SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
Download to read offline
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 1
บรรณาธิการแถลง
	 ปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ.2558) ทุกคนจะเป็นส่วนหนึ่งในประชาคมอาเซียน
ซึ่งจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการและการลงทุน แรงงานฝีมือและเงินทุนอย่างเสรี
ทำให้เกิดการถ่ายเทแรงงานด้านฝีมือเพื่อให้สามารถทำงานในประเทศสมาชิก

ง่ายขึ้น 7 สาขาอาชีพในฝันของใครต่อใครในอาเซียนคือ วิศวกรรม การสำรวจ
สถาปัตยกรรม แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลและบัญชี แต่มีอาชีพหนึ่งที่น่าสนใจคือ
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่คาดว่าจะมีการจ้างงานกว่า 1,946,000 ตำแหน่งและ
จะเพิ่มเป็น 4,767,000 ตำแหน่ง ในอีก 10 ปีข้างหน้าถือว่าเป็นสัญญาณที่ดีสำหรับ
ผู้ที่สนใจงานบริการที่มีความท้าทาย ไม่อยู่นิ่งได้ลับคมความคิดและไหวพริบในการ
แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ได้ใช้ทักษะภาษาและความเข้าใจในวัฒนธรรมนานาชาติ 

นับเป็นวิชาชีพที่ท้าทายคนยุคใหม่ทีเดียว ขอขอบพระคุณท่านผู้อ่าน ผู้หลักผู้ใหญ่

ที่ชื่นชมการจัดทำและให้คำแนะนำในการจัดทำวารสาร สำหรับฉบับนี้เป็น

การประมวลภาพการทำงานของโรงเรียนในปี 2555 รวมถึงต้นปีการศึกษา 2556 

มีบทความที่น่าสนใจจากอาจารย์มหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน ข่าวจากกลุ่ม
โรงเรียนอำเภอศรีรัตนะ และข้อมูลข่าวจากองค์กรต่าง ๆ ในการส่งเสริมสนับสนุน
การศึกษาพอสังเขป สำหรับในปีการศึกษา 2556 ท่าน ผอ.ธัชชัย นาจำปา 

ให้แนวทางปฏิบัติหน้าที่ คือขอให้มีความเสียสละ สม่ำเสมอในหน้าที่ เน้นวิชาการ
เป็นหัวใจ เตรียมความพร้อมด้านภาษาอังกฤษ ฝึกให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม
อย่าเป็นคนมีความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด และร่วมสร้างบรรยากาศแหล่งเรียนรู้ให้
เอื้อต่อการเรียนรู้เป็นสวนสวย โรงเรียนงาม สุดท้ายนี้ก็ขออวยพร ให้ท่านผู้อ่าน
วารสารบ้านตระกวนของเรามีความสุข เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ 

ทุกประการเทอญ ส่วนนักเรียนก็ขอให้ประสบ
ความสุข เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็นศิษย์ที่ดีของ
ครูบาอาจารย์ เป็นคนดีของสังคมและประเทศ
ชาติสืบไป

นายมณเทียร โมรา
นายเบญจพล พิมาร
สารบัญ
ontensCบรรณาธิการแถลง 	 1
คำนิยม พระครูศรีรัตนาภิรักษ์	 2
พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ	 3
กาลเวลาที่ผันผ่าน	 4
คู่มือดับทุกข์	 6
บทคัดย่องานวิจัย ผอ.ธัชชัย	 7
การพัฒนาทักษะผู้เรียนสู่ศตวรรษ์ที่ 21	 8
โรงเรียนกับการพัฒนาจิตสาธารณะ	 11
ความประทับใจต่อโรงเรียน	 13
ทำเนียบข้าราชการและบุคลากร	 15
ทำเนียบคณะกรรมการสถานศึกษา	 16
ประวัติครูย้ายและครูใหม่	 17
ผลงานกลุ่มสาระต่างๆ	 25
ทำเนียบรุ่น ป.6/2555	 36
เด็กดี เด็กเก่ง โรงเรียนบ้านตระกวน	 37
ผลงานความสำเร็จปีการศึกษา 55	 41
ผลการประเมิน สมศ.รอบ 3	 42
เด็กไทยกับอาเซียน	 44
โฟกัสบุคคลคุณภาพ	 46
ประมวลภาพกิจกรรมปี 55-56	 47
เจ่งจริงๆ ถึงนินทา	 54
เกียรติบัตรผลงานโรงเรียน	 55
ที่ปรึกษา
	 ดร.ไพบูลย์  ศรีสุธรรม	 ผอ.สพป.ศก.4
	 นายพิจิตร  ทานะ	 รอง ผอ.สพป.ศก.4
	 ดร.ประพิณ  จิรตวรรณ	 ศึกษานิเทศก์ สพป.ศก.4
	 ดร.นรินทร์  บุญเย็น	 ศึกษานิเทศก์ สพป.ศก.4
	 นายทวีคูณ  จวงการ	 ประธานกลุ่มโรงเรียนศรีรัตนะ
	 นายวุฒิชัย  สัตพันธ์	 ผู้ใหญ่บ้านตระกวน
	 นางประยูรศรี  อบอุ่น	 ประธานกรรมการสถานศึกษา
	 นายทองใจ  ทิพย์รักษา	 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกระถุน
บรรณาธิการบริหาร
	 นายธัชชัย  นาจำปา
บรรณาธิการ
	 นายมณเทียร  โมรา
	 นายเบญจพล  พิมาร
หัวหน้ากองบรรณาธิการ
	 นางจิราพร  สีดา
กองบรรณาธิการ
	 นางณัฐธิชา  นาบำรุง
	 นางสาวเมธาวี  ขจรเกียรติเมธี
	 นางจีรนุช  บรรเทา
	 นางสาวจุฑาภรณ์  โนนน้อย
	 นางสาวจีรวัลย์  จันทร์น้อย
	 นางสาวมนฤดี  สาระพงษ์
	 นางสาวพรทิพย์  พินิจนอก
ฝ่ายคอมพิวเตอร์และกราฟฟิค
	 นายบุญเต็ม  พวงเพชร
ฝ่ายข้อมูลภาพและตกแต่ง
	 นายณรงค์ศักดิ์  มีศรี
ฝ่ายประสานงานและงบประมาณ
	 นางธาวินี  ประทุมวงค์
ฝ่ายพิสูจน์อักษรและจัดส่ง
	 นายกาญจน์  เสาเวียง
	 นางสาวนันทพร  สุกุ
	 นางสาวสมจิตร  บรรพชาติ
วัตถุประสงค์
1. 	เพื่อประชาสัมพันธ์ผลงาน และกิจกรรมโรงเรียน		
	 บ้านตระกวน
2. 	เพื่อสร้างความสันพันธ์ระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน 
	 และองค์กรอื่นๆ
3. 	เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน การเขียน วิเคราะห์
	 ให้กับนักเรียน
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน2
	 ในโอกาสที่โรงเรียนบ้านตระกวน ตำบลพิงพวย ได้ปรารภดำเนินการ
จัดพิมพ์วารสารโรงเรียน เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและผลงานทางวิชาการของครู
และนักเรียนรวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ โดยขอให้พระสงฆ์ซึ่งเป็นตัวแทนทาง
พระพุทธศาสนา เขียนคำนิยมลงในวารสารเล่มดังกล่าว ก่อนอื่นต้องขอกล่าว
คำ “อนุโมทนา” กับทางโรงเรียนและมีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง
	 มีหลักฐานที่กล่าวว่า “คำพูดสอนคนได้เพียงหนึ่งชาติ แต่หนังสือสอนคนได้ร้อยชาติพันชาติ”
การสอนด้วยการพูดเพียงอย่างเดียว แต่ไม่มีหลักฐานปรากฏบันทึกเป็นหนังสือรวมเล่ม ก็ถือว่ายังไม่ประสบ
ความสำเร็จเท่าไรนัก อุทาหรณ์ดังคำสอนในทางพระพุทธศาสนา ถ้าพระมหากัสปะเถระ ไม่ปรารภการทำ
สังคายนาพระธรรมวินัย ที่พระสุภัททะวุฒบรรพชิตได้กล่าวจาบจ้วงพระธรรมวินัย โดยกล่าวถึงพระพุทธเจ้าที่
ปรินิพาน (ตาย) ว่าดีแล้ว สมควรแล้ว ตอนมีชีวิตอยู่ ก็คอยบอกห้ามปราม ไม่ให้ทำสิ่งนั้น สิ่งนี้ เรื่องนั้น เรื่องนี้
ต่อไปนี้ ไม่ต้องมีใครมาว่า ใครกล่าว ใครตักเตือน อยากทำอะไรก็ทำได้ตามที่ใจตนเองต้องการทำ พระมหากัส
ปะเถระเห็นภัยดังกล่าว จึงปราภการทำสังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งที่ ๑ โดยรวบรวมหลักธรรมคำสอนเป็น
หมวดเป็นหมู่ที่เรียกกันว่า “พระไตรปิฏก” ซึ่งถ้าไม่รวบรวมคำสอนทางพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าเอาไว้
เป็นหมวดหมู่ หลักธรรมคำสอนในทางพระพุทธศาสนาก็คงจะสาบสูญหรือบิดเบือนไปอย่างแน่นอน
	 การจัดพิมพ์วารสารโรงเรียน เป็นการแสดงประกาศ ประชาสัมพันธ์ คุณงามความดี ให้ผู้คนได้รู้โดย
ทั่วไป เพราะโดยปกติแล้ว การทำความดีโดยส่วนมากแล้วมักจะไม่ได้ประชาสัมพันธ์ เป็นความดีที่ปรากฏอยู่ใน
ตัวว่าเป็นคนดีแล้ว แต่ในยุคปัจจุบันมีสิ่งอะไรดีก็ต้องประกาศประชาสัมพันธ์ แต่การประชาสัมพันธ์โดยการเป็น
หนังสือนั้น จะต้องใช้ความวิริยะ
อุตสาหะ เสียสละ เพียร เพียร
พยายาม เพื่อความสมบูรณ์ที่สุด
ของวารสารเล่มนั้น ๆ
	 จึงขออนุโมทนากับทาง
โรงเรียนบ้านตระกวน ซึ่งมีท่านผู้
อำนวยการธัชชัย นาจำปา เป็น
ผู้นำคณะครู ดำเนินการจัดพิมพ์
วารสารโรงเรียนเล่มดังกล่าว
ถือว่าถูกต้องสมควรเหมาะสมแล้วในการกระทำในเรื่องดังกล่าว ขออ้างเอาอำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย

สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย จงดลบันดาลให้ท่านผู้อำนวยการ คณะครู นักเรียน และผู้ปกครอง ตลอดจนพุทธศาสนิก

ชนทั้งหลาย จงมีความสุข ความเจริญ ก้าวหน้า สำเร็จสมหวังในสิ่งที่ปรารถนาทุกประการ เทอญ
ขอเจริญพร

