เพื่อเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง
กับผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
4.เพื่อเปรียบเทียบความคงทนทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง
กับผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
3.เพื่อศึกษาระดับความก้าวหน้าทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง
กับผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
5.เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เรียน และความพึงพอใจของพี่เลี้ยง
ระดับความก้าวหน้าทางการเรียนดูใน Richard R. Hake. Interactive engagement versus Tradition Methods:A Six-thousand Student Servey of Mechanics Test Data for Introductory
Physics Courses. American Association of Physics Teachers. Volume 66, Issue 1, 1998.
พัฒนาการทางการเรียนดูใน William A. Scott and Michael Wertheimer Introduction to Psychological Research. 4thEd.,: p264 ,John Wiley&Sons,Inc., NY, USA, 1967.
ขั้นตอน
สสวท
2536
ลัดดา
2552
เจียมใจ
2536
Stoller
2540
พิมพันธ์และ
คณะ 2548
Yager
2534
Driver&
Bell 2529
แนะนาขั้นตอนการเรียนรู้และตกลงร่วมกัน  

เตรียมพื้นความรู้ที่เหมาะสมในการทาโครงงาน  
วางแผน/ปรับเปลี่ยนมโนทัศน์ร่วมกัน      
นาแผน/มโนทัศน์ไปใช้/ลงมือปฎิบัติ       
ทบทวน/นาเสนอผลงานหรือมโนทัศน์ใหม่     
เขียนรายงานการทาโครงงาน  
ประเมินผลโครงงาน   
ทบทวน
นาความคิดไปใช้ปรับความคิดทบทวนความรู้เดิมแนะนา
ขั้นตอนการเรียนประกอบการทาโครงงานสังเคราะห์จากรูปแบบต่างๆของงานวิจัยที่ค้นพบและนาสิ่งที่ดีมาประยุกต์ใช้
เริ่มต้น
ชี้แจงรายละเอียดการ
เรียน
เขียน Mind Map
ทาแบบฝึกหัด
ประลองตาม
ใบสั่งงาน
ทาโครงงาน
นาเสนอ
โครงงาน
ความรู้พื้นฐานที่
สอดคล้องกับระบบ
ควบคุม
นาเสนอ
Mind Map
ให้เนื้อหาผู้สอน
ตรวจปรับ
สิ้นสุด
Mentoring
การ
ประ
เมิน
ตาม
สภาพ
จริง
ขั้นตอนการดาเนินการ
Tryout และสร้างเครื่องมือ
MATLAB
การทดลองใช้เครื่องมือในงานวิจัย (Tryout)
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ชี้แจงรายละเอียดการเรียน
เขียน Mind Map
ทาแบบฝึกหัด
ประลองตาม
ใบสั่งงาน
นาเสนอ Mind Map
ให้เนื้อหา
ผู้สอนตรวจปรับ
แผนการจัดการเรียนรู้
แบบสรุปผังมโนทัศน์
ใบสั่งงาน
แบบฝึกหัดท้ายบท
ใบเนื้อหา 4 หน่วย
ประเมินตามใบสั่งงาน
ประเมินการทางานกลุ่ม
แบบสังเกต
ทาโครงงาน
นาเสนอโครงงาน
ทาแบบทดสอบ
คู่มือชุดประลอง
แบบทดสอบ ทฤษฎี/
ปฎิบัติ
ชุดฝึกอบรมพี่เลี้ยง
ประเมินการทา
โครงงาน
ประเมินการนาเสนอ
โครงงาน
ประเมินความพึงพอใจ
แบบประเมินตามสภาพจริง
กระบวนการจัดการเรียนรู้
การสร้างชุดประลอง(พลานต์) ที่แตกต่างกัน 5 ชนิด
การควบคุมความเร็วของมอเตอร์ ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ให้
การควบคุมความเร็วของมอเตอร์
การควบคุมอุณหภูมิ
ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ให้
การควบคุมอุณหภูมิ
Plant
การควบคุมตาแหน่งด้วยมอเตอร์ไฟตรง
ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ให้
การควบคุมตาแหน่งด้วยมอเตอร์ไฟตรง
Plant
การควบคุมตาแหน่งด้วยBall
Screw
ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ให้
การควบคุมตาแหน่งด้วยBall
Screw
Plant
Motor
Potentiometer
การต่อสายใช้งาน
Motor Drive
Motor Drive
การควบคุมระดับน้า
ผู้วิจัยจัดเตรียมไว้ให้
การควบคุมระดับน้า
Plant
Tank Valve ปรับการ
ไหลของน้า
Motor Pump 24 VDC
การหาคุณภาพและความเหมาะสมของคู่มือจัดการเรียนรู้และแบบทดสอบ
ผู้เชี่ยวชาญ
8 ท่าน
ความสอดคล้องของแบบทดสอบกับ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (IOC)
ความเหมาะสมของ
ผู้เรียน
16 คน
แผนการจัดการเรียนรู้
ชุดประลอง
คู่มือครู
เอกสารการฝึกอบรมพี่เลี้ยง
อานาจการจาแนก
ดัชนีความยากง่าย
ความเชื่อมั่น
ผู้เรียน
6 คน
ทฤษฎี
ปฏิบัติ
แบบทดสอบทฤษฎี 27 ข้อ
แบบทดสอบปฏิบัติ 3 ข้อ
ความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ของแบบทดสอบ
(IOC : Index of Item-objective Congruence)
= 0.906tt
r
ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์
ทฤษฎี
ปฎิบัติ
æ ö÷ç ÷ç= × - ÷ç ÷ç ÷- è ø
å
20 2
( )
: 1
1tt
pqn
KR r
n S
2
2
1
1
ik
k
s
a
s
æ ö÷ç ÷ç= × - ÷ç ÷ç- ÷çè ø
å
สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์ การสอนทักาะปฏิบัติ.พฤษภาคม 2526 หน้า95
คะแนนสอบปฏิบัติ ใช้วิธีการให้คะแนนของ
สุชาติ ศิริสุขไพบูลย์
4.1
4.12
4.14
4.16
4.18
4.2
4.22
4.24
4.26
4.28
1
ระดับความเหมาะสมจากการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ
รูปแบบการเรียนรู้ ชุดประลอง คู่มือครู เอกสารฝึกพี่เลี้ยง รวม
ขั้นทดลองเครื่องมือวิจัย
การฝึกอบรม พี่เลี้ยง
สภาพการดาเนินงาน : ฝึกอบรมพี่เลี้ยง
ทาแบบฝึกหัดท้ายบท
ทดสอบทักษะ
ทาแบบฝึกทักษะ
ผลการประเมินพี่เลี้ยง
เกณฑ์การประเมินพี่เลี้ยง
ดัดแปลงจาก
เฉลิมชัย พันธ์เลิศ, 2554
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์,2552
สรุปผลการวิจัย
เกณฑ์การประเมินพี่เลี้ยง
ดัดแปลงจาก
เฉลิมชัย พันธ์เลิศ, 2554
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์,2552
สรุปผลการวิจัย
เกณฑ์การประเมินพี่เลี้ยง
ดัดแปลงจาก
เฉลิมชัย พันธ์เลิศ, 2554
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์,2552
เกณฑ์การประเมินพี่เลี้ยง
ดัดแปลงจาก
เฉลิมชัย พันธ์เลิศ, 2554
พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์,2552
แบบแผนการทดลอง Nonrandomized Control-group Pretest-posttest Design
ระยะเวลาการทดลอง
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ นาเสนอผัง
มโนทัศน์
ให้มโนทัศน์
ใหม่โดย
ผู้สอน
ทา
แบบฝึกหัด
ปฏิบัติตาม
ใบสั่งงาน
สรุปบนผัง
มโนทัศน์
Mentoring
ทดสอบ
พี่เลี้ยง
ฝึกอบรม
พี่เลี้ยง
คัดเลือก
พี่เลี้ยง
Pretest
ทาโครงงาน
นาเสนอ
โครงงาน
Posttest Reten.
1 สัปดาห์ 4 สัปดาห์ 2 สัปดาห์
2 สัปดาห์
4 หน่วย
การเรียน
ขั้นทดลองเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
ทาโครงงาน
นาเสนอโครงงาน
ทาแบบทดสอบ
ความพึงพอใจ