				 พระครูศรีรัตนาภิรักษ์

เจ้าอาวาสรางวัลเสมาธรรมจักรวัดเกียรติแก้วสามัคคี/เจ้าคณะอำเภอศรีรัตนะ
วันศุกร์ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖
¤Ó¹ÔÂÁ
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน2
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 3
พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ เดิม ชื่อ นายมโนกิจ อบอุ่น อยู่บ้าน
เลขที่ 162 หมู่ที่ 1 บ้านพิงพวย อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ เกิดวันเสาร์ที่ 3
เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2506 ปีเถาะ ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 9 สัญชาติไทย ศาสนา พุทธ
บิดา นายสอน อบอุ่น มารดา นาง พลอย คำเหลือ 
บรรพชาอุปสมบท วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 เมื่ออายุ 22 ปี

ที่ วัดโพธิ์พรองค์ ตำบลพิงพวย อำเภอ ศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ พระครูอรรถ
กิจสุนทร อดีตเจ้าอาวาสวัดจันทาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูโอภาสโพธิกิจ
เจ้าอาวาสวัดโพธิ์พระองค์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการ นวล วัดเกียรติ
แก้วสามัคคี เป็นพระอนุสาวนาจารย์
พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ จำพรรษาอยู่วัดโพธิ์พรองค์ 2 พรรษา
สอบนักธรรม ชั้น โท ได้ ปีพ.ศ. 2530 ได้ย้ายไปจำพรรษาที่วัดไทรงามธรรม

ธราราม จังหวัดสุพรรณบุรี สอบได้นักธรรมเอก จำพรรษาอยู่ 14 ปี และย้ายมา
จำพรรษา วัดโพธิ์พรองค์ และย้าย มาอยู่สำนักสงฆ์บ้านตระกวน เมื่อ 22
มกราคม 2545 และต่อมาได้ขอตั้งเป็นวัดบ้านตระกวน

ประวัติการทำงาน 
- ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ในวัดโดยได้รับความร่วมมือ
สนับสนุนจากชาวบ้านตระกวนและผู้มีจิตศรัทธา จากที่ต่างๆ 
- การอบรมธรรมเผยแพร่ในวันสำคัญต่างๆ 
- พิธีกร ในการอบรมปฏิบัติธรรมวัดไทรงามธรรมธราราม
- วิทยากร ในการอบรมปฏิบัติธรรม
- ครูผู้ช่วยสอน นักธรรม ชั้น โท 
- เปิดโครงการอบรมการปฏิบัติธรรม ณ วัดบ้านตระกวน ระหว่างวันที่ 1 – 10 เมษายน ทุกปี
- โครงการอบรมปฏิบัติธรรมชุมชนไทยสายชุมชน ตามโครงการรัฐบาล สภาวัตนธรรม ตำบลพิงพวย ในเทศกาลเข้า
พรรษา
- โครงการสนับสนุนให้ผู้ที่อ่านหนังสือไม่ออก มาเรียนตามกิจกรรมของ กศน. ตำบลพิงพวย
- โครงการอบรมนักเรียน นักศึกษา เยาวชนมาเข้าวัดฟังธรรม ปฏิบัติธรรม และส่งเสริมการสอบธรรมศึกษา
พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ
เจ้าอาวาสวัดบ้านตระกวน หมู่ที่ 3 ตำบลพิงพวย อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 3
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน4
	 ปีนี้โรงเรียนบ้านตระกวนมีอายุครบ ๔๕ ปี ผลิตนักเรียนได้เป็นพันๆ คน จากรุ่นพี่ 

สู่รุ่นน้อง รุ่นลูก รุ่นหลาน รุ่นเหลน ต่างก็มีความสัมพันธ์กันโดยไม่มีวันสิ้นสุด ว่าเราคือนักเรียนที่
เคยเรียนอยู่โรงเรียนบ้านตระกวน มีคณะครูที่คอยสั่งสอนให้ความรู้จากที่ไม่เคยอ่านหนังสือออก จนเป็นคนที่อ่านออกเขียนได้
น้ำใจของครูถือว่ามีความบริสุทธิ์ นักเรียนบางคนเรียนเก่งบ้าง ไม่เก่งบ้าง เป็นเรื่องที่เป็นปกติ ที่ครูคอยให้ความรู้ ครูเปรียบ
เสมือนหมอที่รู้อาการของศิษย์ว่าควรให้ยาขนานใด ความทรงจำที่มีกับครูและโรงเรียนแต่ละคนมีมากมาย จำได้แม้กระทั่งครูตี
เรากี่ที ให้การบ้านอะไรบ้าง วันนี้ในฐานะศิษย์เก่าขอเล่าเรื่องให้ฟังเพื่อเป็นแรงกระตุ้นต่อมความคิดของพวกเรา ในแต่ละรุ่น
แต่ละปี แต่ละบุคคล อาจจะมีเรื่องเล่าเรื่องที่น่าทรงจำที่แตกต่างกันตามวาระตามบุคคล 
	 ยังจำได้ไหมก่อนเข้าแถวเข้าห้องเรียนครูให้เก็บขยะ ใบไม้คนละถังเพื่อแลกบัตรเข้าแถว
	 ยังจำได้ไหมก่อนเข้าแถวเข้าห้องเรียนครูให้ถอนหญ้าเจ้าชู้คนละกำเพื่อแลกบัตรเข้าแถว
	 ยังจำได้ไหมนักเรียนทุกคนต้องห่อข้าวไปกินที่โรงเรียน
	 ยังจำได้ไหมนักเรียนต้องเอาน้ำไปกินที่โรงเรียน เพราะโรงเรียนไม่มีน้ำกิน
	 ยังจำได้ไหมนักเรียนขาดเรียนเพื่อไปทำบุญตักบาตรเทโว ครูลงโทษหน้าเสาธง
	 ยังจำได้ไหม.....? (เติมได้เท่าที่ต้องการ)
	 เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นปีแรกที่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนบ้านตระกวนโดยเรียนอยู่ชั้นอนุบาล มีครูประจำที่สอนคือ
คุณครูเสาวคนธ์ ท่านสอนหลาย ๆ อย่างทั้งการร้องเพลง การรักษาความสะอาด สอนให้รู้จักอ่าน ก ไก่ ข ไข่ ตอนเช้าเรียน
และเล่น ตอนบ่ายนอน ตื่นนอนมามีขนมกิน เป็นชีวิตที่มีความสุขเหลือเกิน
	 ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ มีครูประจำที่สอนคือ คุณครูบุญเสริม คุณครูท่านนี้ สอนดุมากพยายาม
สอนให้เด็กรู้จักขีดเขียน รู้จักอ่าน ตั้งแต่ ก ไก่ ข ไข่ เขียนคัดลายมือส่ง สอนให้อ่าน มานี มานะ แต่ถ้าใครไม่อ่านตามละก็ 

ท่านจะมีไม้เด็ด คือ เอามือมาหยิกหัว พร้อมกับคำว่าทำไมโง่จัง ไม่รู้จักอ่าน เพราะความกลัวจึงทำให้นักเรียนมีความพยายาม
หัดอ่านหัดเขียนจนในที่สุดก็ได้ขึ้นชั้น ป.๒ 
	 ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ มีครูประจำชั้นที่สอน ๒ คน คือ ครูคนที่หนึ่งชื่อ ครูสมภาร สอนได้

ไม่กี่เดือน ท่านก็ได้รับคัดเลือกเป็นทหาร จึงทำให้ขาดครูสอน แต่ครูสมภารในตอนนั้นในความรู้สึกของนักเรียน ท่านเป็นคนที่
ดุมากวันหนึ่งนักเรียนหยอกกันในห้องเรียนท่านมาเห็นลงโทษอย่างแรงเลย โดยเอาไม้เรียวฟาดคนละทีเข็ดจนมาถึงบัดนี้ 

ครูคนที่สอง ชื่อครูเสาวคนธ์ เป็นครูที่เคยสอนอยู่ชั้นอนุบาล มาสอนแทนสอนสนุก เป็นครูคนแรกที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ได้
สนุกและอยากเรียนสอนบวกเลข ลบเลข หัดอ่าน หัดเขียน และสอนหลาย ๆ อย่าง 
	 ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ 

มีครูประจำชั้นชื่อ ครูประจวบ ท่านสอนชั้น ป.๓ มานาน 

มีประสบการณ์มาก แต่นิสัยเสียของท่านมีอย่างหนึ่งคือชอบ

ดื่มเหล้าแล้วมาสอนบางวันเมามาให้นักเรียนถอนผมหงอกให้
ใครถอนได้ ๑๐-๒๐ เส้นก็ให้ออกไปเล่นได้ อันนี้ไม่ได้คิดเจตนา
ว่าครูแต่พูดความจริงให้ฟังแต่ก็เป็นเพราะครูถึงทำให้นักเรียน

ได้เลื่อนชั้นไป ป.๔
	 ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ 

มีครูประจำชั้นชื่อ คุณครูเจตพล เป็นครูย้ายมาจากบ้านผือ 

ท่านสอนเก่ง ท่านบอกว่าตอนอยู่ ป.๓ เรียนไม่ค่อยได้เรียน 

อยู่ ป.๔ ครูจะไม่ยอมปล่อยจะสอนพวกเธอเต็มที่ นักเรียนให้
กาลเวลาที่ผันผ่าน วันวานที่ยังจดจำ 
จากเด็กน้อยตาดำๆ ตอนนี้เจ้าอยู่แห่งหนใด?
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน4
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 5
ความเคารพ เชื่อฟัง นักเรียนแต่ละคนชอบอาจารย์มากใครอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ท่านไม่ยอมปล่อยจริง ๆ ท่านให้ตกเรียน

ซ้ำชั้น ปีนี้มีนักเรียนสอบตกอยู่ ๓-๔ คน และขอฝากขอบคุณคุณครูที่พยายยามเคี่ยวเข็นลูกศิษย์ทุกคนและขอขอบคุณที่คุณครู
พานักเรียนชั้น ป.๔ ไปเลี้ยงของหวานที่บ้าน ของหวานที่บ้านครูอร่อยมากยังจำได้ถึงทุกวันนี้
	 ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ มีครูประจำชั้นชื่อ คุณครูวุฒิพงศ์ ท่านมีความตั้งใจสอนมาก ทำให้รู้หลัก
วิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะวิชาเกษตร พากันปลูกผักหลังโรงเรียน ทำอาหาร เพราะที่โรงเรียนมีโครงการอาหารกลางวัน มีการผลัด
เปลี่ยนนักเรียนให้ทำอาหารประจำวันทุกวัน 
	 ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีครูประจำชั้นชื่อ คุณครูสมพงษ์ ครูท่านนี้ดุมากท่านเอาจริงกับการ
เรียนการสอน ครูฝากการบ้านให้ไปทำ ใครไม่ทำส่งมีหวังโดนตี ท่านตีจริง ๆ เพราะ ป.๖ เป็นชั้นที่เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อในการ
ออกไปต่อสู้กับโลกภายนอก เพราะในสมัยนั้นมีนักเรียนน้อยมากที่มีโอกาสเรียนต่อในชั้นมัธยม บางคนเรียนจบป.๖แล้วไม่ได้
เรียนต่อ บางคนได้เรียนต่อ แต่คนที่เรียนต่อมีจำนวนน้อยมาก
ในรุ่นนั้นมีอยู่จำนวน ๔-๕ คนเท่านั้นที่ได้เรียนต่อในชั้นมัธยม
นักเรียนที่จบแล้ว ไม่เลี้ยงควาย ทำไร่ ทำนา ก็ไปใช้แรงงานอยู่
ต่างถิ่น นี่คือสัจจธรรมของชีวิต
	 ชีวิตหลังจบชั้น ป.๖ ต่างคนต่างไปจริง ๆ เพื่อนบางคน
จบแล้วก็ไม่เคยเจอกันอีกเลยแต่ก็ยังคงจำได้ยังคงคิดถึงตลอด
และยังอยู่ในความทรงจำโดยไม่เคยลืม รายชื่อเพื่อนที่เรียน

ด้วยกันมีดังนี้ นักเรียนชาย สายัณห์ สัมฤทธิ์ ญาติ สุทิน สมศักดิ์
โอภาส วิวัฒน์ สุวรรณ ประสิทธิ์ นพรัตน์ บัญชา ศรัณย์
นักเรียนหญิง บัญญัติ สมพาน นิตยา ลำภรณ์ กัลยา วลีรัตน์
แต๋ว (ขออภัยสำหรับรายชื่อที่เขียนผิด)
	 สุดท้ายขอฝากถึงศิษย์เก่าศิษย์ใหม่ทุกคน ส่วนใครจะมี
ความรู้สึกถึงโรงเรียนอย่างไร ก็จงคิดไว้ว่าโรงเรียนคือสถานที่ให้ความรู้กับเราทุกคน ครูที่สอนอยู่ในโรงเรียนมีการย้ายออก 

ย้ายเข้า ตามเหตุตามปัจจัยของแต่ละบุคคล แต่โรงเรียนก็ยังคงตั้งอยู่เหมือนเดิม ปีนี้เป็นปีที่ ๔๕ ของโรงเรียน ที่โรงเรียนเป็น
สถานที่สอนลูกศิษย์ทุกคนให้เป็นคนดีของสังคม ของประเทศชาติ และขอให้โรงเรียนบ้านตระกวนตั้งอยู่ตลอดกาลแต่อย่างไรก็
ขอฝากแนวคิดให้กับลูกศิษย์และครูทุกท่านไว้ดังต่อไปนี้เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจ
	 คุณธรรมของนักเรียน ๑๐ ประการคือ
๑.แสวงหาความรู้		 ๒. เคารพครูอาจารย์	 ๓.รักการศึกษา 	 	 ๔.มีจรรยาเรียบร้อย 
๕.มักน้อยตามฐานะ 	 ๖.เสียสละเพื่อสถานบัน 	 ๗.มุ่งมั่นประพฤติดี 	 ๘.หลีกหนีสิ่งชั่ว 
๙.ไม่มั่วยาเสพติด 		 ๑๐.รู้จักคิดใช้ปัญญา
	 คุณธรรมของครูอาจารย์ ๑๐ ประการคือ
๑.เป็นผู้มีจรรยา 	 	 ๒.มีเมตตาต่อศิษย์ 	 ๓.ไม่สอนผิดหลักวิชา 	 ๔.มุ่งค้นคว้าอยู่เสมอ 
๕.ไม่พลั้งเผลอประพฤติผิด 	๖.รักศิษย์ไม่ลำเอียง 	 ๗.ไม่คิดเกี่ยงการงาน 	 ๘.คิดบริการสังคม 
๙.นิยมความเป็นบัณฑิต     ๑๐.พูดทำคิดแต่ทางดี



พระมหาดอนไชย สิริวฑฺฒโน (ประทุมวงศ์)
              ในฐานะศิษย์เก่า
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 5
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน6
ผศ.สุระ อุณวงศ์

	 ๑. จงประพฤติศีล ๕ ให้สมบูรณ์ ด้วยการไม่ฆ่าสัตว์ทุกชนิด, ไม่ขโมยสิ่งของ

ของใคร, ไม่ประพฤติผิดในกาม, ไม่โกหกหลอกลวงใคร และไม่ดื่มหรือเสพสิ่งเสพติดมึนเมา
	 ๒. แบ่งเวลาในแต่ละวันให้พอเหมาะพอดีแก่สภาพชีวิตของตัวเอง มีเวลาทำงาน
เพียงพอ มีเวลาพักผ่อนเพลิดเพลินในครอบครัวตามสมควรสำหรับผู้ที่เป็นฆราวาส และ

มีเวลาฝึกเป็นสมาธิทำให้จิตให้สงบ
	 ๓. ในการฝึกสมาธินั้น ให้นั่งอยู่อย่างสงบสำรวม อย่าเคลื่อนไหวอวัยวะมือเท้า จะนั่งกับพื้น เอาขาทับขาข้างใด

ข้างหนึ่งก็ได้ หรือจะนั่งพับเพียบก็ได้ หรือจะนั่งบนเก้าอี้ตามสบายก็ได้ ไม่มีปัญหา
	 ๔. วิธีการฝึกสมาธินั้น ขอให้เข้าใจว่าท่านจะทำจิตให้สงบ ปราศจากความคิดนึกปรุงแต่งในเรื่องภายนอก ทุกอย่างชั่ว
ระยะเวลาที่ทำสมาธินั้น ท่านจะไม่ปรารถนาที่จะพบเห็น รูป สี แสง เสียง สวรรค์ นรก หรือเทวดา อินทร์พรหมที่ไหน

เพราะสมาธิที่แท้จริงย่อมจะไม่มีสิ่งเหล่านั้นอยู่ในจิต สมาธิที่แท้จริงจะมีแต่จิตที่สะอาดบริสุทธิ์ และสงบเย็นเท่านั้น
	 ๕. พอเริ่มทำสมาธิ โดยปกติแล้วให้หลับตาพอสบาย สำรวมจิตเข้านับที่ลมหายใจ ทั้งหายใจเข้าและหายใจออก

โดยอาจจะนับอย่างนี้ว่า หายใจเข้านับ ๑ หายใจออกนับ ๒ เรื่อยไป ทีแรกนับช้าๆ เพื่อให้สติต่อเนื่องอยู่กับการนับนั้น แต่ต่อไป
พอจิตสงบเข้าที่แล้วมันก็จะหยุดนับของมันเอง
	 ๖. หรือบางทีอาจจะกำหนด พุท โธ ก็ได้หายใจเข้ากำหนด พุท หายใจออกกำหนด โธ อย่างนี้ก็ได้ ไม่ขัดแย้งกันเลย
เพราะการนับอย่างนี้ มันเป็นเพียงอุบายที่ทำให้จิตหยุดคิดนึกปรุงแต่งเท่านั้น
	 ๗. แต่ในการฝึกแรกๆ นั้น ท่านจะยังนับหรือกำหนดไม่ได้อย่างสม่ำเสมอ หรืออย่างตลอดรอดฝั่ง เพราะมันมักจะมี
ความคิดต่างๆ แทรกเข้ามาในจิต ถ้าเป็นอย่างนั้นก็ช่างมัน ให้เข้าใจว่าฝึกแรกๆ มันก็เป็นอย่างนี้เอง แต่ให้ท่านตั้งนาฬิกาเอาไว้
ตามเวลาที่พอใจว่าจะทำสมาธินานเท่าไร เริ่มแรกอาจจะทำสัก ๑๕ นาที อย่างนี้ก็ได้และให้เฝ้านับหรือกำหนดอยู่จนครบเวลาที่
ตั้งไว้จิตมันจะมีความคิดมากหรือน้อยก็ช่างมัน ให้พยายามกำหนดนับตามวิธีการที่กล่าวมาแล้วจนครบเวลาไม่นานนัก จิตมันก็
จะหยุดคิดและสงบได้เองของมัน
	 ๘. การฝึกสมาธินี้ให้พยายามทำทุกวันๆ ละ ๒ – ๓ ครั้ง แรกๆ ให้ทำครั้งละ ๑๕ นาที แล้วจึงค่อยเพิ่มมากขึ้นๆ จนถึง
ครั้งละ ๑ ชั่วโมง หรือกว่านั้น ตามที่ปรารถนา
	 ๙. ครั้นกำหนดจิตด้วยการนับอย่างนั้นจนมีประสบการณ์พอสมควรแล้ว ท่านก็จะรู้สึกว่า จิตนั้นสะอาด สงบเย็น
ผ่องใส ไม่หงุดหงิด ไม่หลับใหล ไม่วิตกกังวลกับสิ่งใด นั้นแหละคือ สัญลักษณ์ที่แสดงว่า สมาธิกำลังเกิดขึ้นในจิต
	 ๑๐. เมื่อจิตสงบเย็น ไม่หงุดหงิดเช่นนั้นแล้วอย่าหยุดนิ่งเฉยเสีย ให้ท่านเริ่มน้อมจิตเพื่อจะพิจารณาเรื่องราวต่างๆ

ต่อไป ถ้ามีปัญหาชีวิต หรือปัญหาใดๆ ที่กำลังทำให้ท่านเป็นทุกข์กลัดกลุ้มอยู่ก็จงน้อมจิตเข้าไปคิดนึกพิจารณาปัญหา

ด้วยความสุขุมรอบคอบ ด้วยความมีสติ
	 ๑๑. จงยกเอาปัญหานั้นขึ้นมาพิจารณาว่าปัญหานี้มันมาจากไหน? มันเกิดขึ้นเพราะอะไร? เพราะอะไรท่านจึงหนักใจ
กับมัน? ทำอย่างไรที่ท่านจะสามารถแก้ไขมันได้? ทำอย่างไรท่านจึงจะเบาใจและไม่เป็นทุกข์กับมัน?
	 ๑๒. การพิจารณาอยู่ด้วยจิตอันสงบอย่างนี้การถามหาเหตุผลกับตัวเองอย่างนี้ จิตของท่าน
มันจะค่อยๆ รู้เห็น และเกิดความคิดนึกรู้สึกอันฉลาดขึ้นมาโดยธรรมชาติของมัน จิตจะสามารถ
เข้าใจต้นสายปลายเหตุของปัญหาต่างๆ ได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง นักปฏิบัติจึงต้องพยายาม
พิจารณาปัญหาต่างๆ อย่างนี้เรื่อยไปหลังจากที่จิตสงบแล้ว
	 ๑๓. จงเข้าใจเป้าหมายที่ถูกต้องของการฝึกสมาธินั้น คือ ท่านจะฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ
จากอารมณ์ภายนอกชั่วระยะเวลาหนึ่ง เมื่อจิตสงบเป็นสมาธิแล้ว จิตนั้นจะมีกำลัง และมั่นคง สภาพ
จิตเช่นนั้นเองที่มันจะมีความพร้อมในการที่จะรู้ จะเข้าใจปัญหาต่างๆ หรือสิ่งต่างๆ ที่แวดล้อมตัว
ท่านเอง ได้อย่างถูกต้องตามความจริง
	 ๑๔. สรุปว่า ท่านจะฝึกสมาธิเพื่อจะเรียกกำลังจิตจากสมาธินั้นไปพัฒนาความคิดนึก หรือ
ความรู้สึกของท่านให้ถูกต้อง ซึ่งความรู้สึกคิดนึกที่ถูกต้องนั้น แท้จริงแล้วก็คือ “ปัญญา” นั่นเอง
ชมรมผู้สูงอายุวัดหนองปลาปาก
¤Ù‹Á×ʹѺ·Ø¡¢
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน6
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 7
ชื่อผลงาน		 การศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน
		 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4
ผู้ศึกษา		 นายธัชชัย นาจำปา
		 ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านตระกวน
บทคัดย่อ
	 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน สำนักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน คณะกรรมการสถาน
ศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนบ้านตระกวน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4
ปีการศึกษา 2554 จำนวน 151 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลการบริหาร
งานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท
(Likert) จำนวน 64 ข้อ ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย
(Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation)
	 ผลการวิจัยพบว่า :
	 ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ศรีสะเกษ เขต 4 ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีค่าเฉลี่ย
ของระดับประสิทธิผลอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านการแก้ปัญหาการบริหารงานวิชาการ
ด้านการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวก ด้านการปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารงานวิชาการ และด้านการพัฒนา