ชี้แจงรายละเอียดการเรียน
เขียน Mind Map
ทาแบบฝึกหัด
ประลองตาม
ใบสั่งงาน
นาเสนอ
Mind Map
ให้เนื้อหา
ผู้สอน
ตรวจปรับ
แผนการจัดการเรียนรู้
แบบสรุปผังมโนทัศน์
ใบสั่งงาน
แบบฝึกหัดท้ายบท
ใบเนื้อหา+PPT+MATLAB
ประเมินตามใบสั่งงาน ประเมินการทางานกลุ่ม
แบบสังเกต
ชุดประลอง
แบบทดสอบ
ทฤษฎี/ปฎิบัติ
ชุดฝึกอบรมพี่เลี้ยง
ประเมินการทาโครงงาน
ประเมินการนาเสนอโครงงาน
ประเมินความพึงพอใจ
ประเมินความพึงพอใจ
ประเมินการทางานกลุ่ม
คัดเลือกพี่เลี้ยง
การชี้แนะและให้
คาปรึกษา
ผ่านไป 14 วัน
เลือกกลุ่มตัวอย่าง 30 คน
กลุ่มทดลอง 15 คน กลุ่มควบคุม 15 คน
เรียนรู้ 4 หน่วยการเรียน
ร่วมกับการจาลอง/ทดลอง
ทาโครงงาน จากพลานต์ 5 แบบ
นาเสนอโครงงาน
ทาแบบทดสอบ ทฤษฎี/ปฎิบัติ
ทาแบบทดสอบ ทฤษฎี
ทาแบบทดสอบ ทฤษฎี/ปฎิบัติ
เรียนรู้ 4 หน่วยการเรียน
ร่วมกับการจาลอง/ทดลอง
ทาโครงงาน จากพลานต์ 5 แบบ
นาเสนอโครงงาน
ทาแบบทดสอบ ทฤษฎี/ปฎิบัติ
ทาแบบทดสอบ ทฤษฎี
เลือกพี่เลี้ยง 5 คน
ฝึกอบรมพี่เลี้ยง
ทดสอบพี่เลี้ยง
แบบประเมินตามสภาพจริง
แบบสรุปผังมโนทัศน์
แผนการจัดการเรียนรู้+สื่อ
แบบประเมินตามสภาพจริง
แบบสังเกตพฤติกรรม
ระบบพี่เลี้ยง
ผ่านไป 14 วัน
ชุดประลอง(พลานต์ 5 ชนิด)
ขั้นตอนการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย
แผนภาพการทดลองกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลอง
สรุปผลการวิจัย
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านทฤษฎี (t-test Difference Score)
สรุปผลการวิจัย
(William Scott and Michael Wertheim
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้านปฏิบัติ (t-test Difference Score)
ความก้าวหน้าทางการเรียน (Normalized Gain)
สรุปผลการวิจัย
(Richard R. Hake, 1998.)
น้อย
มาก
น้อย
ปานกลาง
สรุปผลการวิจัยความพึงพอใจของผู้เรียน
สรุปผลการวิจัยความพึงพอใจของผู้เรียน
ด้าน ค่าเฉลี่ย S.D. แปลผล
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 3.91 0.96 พึงพอใจมาก
ชุดประลอง 3.82 0.86 พึงพอใจมาก
การประเมินผล 3.64 0.88 พึงพอใจมาก
พี่เลี้ยง 3.90 0.93 พึงพอใจมาก
รวม 3.83 0.92 พึงพอใจมาก
สรุปผลการวิจัยความพึงพอใจของพี่เลี้ยง
ด้าน ค่าเฉลี่ย S.D. แปลผล
รูปแบบการจัดการเรียนรู้ 4.02 0.80 พึงพอใจมาก
ชุดประลอง 4.36 0.49 พึงพอใจมาก
การประเมินผล 4.36 0.64 พึงพอใจมาก
รวม 4.19 0.71 พึงพอใจมาก
สภาพการดาเนินงาน : จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
ทดสอบก่อน
เรียน
ให้เนื้อหาและทาตาม
ใบสั่งงาน
ส่งเสริมการ
ทางานเป็นทีม
เกิดทักษะการ
สื่อสาร
สร้างพื้น
ฐานความรู้ให้
พอเพียงก่อนทา
โครงงาน
สภาพการดาเนินงาน : จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
นาเสนอผัง
มโนทัศน์ ทบทวน
ความรู้เดิมเกิดทักษะ
การนาเสนอผู้สอน
สามารถปรับ
มโนทัศน์ให้
ถูกต้องได้
กรณีเกิด
Missing Vital
Concept
สภาพการดาเนินงาน : จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การทา
โครงงานทดสอบผลตอบสนองของ Plant ออกแบบตัวควบคุมด้วย MATLAB