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ตามลำดับ โดยมีผลสรุปแต่ละด้าน ดังนี้ 
	 1. ด้านการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผล อยู่ในระดับมาก และ
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่
6 ที่เข้าศึกษาต่อ เป็นที่น่าพอใจ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ ครูนำผลการทดสอบของนักเรียนมาเป็น
ข้อมูลในการวางแผน จัดกิจกรรม จัดทำโครงการ หรือจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียน
และโรงเรียนมีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายอย่างสม่ำเสมอ ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับ
มากทั้งสองรายการ ส่วนรายการที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำ เป็นอันดับสุดท้าย คือครูมีการพัฒนานวัตกรรมหรือสื่อ

การเรียนรู้ ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลาง
	 2. ด้านการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวก พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก และเมื่อ
พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อโรงเรียนและ

การศึกษาเล่าเรียน โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ นักเรียนให้ความสนใจและร่วมมือในการทำกิจกรรม
ต่าง ๆ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด และนักเรียนมีความประพฤติต่อเพื่อน ต่อครู ต่อผู้ปกครองและต่อผู้อื่นอย่าง
เหมาะสม ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก ส่วนรายการที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำเป็นอันดับสุดท้าย คือ
นักเรียนได้รับการยกย่องชมเชยจากสังคมหรือหน่วยงานอื่นในการเป็นแบบอย่าง ที่ดี โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลาง	 	
	 3. ด้านการปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารงานวิชาการ พบว่า ในภาพรวม มีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก
และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ โรงเรียนได้รับความร่วมมือใน
การจัดการศึกษาจากชุมชนเป็นอย่างดี โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ โรงเรียนส่งครู เข้ารับการอบรม

ทางวิชาการ เพื่อนำมาปรับปรุง พัฒนางานวิชาการและกระบวนการจัดการเรียนการสอน และผู้บริหารเป็นผู้นำการ
เปลี่ยนแปลง มีความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาโรงเรียนร่วมกับครูและชุมชน ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก

ทั้งสองรายการ ส่วนรายการที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำเป็นอันดับสุดท้าย คือ ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุง
พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลาง
	 4. ด้านการแก้ปัญหาการบริหารงานวิชาการ พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผล อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณา
เป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ ผู้บริหารและครูร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาจากผล
การดำเนินงานที่ผ่านมาโดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ผู้บริหารและครูรับรู้ปัญหาการบริหารงานวิชา
การและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นร่วมกัน และครูสามารถแก้ปัญหานักเรียนได้ทั้งปัญหาด้านพฤติกรรมและ
ปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุดทั้งสองรายการ ส่วนรายการที่มีค่า
เฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำเป็นอันดับสุดท้าย คือ ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา นักเรียน ร่วมกันรับรู้ปัญหาของ
โรงเรียนและมีส่วนร่วมในการวางแผนแก้ปัญหาและพัฒนา โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน8
วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้
	 วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาครูสู่การเป็นวิชาชีพชั้นสูงหรือครูมืออาชีพ
	 วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคลากรของ สพป.ศก.4 ให้มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์
วิชาชีพ ตามมาตรา 22 และมาตรา 24 แห่ง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่ถือว่า

ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด

ความเป็นมาของการพัฒนากระบวนการเรียนรู้
	 สพป.ศก.4 โดยนายมานิต สิทธิศร ศึกษานิเทศก์ได้แสวงหานวัตกรรมใหม่ๆ ในการพัฒนาบุคลากร
เพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ หลักสูตรสถานศึกษา ทันสมัย เหมาะสม เป็นไปได้ ทำได้จริง
ทำให้ครูศรัทธาในวิชาชีพ และทำงานอย่างมีความสุข ซึ่งก็พบว่า โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์

เป็นแบบอย่างที่ดีของการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณลักษณะดังกล่าว โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ถือว่าผู้เรียนมี
ความสำคัญที่สุด (เน้นการบูรณาการด้วยโครงงาน และการใช้ปัญหาเป็นฐาน) จึงได้เลือกแนวคิดของโรงเรียน
ลำปลายมาศพัฒนา มาใช้ในการพัฒนาบุคลากรของสพป.ศก.4 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2551 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน
รวมเวลาประมาณ 4 ปีเศษ โดยส่งบุคลากรเข้ารับการพัฒนาที่โรงเรียนลำปลายมาศ-พัฒนา มากกว่า 600 คน
ประมาณ 100 โรงเรียน ผลการพัฒนาที่ชัดเจน คือ ครูศรัทธาในอาชีพ มีการใช้จิต-ศึกษาในการพัฒนาผู้เรียน
รักเอาใจใส่ผู้เรียนมากขึ้น
	  ร.ร.บ้านนาขนวน ได้พัฒนาบุคลากรอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ครูทุกคนนำนวัตกรรมใหม่มาทดลองใช้
อย่างได้ผล ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มีทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีทักษะในการคิดอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหามากขึ้น มีเจตคติที่ดีต่อ
การเรียนรู้ มีสมาธิ ความประพฤติ ความคิดสร้างสรรค์ดีขึ้น เรียนรู้อย่างมีความสุข จึงได้รับการประกาศให้เป็น
“โรงเรียนต้นแบบการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา สพป.ศรีสะเกษ เขต 4” 
	 ขณะนี้โรงเรียนบ้านนาขนวนได้ขยายเครือข่ายไปหลายโรงเรียน เช่น บ้านปะทาย บ้านสดำ บ้านเดียง
(พลีศึกษา) บ้านจำนันสายเจริญ บ้านทุ่งยาวคำโปรย บ้านขะยูง และบ้านทุ่งโพธิ์ ซึ่งทั้งหมด เป็นโรงเรียน
นำร่องพัฒนาทักษะสำหรับผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เน้นการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักหรือเป็นฐาน
(Problem Based Learning : PBL) ด้วยการสนับสนุนอย่างดียิ่งจากโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา และ

คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
	 เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2556 สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้เชิญ
โรงเรียนบ้านนาขนวนและโรงเรียนบ้านปะทาย เข้าร่วมประชุมเสวนาวิชาการ “เวทีเสวนาเครือข่ายผู้นำ

การเรียนรู้ ครั้งที่ 1 : ผู้นำการเรียนรู้สู่สังคมนักอ่าน” ที่สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ เป็นกรณีศึกษาที่ 1
ทำให้เป็นที่รู้จักในวงการศึกษามากขึ้น แต่ต้องพัฒนาต่อไป
	 ปัจจุบันโรงเรียนบ้านนาขนวน และโรงเรียนบ้านปะทาย ดำเนินการได้ดี สามารถศึกษาดูงานได้แล้ว
การจัดการเรียนรู้แบบ PBL
	 เครื่องมือที่สำคัญที่สุดของการเรียนรู้และการสอนในศตวรรษที่ 21 คือ คำถามกับปัญหา ซึ่งรูปแบบ

การเรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ที่ครูควรนำมาใช้ คือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้
ปัญหาเป็นหลักหรือเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) 
สพป.ศรีสะเกษ เขต 4
กับการพัฒนาทักษะสำหรับผู้เรียน
สู่ศตวรรษที่ 21
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 9
	 หลักการ ปัญหาสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดภาวะงุนงงสงสัยและความต้องการที่จะแสวงหาความรู้
เพื่อขจัดความสงสัยดังกล่าว การให้ผู้เรียนได้เผชิญปัญหาจริงหรือสถานการณ์ปัญหาต่างๆ และร่วมกันคิดหา
ทางแก้ปัญหานั้นๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการ
ต่างๆ อันเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และการเรียนรู้ตลอดชีวิต
	 นิยาม การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก เป็นการจัดสภาพการณ์ของการเรียนการสอนที่ใช้
ปัญหาเป็นเครื่องมือในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย โดยผู้สอนอาจนำผู้เรียนไปเผชิญ
สถานการณ์ปัญหาจริง หรือผู้สอนอาจจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา และฝึกกระบวนการวิเคราะห์
ปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในปัญหานั้นอย่างชัดเจน ได้เห็นทาง
เลือกและวิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหานั้น รวมทั้งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความใฝ่รู้ เกิดทักษะกระบวนการคิด
และกระบวนการแก้ปัญหาต่างๆ
	 ตัวบ่งชี้
	 1. ผู้สอนและผู้เรียนมีการร่วมกันเลือกปัญหาที่ตรงกับความสนใจหรือความต้องการของผู้เรียน
	 2. ผู้สอนและผู้เรียนมีการออกไปเผชิญสถานการณ์ปัญหาจริงหรือผู้สอนมีการจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียน
เผชิญปัญหา
	 3. ผู้สอนและผู้เรียนมีการร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา และหาสาเหตุของปัญหา
	 4. ผู้เรียนมีการวางแผนแก้ปัญหาร่วมกัน
	 5. ผู้สอนมีการให้คำปรึกษาแนะนำ และช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียนในการแสวงหาแหล่งข้อมูล
การศึกษาข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล
	 6. ผู้เรียนมีการศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง
	 7. ผู้สอนมีการกระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาทาง
เลือกในการแก้ปัญหาที่หลากหลายและพิจารณาเลือก
วิธีที่เหมาะสม
	 8. ผู้เรียนมีการลงมือแก้ปัญหา รวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และประเมินผล
	 9. ผู้สอนมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้
เรียน และให้คำปรึกษา
	 10. ผู้สอนมีการประเมินผลการเรียนรู้ ทั้งทาง
ด้านผลงาน และกระบวนการ

คำสำคัญที่น่าสนใจ
	 IBL (Inquiry Based Learning) : การเรียนรู้แบบการใช้การตั้งคำถามเป็นหลัก เป็นการเรียนโดยให้ผู้
เรียนตั้งคำถาม ทำความชัดเจนของคำถาม แล้วดำเนินการหาคำตอบเอาเอง ไม่มีคำถามและคำตอบตายตัว

ผู้เรียนได้ฝึกฝนความริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ
	 PBL (Project Based Learning) : การจัดการเรียนรู้แบบโครงการเป็นหลักหรือเป็นฐาน เป็นการใช้
หลายๆ ปัญหาประกอบกันอย่างซับซ้อนเพื่อทำงานใดงานหนึ่งให้สำเร็จ (ใช้ชิ้นงานเป็นตัวตั้ง)
	 PBL (Problem Based Learning) : การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักหรือเป็นฐาน (ใช้ปัญหา
เป็นตัวตั้ง)
	 PLC (Professional Learning Community) : ชุมชนนักปฏิบัติ หรือชุมชนวิชาชีพเรียนรู้ร่วมกัน

ซึ่งก็คือการรวมตัวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์นั่นเอง เป็นเครื่องมือของการเปลี่ยนชีวิตครู
จากผู้สอน (teacher) เป็นนักเรียน (learner)
	 AAR : (After Action Review) : การทบทวนหลังปฏิบัติงาน การถอดบทเรียน หรือการทบทวน
ไตร่ตรอง (reflection) ทั้งด้านความสำเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ใช่เพื่อค้นหาคนที่ผิดพลาด ไม่ใช่การกล่าวโทษ
ใคร แต่เป็นการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ให้เกิดปัญหานี้ขึ้นอีก
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน10
ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซึ่งวิธีการที่ดีอยู่แล้ว
	 บทบาทของครู ควรเปลี่ยนจากครูสอน (teacher) ฝึกฝนตนเองให้เป็นโค้ช (coach) หรือผู้อำนวยการ
เรียนรู้ (learning facilitator) เลิกการเป็นผู้สอน โดยสอนน้อย เรียนมาก ส่งเสริมแรงบันดาลใจและให้กำลังใจใน
การเรียนรู้ ให้เรียนรู้จากการลงมือทำใน PBL ชวนนักเรียนทบทวนไตร่ตรอง หรือ AAR หลังบทเรียนว่า

ได้เรียนรู้อะไรบ้าง ยังไม่ได้เรียนรู้อะไรบ้าง และอยากเรียนรู้อะไรบ้าง
	 หนังสือที่ควรอ่านเพิ่มเติม (1) ศาสตร์การสอน โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี 512 หน้า (2) วิถีสร้างการ
เรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21 โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช 416 หน้า

หนทาง และปัจจัยสู่ความสำเร็จ
	 1. บุคคลสำคัญที่ทำให้งานประสบความสำเร็จ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน โดยชุมชนเข้าใจ
ให้การสนับสนุน มีศึกษานิเทศก์ ร่วมคิด และผู้อำนวยการเรียนรู้
	 2. ครูทุกคนและผู้บริหาร ต้องได้รับการพัฒนา เรียนรู้การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ที่มาจากความสนใจ
ของเด็ก ปรับตารางเรียน ลองนำหน่วยการเรียนรู้ที่ทำแล้วไปทดลองใช้ ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น มีการทำ PLC
สม่ำเสมอ
	 3. ศึกษานิเทศก์ ต้องสร้างความมั่นใจให้ครูและผู้บริหารในการนำนวัตกรรมใหม่ไปทดลองใช้ มีการ
นิเทศ ปรับปรุง พัฒนาที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง ช่วยประสานการเรียนรู้ แสวงหาความร่วมมือ ประชาสัมพันธ์
และร่วมชื่นชมผลงาน
วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 11
	 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนด
มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 ว่า คุณลักษณะของคนไทย

ที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยคนไทยต้องเป็นคนเก่ง 

คนดี และมีความสุข ตัวบ่งชี้ คือ กำลังกาย กำลังใจที่สมบูรณ์ ความรู้และ
ทักษะที่จำเป็นและเพียงพอในการดำรงชีวิต และการพัฒนาสังคม ทักษะ
การเรียนรู้และการปรับตัว ทักษะทางสังคม คุณธรรมจิตสาธารณะและ
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดยมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูก
ต้องด้านต่าง ๆให้กับผู้เรียน รวมถึงการรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและ
ของประเทศชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความสำคัญกับการมีจิต
สาธารณะที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การรู้จักดูแลของส่วนรวม รวมถึง
รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ โดยให้หลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด “จิตสาธารณะ” เป็น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 1 ใน 8 ข้อ ที่สถานศึกษาต้องเน้น
	 จิตสาธารณะ (Public Mind) หมายถึง จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม
“จิตสาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะเป็นความรู้สึก
ถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องดูแล และ
บำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลง
แม่น้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่น หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนน
ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่
ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ ตลอดจนร่วมมือกระทำเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดกับ
กฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม 
	 การกระทำด้วยจิตสาธารณะ เป็นการกระทำด้วยจิตวิญญาณ ที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอื้ออาทรต่อคนอื่นและ
สังคมโดยส่วนรวม การมีคุณธรรมจริยธรรม และการไม่กระทำที่เสื่อมเสียหรือเป็นปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติ การมีจิตที่คิด
สร้างสรรค์ เป็นกุศล และมุ่งทำความดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คิดในทางที่ดี ไม่ทำลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม
ประเทศชาติและสิ่งแวดล้อม การกระทำและคำพูดที่ดีมาจากความคิดที่ดี
	 จิตสาธารณะจะเกิดขึ้นได้ต้องสร้างจิตสำนึก สร้างโอกาสให้มีขึ้นในโรงเรียนด้วยโครงการต่าง ๆ ผ่านกระบวน

การเรียนการสอน การทำกิจกรรม เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสังคมไทยที่เป็นสังคมแห่งความเมตตา
โรงเรียนกับการพัฒนา
	 จิตสาธารณะ
ดร.ประพิณ จินตวรรณ
	 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนด
มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 ว่า คุณลักษณะของคนไทย

ที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยคนไทยต้องเป็นคนเก่ง 

คนดี และมีความสุข ตัวบ่งชี้ คือ กำลังกาย กำลังใจที่สมบูรณ์ ความรู้และ
ทักษะที่จำเป็นและเพียงพอในการดำรงชีวิต และการพัฒนาสังคม ทักษะ
การเรียนรู้และการปรับตัว ทักษะทางสังคม คุณธรรมจิตสาธารณะและ
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดยมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูก
ต้องด้านต่าง ๆให้กับผู้เรียน รวมถึงการรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและ
ของประเทศชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความสำคัญกับการมีจิต
สาธารณะที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การรู้จักดูแลของส่วนรวม รวมถึง
รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ โดยให้หลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด “จิตสาธารณะ” เป็น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 1 ใน 8 ข้อ ที่สถานศึกษาต้องเน้น
	 จิตสาธารณะ (Public Mind) หมายถึง จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม
“จิตสาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะเป็นความรู้สึก
ถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องดูแล และ
บำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลง
แม่น้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่น หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนน
ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่
ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ ตลอดจนร่วมมือกระทำเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดกับ
กฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม 
	 การกระทำด้วยจิตสาธารณะ เป็นการกระทำด้วยจิตวิญญาณ ที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอื้ออาทรต่อคนอื่นและ
สังคมโดยส่วนรวม การมีคุณธรรมจริยธรรม และการไม่กระทำที่เสื่อมเสียหรือเป็นปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติ การมีจิตที่คิด
สร้างสรรค์ เป็นกุศล และมุ่งทำความดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คิดในทางที่ดี ไม่ทำลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม
ประเทศชาติและสิ่งแวดล้อม การกระทำและคำพูดที่ดีมาจากความคิดที่ดี
	 จิตสาธารณะจะเกิดขึ้นได้ต้องสร้างจิตสำนึก สร้างโอกาสให้มีขึ้นในโรงเรียนด้วยโครงการต่าง ๆ ผ่านกระบวน

การเรียนการสอน การทำกิจกรรม เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสังคมไทยที่เป็นสังคมแห่งความเมตตา
โรงเรียนกับการพัฒนา
	 จิตสาธารณะ
ดร.ประพิณ จินตวรรณ
	 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนด
มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 ว่า คุณลักษณะของคนไทย

ที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยคนไทยต้องเป็นคนเก่ง 

คนดี และมีความสุข ตัวบ่งชี้ คือ กำลังกาย กำลังใจที่สมบูรณ์ ความรู้และ
ทักษะที่จำเป็นและเพียงพอในการดำรงชีวิต และการพัฒนาสังคม ทักษะ
การเรียนรู้และการปรับตัว ทักษะทางสังคม คุณธรรมจิตสาธารณะและ
จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดยมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูก
ต้องด้านต่าง ๆให้กับผู้เรียน รวมถึงการรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและ
ของประเทศชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความสำคัญกับการมีจิต
สาธารณะที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การรู้จักดูแลของส่วนรวม รวมถึง
รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ โดยให้หลักสูตรแกน
กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด “จิตสาธารณะ” เป็น
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 1 ใน 8 ข้อ ที่สถานศึกษาต้องเน้น
	 จิตสาธารณะ (Public Mind) หมายถึง จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม
“จิตสาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะเป็นความรู้สึก
ถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องดูแล และ
บำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลง
แม่น้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่น หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนน
ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่
ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ ตลอดจนร่วมมือกระทำเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดกับ
กฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม 
	 การกระทำด้วยจิตสาธารณะ เป็นการกระทำด้วยจิตวิญญาณ ที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอื้ออาทรต่อคนอื่นและ
สังคมโดยส่วนรวม การมีคุณธรรมจริยธรรม และการไม่กระทำที่เสื่อมเสียหรือเป็นปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติ การมีจิตที่คิด
สร้างสรรค์ เป็นกุศล และมุ่งทำความดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คิดในทางที่ดี ไม่ทำลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม
ประเทศชาติและสิ่งแวดล้อม การกระทำและคำพูดที่ดีมาจากความคิดที่ดี
	 จิตสาธารณะจะเกิดขึ้นได้ต้องสร้างจิตสำนึก สร้างโอกาสให้มีขึ้นในโรงเรียนด้วยโครงการต่าง ๆ ผ่านกระบวน

การเรียนการสอน การทำกิจกรรม เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสังคมไทยที่เป็นสังคมแห่งความเมตตา
โรงเรียนกับการพัฒนา
	 จิตสาธารณะ
ดร.ประพิณ จินตวรรณ
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน
ร.ร.บ้านตระกวน