แปลงผลตอบสนองเป็นฟังก์ชันถ่ายโอน ต่อวงจรเพื่อควบคุมพลานต์
ประกอบอุปกรณ์ลงแผ่น PCBพร้อม
ทดสอบ
จัดทาเอกสาร Operation Manual
สภาพการดาเนินงาน : จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน พี่เลี้ยงสอน
งานให้คาชี้แนะวิธีการออกแบบและการ
จาลองด้วยMATLAB
ให้คาชี้แนะการทาโครงงานเมื่อ
ประสบปัญหา
สร้างแรงบันดาลใจแก่ผู้เรียนในการ
ทาโครงงาน
สภาพการดาเนินงาน : จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การเสนอผลการทา
โครงงานเตรียมการด้าน Hardware นาเสนอผลงาน
สภาพการดาเนินงาน : จัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน การสอบ Posttest
การทดสอบด้านทฤษฎี ข้อสอบ 27 ข้อ การทดสอบด้านปฏิบัติ ข้อสอบ 3 ข้อ
ลักาณะการเรียนรู้ของผู้เรียน
ข้อเสนอแนะของผู้เรียน
ข้อเสนอแนะของพี่เลี้ยง
สรุปผลการวิจัย
พัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้โดยใช้
โครงงานเป็นฐานร่วมกับระบบพี่เลี้ยง
ตามแนวทฤษฎีการสร้างสรรค์ความรู้
ความก้าวหน้าทางการเรียนด้านปฏิบัติ
อยู่ในระดับสูง
ผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อรูปแบบการ
จัดการเรียนรู้ในระดับมาก
สรุปผลการวิจัย
พัฒนาการทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง กับผู้เรียนที่เรียน
โดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
พัฒนาการทางการเรียนด้านทฤษฎี ไม่แตกต่างกัน แต่พัฒนาการทางการเรียนด้านปฏิบัติแตกต่างกัน โดย
พัฒนาการทางการเรียนด้านปฏิบัติของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม
สรุปผลการวิจัย
ระดับความก้าวหน้าทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง กับผู้เรียนที่
เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
ระดับความก้าวหน้าด้านทฤษฎีอยู่ในระดับน้อยเหมือนกัน แต่ระดับความก้าวหน้าด้านปฏิบัติ กลุ่มควบคุมมี
ระดับความก้าวหน้าทางการเรียนน้อยกว่ากลุ่มทดลอง
สรุปผลการวิจัย
ความคงทนทางการเรียนระหว่างผู้เรียนที่เรียนโดยใช้โครงงานเป็นฐานร่วมกับพี่เลี้ยง กับผู้เรียนที่เรียนโดย
ใช้โครงงานเป็นฐานเพียงอย่างเดียว
ทั้งกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม มีความคงทนทางการเรียนไม่แตกต่างกัน
สรุปผลการวิจัย ระดับความพึงพอใจของผู้เรียน และความพึงพอใจของพี่เลี้ยง
ผู้เรียนมีความพึงพอใจทั้ง 4 ด้าน ในระดับมาก พี่เลี้ยงมีความพึงพอใจทั้ง 3 ด้าน ในระดับมาก
สรุปผลการวิจัย
ปัญหา
ความรู้ในการ
ประยุกต์ตัวเลข
ทักษะการคานวณ
ขั้นพื้นฐาน
ความรู้
ทักาะ
ไม่กระตือรือร้นใน
การทางาน
กิจนิสัยด้านอุตสาหกรรม
การแก้ปัญหา
ในงาน
ก า ร ท า ง า น
เป็นทีมความรับผิดชอบ
ในงานไม่มีความอดทน
จัดการเรียนรู้เพื่อแก้ปัญหา
PBLM with Authentic
Assessment
Authentic
Assessment
Mentoring
PBL
ผลที่ได้
ทักษะเพิ่มขึ้น
ความรู้เพิ่มขึ้น
มีทักษะการทางานร่วมกัน
มีทักษะการสื่อสารให้ผู้อื่นเข้าใจ
มีทักษะการสรุปมโนทัศน์
มีทักษะการทางานเป็นทีม
พัฒนาการ
ทางการเรียน
ทาโครงงานสาเร็จ 4 ใน 5 กลุ่ม
(กลุ่มทดลอง)ร่วมกับการ
นาเสนอมโนทัศน์+โครงงาน
ขอบคุณ
ครับ