More Related Content

What's hot

เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีFURD_RSU
 
Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6tongsuchart
 
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนารายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนาVeerasakSaengAnan
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมFURD_RSU
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2FURD_RSU
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานครmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013KKU Library
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์yahapop
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่S-ruthai
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50Makin Puttaisong
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดลmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60yahapop
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมจตุรพล ชานันโท
 
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59Yui Yuyee
 

What's hot (20)

005
005005
005
 
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรีเมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
เมืองยะลา กับแนวคิดการจัดการเมืองของนายกเทศมนตรี
 
Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6Newsletter pidthong vol.6
Newsletter pidthong vol.6
 
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนารายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
รายงานผลการดำเนินงาน กศน.เทศบาลตำบลบ้านนา
 
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคมเมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
เมืองจันทบุรี : ต้นแบบสร้างเศรษฐกิจชุมชนด้วยกิจการเพื่อสังคม
 
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
การพัฒนาเมืองยะลา : สิงคโปร์แห่งที่ 2
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2วรสารเดือนเม..ย. 59  สพป เขต 2
วรสารเดือนเม..ย. 59 สพป เขต 2
 
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
สรุปผลเครือข่าย 3 July 2013
 
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
โรงเรียนนครรังสิต รัตนโกสินทร์
 
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
สามทศวรรษห้องสมุดเคลื่อนที่
 
007
007007
007
 
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4)  Page 1 50
หนังสือ KM หนองพอก ปี 2555 (งาน KM ปีที่ 4) Page 1 50
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
2553 โครงการห้องสมุดพี่ให้น้องครั้งที่ 1 กลุ่มจิตอาสา ม.มหิดล
 
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
งานนำเสนอศูนย์อปพร. ปี 60
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
021
021021
021
 
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59วารสาร ก.ย. ต.ค.59
วารสาร ก.ย. ต.ค.59
 

Viewers also liked

"Німіє слово і мовчать уста"
"Німіє слово і мовчать уста""Німіє слово і мовчать уста"
"Німіє слово і мовчать уста"2408868
 
Acc 557 homework 1 5 complete solution
Acc 557 homework 1 5 complete solutionAcc 557 homework 1 5 complete solution
Acc 557 homework 1 5 complete solutionRenea Barrera
 
Increasing the rigor and efficiency of research through the use of qualitati...
Increasing the rigor and efficiency of research through the use of  qualitati...Increasing the rigor and efficiency of research through the use of  qualitati...
Increasing the rigor and efficiency of research through the use of qualitati...Merlien Institute
 
Brochure AgustaWestland AW159
Brochure AgustaWestland AW159Brochure AgustaWestland AW159
Brochure AgustaWestland AW159Leonardo
 
Shazam treball tecno
Shazam treball tecnoShazam treball tecno
Shazam treball tecnomperaqueen
 
Introduce CPQ & CPS - AdLatte
Introduce CPQ & CPS - AdLatteIntroduce CPQ & CPS - AdLatte
Introduce CPQ & CPS - AdLatteGmarkcorp
 
{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_Whitepaper
{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_Whitepaper{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_Whitepaper
{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_WhitepaperUlrich Neumann, FRSA
 
Shannon elari
Shannon elariShannon elari
Shannon elariselari
 
wireless sensor networks phd thesis
wireless sensor networks phd thesiswireless sensor networks phd thesis
wireless sensor networks phd thesisE2MATRIX
 
「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。
「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。
「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。Yuta Suenaga
 
Communication Skills
Communication SkillsCommunication Skills
Communication Skillsguest988aee
 
Gtc budget
Gtc budgetGtc budget
Gtc budgetGTClub
 
Pregón de navidad. texto
Pregón de navidad. textoPregón de navidad. texto
Pregón de navidad. textoLuksCorso
 
Verdien av det eksterne blikket
Verdien av det eksterne blikketVerdien av det eksterne blikket
Verdien av det eksterne blikketLasse Arntsen
 

Viewers also liked (20)

"Німіє слово і мовчать уста"
"Німіє слово і мовчать уста""Німіє слово і мовчать уста"
"Німіє слово і мовчать уста"
 
Acc 557 homework 1 5 complete solution
Acc 557 homework 1 5 complete solutionAcc 557 homework 1 5 complete solution
Acc 557 homework 1 5 complete solution
 
Increasing the rigor and efficiency of research through the use of qualitati...
Increasing the rigor and efficiency of research through the use of  qualitati...Increasing the rigor and efficiency of research through the use of  qualitati...
Increasing the rigor and efficiency of research through the use of qualitati...
 
problem of water
problem of waterproblem of water
problem of water
 
Planetas
PlanetasPlanetas
Planetas
 
Brochure AgustaWestland AW159
Brochure AgustaWestland AW159Brochure AgustaWestland AW159
Brochure AgustaWestland AW159
 
Shazam treball tecno
Shazam treball tecnoShazam treball tecno
Shazam treball tecno
 
Introduce CPQ & CPS - AdLatte
Introduce CPQ & CPS - AdLatteIntroduce CPQ & CPS - AdLatte
Introduce CPQ & CPS - AdLatte
 
{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_Whitepaper
{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_Whitepaper{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_Whitepaper
{79718629-3ee8-46c6-97ac-40acfe150694}_4549_Aligning_Cost_with_Value_Whitepaper
 
Nba
NbaNba
Nba
 
Elementos quimicos
Elementos quimicosElementos quimicos
Elementos quimicos
 
Projekt EOD
Projekt EODProjekt EOD
Projekt EOD
 
Shannon elari
Shannon elariShannon elari
Shannon elari
 
wireless sensor networks phd thesis
wireless sensor networks phd thesiswireless sensor networks phd thesis
wireless sensor networks phd thesis
 
холодные звонки 2-3
холодные звонки 2-3холодные звонки 2-3
холодные звонки 2-3
 
「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。
「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。
「Callingood(コーリングッド)」のご案内資料です。
 
Communication Skills
Communication SkillsCommunication Skills
Communication Skills
 
Gtc budget
Gtc budgetGtc budget
Gtc budget
 
Pregón de navidad. texto
Pregón de navidad. textoPregón de navidad. texto
Pregón de navidad. texto
 
Verdien av det eksterne blikket
Verdien av det eksterne blikketVerdien av det eksterne blikket
Verdien av det eksterne blikket
 

Similar to ร.ร.บ้านตระกวน

วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2warut phungsombut
 
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555pentanino
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติduenka
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติduenka
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์สพป.นว.1
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243KKU Library
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10kruchaily
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖Manoonpong Srivirat
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559dnavaroj
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8nattawad147
 

Similar to ร.ร.บ้านตระกวน (20)

วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2วารสารเล่ม 2
วารสารเล่ม 2
 
996 File
996 File996 File
996 File
 
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
โครงการแห่เทียนพรรษาประจำปี 2555
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
Me
MeMe
Me
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์วารสารออนไลน์
วารสารออนไลน์
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
ปัก1 มิ.ย.53ฉ 243
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10รายงานผลจุดเน้นที่ 10
รายงานผลจุดเน้นที่ 10
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
V 289
V 289V 289
V 289
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
รายงานโครงการกฐิน ๒๕๕๖
 
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
รายงานโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา ญสส. ปี 2559
 
บทท 7
บทท   7บทท   7
บทท 7
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 

ร.ร.บ้านตระกวน

  • 1. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 1 บรรณาธิการแถลง ปี ค.ศ. 2015 (พ.ศ.2558) ทุกคนจะเป็นส่วนหนึ่งในประชาคมอาเซียน ซึ่งจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการและการลงทุน แรงงานฝีมือและเงินทุนอย่างเสรี ทำให้เกิดการถ่ายเทแรงงานด้านฝีมือเพื่อให้สามารถทำงานในประเทศสมาชิก ง่ายขึ้น 7 สาขาอาชีพในฝันของใครต่อใครในอาเซียนคือ วิศวกรรม การสำรวจ สถาปัตยกรรม แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาลและบัญชี แต่มีอาชีพหนึ่งที่น่าสนใจคือ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่คาดว่าจะมีการจ้างงานกว่า 1,946,000 ตำแหน่งและ จะเพิ่มเป็น 4,767,000 ตำแหน่ง ในอีก 10 ปีข้างหน้าถือว่าเป็นสัญญาณที่ดีสำหรับ ผู้ที่สนใจงานบริการที่มีความท้าทาย ไม่อยู่นิ่งได้ลับคมความคิดและไหวพริบในการ แก้ปัญหาเฉพาะหน้า ได้ใช้ทักษะภาษาและความเข้าใจในวัฒนธรรมนานาชาติ นับเป็นวิชาชีพที่ท้าทายคนยุคใหม่ทีเดียว ขอขอบพระคุณท่านผู้อ่าน ผู้หลักผู้ใหญ่ ที่ชื่นชมการจัดทำและให้คำแนะนำในการจัดทำวารสาร สำหรับฉบับนี้เป็น การประมวลภาพการทำงานของโรงเรียนในปี 2555 รวมถึงต้นปีการศึกษา 2556 มีบทความที่น่าสนใจจากอาจารย์มหาวิทยาลัย ศึกษานิเทศก์ ครูผู้สอน ข่าวจากกลุ่ม โรงเรียนอำเภอศรีรัตนะ และข้อมูลข่าวจากองค์กรต่าง ๆ ในการส่งเสริมสนับสนุน การศึกษาพอสังเขป สำหรับในปีการศึกษา 2556 ท่าน ผอ.ธัชชัย นาจำปา ให้แนวทางปฏิบัติหน้าที่ คือขอให้มีความเสียสละ สม่ำเสมอในหน้าที่ เน้นวิชาการ เป็นหัวใจ เตรียมความพร้อมด้านภาษาอังกฤษ ฝึกให้นักเรียนมีคุณธรรม จริยธรรม อย่าเป็นคนมีความรู้ท่วมหัว เอาตัวไม่รอด และร่วมสร้างบรรยากาศแหล่งเรียนรู้ให้ เอื้อต่อการเรียนรู้เป็นสวนสวย โรงเรียนงาม สุดท้ายนี้ก็ขออวยพร ให้ท่านผู้อ่าน วารสารบ้านตระกวนของเรามีความสุข เจริญด้วยอายุ วรรณะ สุขะ พละ ทุกประการเทอญ ส่วนนักเรียนก็ขอให้ประสบ ความสุข เป็นลูกที่ดีของพ่อแม่ เป็นศิษย์ที่ดีของ ครูบาอาจารย์ เป็นคนดีของสังคมและประเทศ ชาติสืบไป นายมณเทียร โมรา นายเบญจพล พิมาร สารบัญ ontensCบรรณาธิการแถลง 1 คำนิยม พระครูศรีรัตนาภิรักษ์ 2 พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ 3 กาลเวลาที่ผันผ่าน 4 คู่มือดับทุกข์ 6 บทคัดย่องานวิจัย ผอ.ธัชชัย 7 การพัฒนาทักษะผู้เรียนสู่ศตวรรษ์ที่ 21 8 โรงเรียนกับการพัฒนาจิตสาธารณะ 11 ความประทับใจต่อโรงเรียน 13 ทำเนียบข้าราชการและบุคลากร 15 ทำเนียบคณะกรรมการสถานศึกษา 16 ประวัติครูย้ายและครูใหม่ 17 ผลงานกลุ่มสาระต่างๆ 25 ทำเนียบรุ่น ป.6/2555 36 เด็กดี เด็กเก่ง โรงเรียนบ้านตระกวน 37 ผลงานความสำเร็จปีการศึกษา 55 41 ผลการประเมิน สมศ.รอบ 3 42 เด็กไทยกับอาเซียน 44 โฟกัสบุคคลคุณภาพ 46 ประมวลภาพกิจกรรมปี 55-56 47 เจ่งจริงๆ ถึงนินทา 54 เกียรติบัตรผลงานโรงเรียน 55 ที่ปรึกษา ดร.ไพบูลย์ ศรีสุธรรม ผอ.สพป.ศก.4 นายพิจิตร ทานะ รอง ผอ.สพป.ศก.4 ดร.ประพิณ จิรตวรรณ ศึกษานิเทศก์ สพป.ศก.4 ดร.นรินทร์ บุญเย็น ศึกษานิเทศก์ สพป.ศก.4 นายทวีคูณ จวงการ ประธานกลุ่มโรงเรียนศรีรัตนะ นายวุฒิชัย สัตพันธ์ ผู้ใหญ่บ้านตระกวน นางประยูรศรี อบอุ่น ประธานกรรมการสถานศึกษา นายทองใจ ทิพย์รักษา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านกระถุน บรรณาธิการบริหาร นายธัชชัย นาจำปา บรรณาธิการ นายมณเทียร โมรา นายเบญจพล พิมาร หัวหน้ากองบรรณาธิการ นางจิราพร สีดา กองบรรณาธิการ นางณัฐธิชา นาบำรุง นางสาวเมธาวี ขจรเกียรติเมธี นางจีรนุช บรรเทา นางสาวจุฑาภรณ์ โนนน้อย นางสาวจีรวัลย์ จันทร์น้อย นางสาวมนฤดี สาระพงษ์ นางสาวพรทิพย์ พินิจนอก ฝ่ายคอมพิวเตอร์และกราฟฟิค นายบุญเต็ม พวงเพชร ฝ่ายข้อมูลภาพและตกแต่ง นายณรงค์ศักดิ์ มีศรี ฝ่ายประสานงานและงบประมาณ นางธาวินี ประทุมวงค์ ฝ่ายพิสูจน์อักษรและจัดส่ง นายกาญจน์ เสาเวียง นางสาวนันทพร สุกุ นางสาวสมจิตร บรรพชาติ วัตถุประสงค์ 1. เพื่อประชาสัมพันธ์ผลงาน และกิจกรรมโรงเรียน บ้านตระกวน 2. เพื่อสร้างความสันพันธ์ระหว่างบ้าน วัด โรงเรียน และองค์กรอื่นๆ 3. เพื่อส่งเสริมนิสัยรักการอ่าน การเขียน วิเคราะห์ ให้กับนักเรียน
  • 2. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน2 ในโอกาสที่โรงเรียนบ้านตระกวน ตำบลพิงพวย ได้ปรารภดำเนินการ จัดพิมพ์วารสารโรงเรียน เพื่อเผยแพร่ข่าวสารและผลงานทางวิชาการของครู และนักเรียนรวมทั้งกิจกรรมต่าง ๆ โดยขอให้พระสงฆ์ซึ่งเป็นตัวแทนทาง พระพุทธศาสนา เขียนคำนิยมลงในวารสารเล่มดังกล่าว ก่อนอื่นต้องขอกล่าว คำ “อนุโมทนา” กับทางโรงเรียนและมีความยินดีเป็นอย่างยิ่ง มีหลักฐานที่กล่าวว่า “คำพูดสอนคนได้เพียงหนึ่งชาติ แต่หนังสือสอนคนได้ร้อยชาติพันชาติ” การสอนด้วยการพูดเพียงอย่างเดียว แต่ไม่มีหลักฐานปรากฏบันทึกเป็นหนังสือรวมเล่ม ก็ถือว่ายังไม่ประสบ ความสำเร็จเท่าไรนัก อุทาหรณ์ดังคำสอนในทางพระพุทธศาสนา ถ้าพระมหากัสปะเถระ ไม่ปรารภการทำ สังคายนาพระธรรมวินัย ที่พระสุภัททะวุฒบรรพชิตได้กล่าวจาบจ้วงพระธรรมวินัย โดยกล่าวถึงพระพุทธเจ้าที่ ปรินิพาน (ตาย) ว่าดีแล้ว สมควรแล้ว ตอนมีชีวิตอยู่ ก็คอยบอกห้ามปราม ไม่ให้ทำสิ่งนั้น สิ่งนี้ เรื่องนั้น เรื่องนี้ ต่อไปนี้ ไม่ต้องมีใครมาว่า ใครกล่าว ใครตักเตือน อยากทำอะไรก็ทำได้ตามที่ใจตนเองต้องการทำ พระมหากัส ปะเถระเห็นภัยดังกล่าว จึงปราภการทำสังคายนาพระธรรมวินัย ครั้งที่ ๑ โดยรวบรวมหลักธรรมคำสอนเป็น หมวดเป็นหมู่ที่เรียกกันว่า “พระไตรปิฏก” ซึ่งถ้าไม่รวบรวมคำสอนทางพระพุทธศาสนาของพระพุทธเจ้าเอาไว้ เป็นหมวดหมู่ หลักธรรมคำสอนในทางพระพุทธศาสนาก็คงจะสาบสูญหรือบิดเบือนไปอย่างแน่นอน การจัดพิมพ์วารสารโรงเรียน เป็นการแสดงประกาศ ประชาสัมพันธ์ คุณงามความดี ให้ผู้คนได้รู้โดย ทั่วไป เพราะโดยปกติแล้ว การทำความดีโดยส่วนมากแล้วมักจะไม่ได้ประชาสัมพันธ์ เป็นความดีที่ปรากฏอยู่ใน ตัวว่าเป็นคนดีแล้ว แต่ในยุคปัจจุบันมีสิ่งอะไรดีก็ต้องประกาศประชาสัมพันธ์ แต่การประชาสัมพันธ์โดยการเป็น หนังสือนั้น จะต้องใช้ความวิริยะ อุตสาหะ เสียสละ เพียร เพียร พยายาม เพื่อความสมบูรณ์ที่สุด ของวารสารเล่มนั้น ๆ จึงขออนุโมทนากับทาง โรงเรียนบ้านตระกวน ซึ่งมีท่านผู้ อำนวยการธัชชัย นาจำปา เป็น ผู้นำคณะครู ดำเนินการจัดพิมพ์ วารสารโรงเรียนเล่มดังกล่าว ถือว่าถูกต้องสมควรเหมาะสมแล้วในการกระทำในเรื่องดังกล่าว ขออ้างเอาอำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย สิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลาย จงดลบันดาลให้ท่านผู้อำนวยการ คณะครู นักเรียน และผู้ปกครอง ตลอดจนพุทธศาสนิก ชนทั้งหลาย จงมีความสุข ความเจริญ ก้าวหน้า สำเร็จสมหวังในสิ่งที่ปรารถนาทุกประการ เทอญ ขอเจริญพร พระครูศรีรัตนาภิรักษ์ เจ้าอาวาสรางวัลเสมาธรรมจักรวัดเกียรติแก้วสามัคคี/เจ้าคณะอำเภอศรีรัตนะ วันศุกร์ ๑๗ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ¤Ó¹ÔÂÁ วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน2