Contenu connexe

Tendances

การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานAnucha Somabut
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบSakda Hwankaew
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21Anucha Somabut
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21nanza
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itAnucha Somabut
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teachingAnucha Somabut
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปpatthanan18
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 

Tendances (18)

การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานการออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
การออกแบบการเรียนรู้ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบเทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
เทคนิคการฝึกให้ตนเองมีความคิดเชิงสร้างสรรค์และคิดอย่างเป็นระบบ
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
การเรียนรู้
การเรียนรู้การเรียนรู้
การเรียนรู้
 
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
สมรรถนะครูเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในศตวรรษที่ 21
 
Social media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use itSocial media in the classroom: Why and how to use it
Social media in the classroom: Why and how to use it
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูปแนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
แนวคิดและทฤษฎีผู้นำเชิงปฏิรูป
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Road Map นคร Model
Road Map นคร ModelRoad Map นคร Model
Road Map นคร Model
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 

En vedette

พี่เลี้ยง
พี่เลี้ยงพี่เลี้ยง
พี่เลี้ยงChanathip Tangz
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์chaiwat vichianchai
 
การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...
การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...
การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...chaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์yuyjanpen
 
New km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยNew km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยjanecastle
 

En vedette (17)

พี่เลี้ยง
พี่เลี้ยงพี่เลี้ยง
พี่เลี้ยง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ปก
ปกปก
ปก
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
ผลความคิดเห็นของนักเรียนที่มีต่อสื่อการเรียนรู้ออนไลน์
 
การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...
การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...
การเปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนที่ได้จากการทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน...
 
ภาคผนวก ข
ภาคผนวก  ขภาคผนวก  ข
ภาคผนวก ข
 
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
บรรณานุกรม
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ความรู้เกี่ยวกับหนังสืออิเล็กทรอนิกส์
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก  กภาคผนวก  ก
ภาคผนวก ก
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
New km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทยNew km เครือซิเมนต์ไทย
New km เครือซิเมนต์ไทย
 

Similaire à Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ศน. โมเมจ้า
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่Jiramet Ponyiam
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...Wichit Chawaha
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..krupotjanee
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดIct Krutao
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2Prachyanun Nilsook
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 

Similaire à Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering (20)

ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
รายงานการสังเคราะห์รูปแบบการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
จุดสิ้นสุดของการเริ่มต้นบนถนนครุวิจัย ของครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่ภารกิจในระดับครูมือใหม่
ภารกิจในระดับครูมือใหม่
 
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
การพัฒนากระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยใช้คอมพิวเตอร์สนับสนุนการเรียนรู้อย่างร...
 
1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..1.แนวคิดก..
1.แนวคิดก..
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิดการวัดและประเมินผลทักษะการคิด
การวัดและประเมินผลทักษะการคิด
 
เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2เทคนิคการสอนยุค It2
เทคนิคการสอนยุค It2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Project-based Learning with Mentoring in Control system Engineering

Notes de l'éditeur

  1. คำว่า พุทธิปัญญา ในความหมายทางจิตวิทยาแทนการรู้คิดหรือการคิดทุกชนิด ตั้งแต่ความเอาใจใส่ การรับรู้ การจำได้ การคิดอย่างมีเหตุผล จินตนาการ การคาดการณ์ล่วงหน้า การตัดสินใจ การแก้ปัญหา การแลกเลี่ยนความเห็น
  2. ค.ศ. 1896
  3. คะแนนของสุชาติ 10-7-3-1-0