  • 3. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 3 พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ เดิม ชื่อ นายมโนกิจ อบอุ่น อยู่บ้าน เลขที่ 162 หมู่ที่ 1 บ้านพิงพวย อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ เกิดวันเสาร์ที่ 3 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2506 ปีเถาะ ขึ้น 13 ค่ำ เดือน 9 สัญชาติไทย ศาสนา พุทธ บิดา นายสอน อบอุ่น มารดา นาง พลอย คำเหลือ บรรพชาอุปสมบท วันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2528 เมื่ออายุ 22 ปี ที่ วัดโพธิ์พรองค์ ตำบลพิงพวย อำเภอ ศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ พระครูอรรถ กิจสุนทร อดีตเจ้าอาวาสวัดจันทาราม เป็นพระอุปัชฌาย์ พระครูโอภาสโพธิกิจ เจ้าอาวาสวัดโพธิ์พระองค์ เป็นพระกรรมวาจาจารย์ พระอธิการ นวล วัดเกียรติ แก้วสามัคคี เป็นพระอนุสาวนาจารย์ พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ จำพรรษาอยู่วัดโพธิ์พรองค์ 2 พรรษา สอบนักธรรม ชั้น โท ได้ ปีพ.ศ. 2530 ได้ย้ายไปจำพรรษาที่วัดไทรงามธรรม ธราราม จังหวัดสุพรรณบุรี สอบได้นักธรรมเอก จำพรรษาอยู่ 14 ปี และย้ายมา จำพรรษา วัดโพธิ์พรองค์ และย้าย มาอยู่สำนักสงฆ์บ้านตระกวน เมื่อ 22 มกราคม 2545 และต่อมาได้ขอตั้งเป็นวัดบ้านตระกวน ประวัติการทำงาน - ได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารต่าง ๆ ในวัดโดยได้รับความร่วมมือ สนับสนุนจากชาวบ้านตระกวนและผู้มีจิตศรัทธา จากที่ต่างๆ - การอบรมธรรมเผยแพร่ในวันสำคัญต่างๆ - พิธีกร ในการอบรมปฏิบัติธรรมวัดไทรงามธรรมธราราม - วิทยากร ในการอบรมปฏิบัติธรรม - ครูผู้ช่วยสอน นักธรรม ชั้น โท - เปิดโครงการอบรมการปฏิบัติธรรม ณ วัดบ้านตระกวน ระหว่างวันที่ 1 – 10 เมษายน ทุกปี - โครงการอบรมปฏิบัติธรรมชุมชนไทยสายชุมชน ตามโครงการรัฐบาล สภาวัตนธรรม ตำบลพิงพวย ในเทศกาลเข้า พรรษา - โครงการสนับสนุนให้ผู้ที่อ่านหนังสือไม่ออก มาเรียนตามกิจกรรมของ กศน. ตำบลพิงพวย - โครงการอบรมนักเรียน นักศึกษา เยาวชนมาเข้าวัดฟังธรรม ปฏิบัติธรรม และส่งเสริมการสอบธรรมศึกษา พระอธิการมโนกิจ อุทยญาโณ เจ้าอาวาสวัดบ้านตระกวน หมู่ที่ 3 ตำบลพิงพวย อำเภอศรีรัตนะ จังหวัดศรีสะเกษ วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 3
  • 4. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน4 ปีนี้โรงเรียนบ้านตระกวนมีอายุครบ ๔๕ ปี ผลิตนักเรียนได้เป็นพันๆ คน จากรุ่นพี่ สู่รุ่นน้อง รุ่นลูก รุ่นหลาน รุ่นเหลน ต่างก็มีความสัมพันธ์กันโดยไม่มีวันสิ้นสุด ว่าเราคือนักเรียนที่ เคยเรียนอยู่โรงเรียนบ้านตระกวน มีคณะครูที่คอยสั่งสอนให้ความรู้จากที่ไม่เคยอ่านหนังสือออก จนเป็นคนที่อ่านออกเขียนได้ น้ำใจของครูถือว่ามีความบริสุทธิ์ นักเรียนบางคนเรียนเก่งบ้าง ไม่เก่งบ้าง เป็นเรื่องที่เป็นปกติ ที่ครูคอยให้ความรู้ ครูเปรียบ เสมือนหมอที่รู้อาการของศิษย์ว่าควรให้ยาขนานใด ความทรงจำที่มีกับครูและโรงเรียนแต่ละคนมีมากมาย จำได้แม้กระทั่งครูตี เรากี่ที ให้การบ้านอะไรบ้าง วันนี้ในฐานะศิษย์เก่าขอเล่าเรื่องให้ฟังเพื่อเป็นแรงกระตุ้นต่อมความคิดของพวกเรา ในแต่ละรุ่น แต่ละปี แต่ละบุคคล อาจจะมีเรื่องเล่าเรื่องที่น่าทรงจำที่แตกต่างกันตามวาระตามบุคคล ยังจำได้ไหมก่อนเข้าแถวเข้าห้องเรียนครูให้เก็บขยะ ใบไม้คนละถังเพื่อแลกบัตรเข้าแถว ยังจำได้ไหมก่อนเข้าแถวเข้าห้องเรียนครูให้ถอนหญ้าเจ้าชู้คนละกำเพื่อแลกบัตรเข้าแถว ยังจำได้ไหมนักเรียนทุกคนต้องห่อข้าวไปกินที่โรงเรียน ยังจำได้ไหมนักเรียนต้องเอาน้ำไปกินที่โรงเรียน เพราะโรงเรียนไม่มีน้ำกิน ยังจำได้ไหมนักเรียนขาดเรียนเพื่อไปทำบุญตักบาตรเทโว ครูลงโทษหน้าเสาธง ยังจำได้ไหม.....? (เติมได้เท่าที่ต้องการ) เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นปีแรกที่ได้เข้าเรียนในโรงเรียนบ้านตระกวนโดยเรียนอยู่ชั้นอนุบาล มีครูประจำที่สอนคือ คุณครูเสาวคนธ์ ท่านสอนหลาย ๆ อย่างทั้งการร้องเพลง การรักษาความสะอาด สอนให้รู้จักอ่าน ก ไก่ ข ไข่ ตอนเช้าเรียน และเล่น ตอนบ่ายนอน ตื่นนอนมามีขนมกิน เป็นชีวิตที่มีความสุขเหลือเกิน ปี พ.ศ. ๒๕๓๐ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ มีครูประจำที่สอนคือ คุณครูบุญเสริม คุณครูท่านนี้ สอนดุมากพยายาม สอนให้เด็กรู้จักขีดเขียน รู้จักอ่าน ตั้งแต่ ก ไก่ ข ไข่ เขียนคัดลายมือส่ง สอนให้อ่าน มานี มานะ แต่ถ้าใครไม่อ่านตามละก็ ท่านจะมีไม้เด็ด คือ เอามือมาหยิกหัว พร้อมกับคำว่าทำไมโง่จัง ไม่รู้จักอ่าน เพราะความกลัวจึงทำให้นักเรียนมีความพยายาม หัดอ่านหัดเขียนจนในที่สุดก็ได้ขึ้นชั้น ป.๒ ปี พ.ศ. ๒๕๓๑ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ มีครูประจำชั้นที่สอน ๒ คน คือ ครูคนที่หนึ่งชื่อ ครูสมภาร สอนได้ ไม่กี่เดือน ท่านก็ได้รับคัดเลือกเป็นทหาร จึงทำให้ขาดครูสอน แต่ครูสมภารในตอนนั้นในความรู้สึกของนักเรียน ท่านเป็นคนที่ ดุมากวันหนึ่งนักเรียนหยอกกันในห้องเรียนท่านมาเห็นลงโทษอย่างแรงเลย โดยเอาไม้เรียวฟาดคนละทีเข็ดจนมาถึงบัดนี้ ครูคนที่สอง ชื่อครูเสาวคนธ์ เป็นครูที่เคยสอนอยู่ชั้นอนุบาล มาสอนแทนสอนสนุก เป็นครูคนแรกที่สอนวิชาคณิตศาสตร์ได้ สนุกและอยากเรียนสอนบวกเลข ลบเลข หัดอ่าน หัดเขียน และสอนหลาย ๆ อย่าง ปี พ.ศ. ๒๕๓๒ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ มีครูประจำชั้นชื่อ ครูประจวบ ท่านสอนชั้น ป.๓ มานาน มีประสบการณ์มาก แต่นิสัยเสียของท่านมีอย่างหนึ่งคือชอบ ดื่มเหล้าแล้วมาสอนบางวันเมามาให้นักเรียนถอนผมหงอกให้ ใครถอนได้ ๑๐-๒๐ เส้นก็ให้ออกไปเล่นได้ อันนี้ไม่ได้คิดเจตนา ว่าครูแต่พูดความจริงให้ฟังแต่ก็เป็นเพราะครูถึงทำให้นักเรียน ได้เลื่อนชั้นไป ป.๔ ปี พ.ศ. ๒๕๓๓ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๔ มีครูประจำชั้นชื่อ คุณครูเจตพล เป็นครูย้ายมาจากบ้านผือ ท่านสอนเก่ง ท่านบอกว่าตอนอยู่ ป.๓ เรียนไม่ค่อยได้เรียน อยู่ ป.๔ ครูจะไม่ยอมปล่อยจะสอนพวกเธอเต็มที่ นักเรียนให้ กาลเวลาที่ผันผ่าน วันวานที่ยังจดจำ จากเด็กน้อยตาดำๆ ตอนนี้เจ้าอยู่แห่งหนใด? วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน4
  • 5. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 5 ความเคารพ เชื่อฟัง นักเรียนแต่ละคนชอบอาจารย์มากใครอ่านไม่ออก เขียนไม่ได้ท่านไม่ยอมปล่อยจริง ๆ ท่านให้ตกเรียน ซ้ำชั้น ปีนี้มีนักเรียนสอบตกอยู่ ๓-๔ คน และขอฝากขอบคุณคุณครูที่พยายยามเคี่ยวเข็นลูกศิษย์ทุกคนและขอขอบคุณที่คุณครู พานักเรียนชั้น ป.๔ ไปเลี้ยงของหวานที่บ้าน ของหวานที่บ้านครูอร่อยมากยังจำได้ถึงทุกวันนี้ ปี พ.ศ. ๒๕๓๔ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕ มีครูประจำชั้นชื่อ คุณครูวุฒิพงศ์ ท่านมีความตั้งใจสอนมาก ทำให้รู้หลัก วิชาต่าง ๆ โดยเฉพาะวิชาเกษตร พากันปลูกผักหลังโรงเรียน ทำอาหาร เพราะที่โรงเรียนมีโครงการอาหารกลางวัน มีการผลัด เปลี่ยนนักเรียนให้ทำอาหารประจำวันทุกวัน ปี พ.ศ. ๒๕๓๕ เรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ มีครูประจำชั้นชื่อ คุณครูสมพงษ์ ครูท่านนี้ดุมากท่านเอาจริงกับการ เรียนการสอน ครูฝากการบ้านให้ไปทำ ใครไม่ทำส่งมีหวังโดนตี ท่านตีจริง ๆ เพราะ ป.๖ เป็นชั้นที่เป็นหัวเลี้ยวหัวต่อในการ ออกไปต่อสู้กับโลกภายนอก เพราะในสมัยนั้นมีนักเรียนน้อยมากที่มีโอกาสเรียนต่อในชั้นมัธยม บางคนเรียนจบป.๖แล้วไม่ได้ เรียนต่อ บางคนได้เรียนต่อ แต่คนที่เรียนต่อมีจำนวนน้อยมาก ในรุ่นนั้นมีอยู่จำนวน ๔-๕ คนเท่านั้นที่ได้เรียนต่อในชั้นมัธยม นักเรียนที่จบแล้ว ไม่เลี้ยงควาย ทำไร่ ทำนา ก็ไปใช้แรงงานอยู่ ต่างถิ่น นี่คือสัจจธรรมของชีวิต ชีวิตหลังจบชั้น ป.๖ ต่างคนต่างไปจริง ๆ เพื่อนบางคน จบแล้วก็ไม่เคยเจอกันอีกเลยแต่ก็ยังคงจำได้ยังคงคิดถึงตลอด และยังอยู่ในความทรงจำโดยไม่เคยลืม รายชื่อเพื่อนที่เรียน ด้วยกันมีดังนี้ นักเรียนชาย สายัณห์ สัมฤทธิ์ ญาติ สุทิน สมศักดิ์ โอภาส วิวัฒน์ สุวรรณ ประสิทธิ์ นพรัตน์ บัญชา ศรัณย์ นักเรียนหญิง บัญญัติ สมพาน นิตยา ลำภรณ์ กัลยา วลีรัตน์ แต๋ว (ขออภัยสำหรับรายชื่อที่เขียนผิด) สุดท้ายขอฝากถึงศิษย์เก่าศิษย์ใหม่ทุกคน ส่วนใครจะมี ความรู้สึกถึงโรงเรียนอย่างไร ก็จงคิดไว้ว่าโรงเรียนคือสถานที่ให้ความรู้กับเราทุกคน ครูที่สอนอยู่ในโรงเรียนมีการย้ายออก ย้ายเข้า ตามเหตุตามปัจจัยของแต่ละบุคคล แต่โรงเรียนก็ยังคงตั้งอยู่เหมือนเดิม ปีนี้เป็นปีที่ ๔๕ ของโรงเรียน ที่โรงเรียนเป็น สถานที่สอนลูกศิษย์ทุกคนให้เป็นคนดีของสังคม ของประเทศชาติ และขอให้โรงเรียนบ้านตระกวนตั้งอยู่ตลอดกาลแต่อย่างไรก็ ขอฝากแนวคิดให้กับลูกศิษย์และครูทุกท่านไว้ดังต่อไปนี้เพื่อเป็นเครื่องเตือนใจ คุณธรรมของนักเรียน ๑๐ ประการคือ ๑.แสวงหาความรู้ ๒. เคารพครูอาจารย์ ๓.รักการศึกษา ๔.มีจรรยาเรียบร้อย ๕.มักน้อยตามฐานะ ๖.เสียสละเพื่อสถานบัน ๗.มุ่งมั่นประพฤติดี ๘.หลีกหนีสิ่งชั่ว ๙.ไม่มั่วยาเสพติด ๑๐.รู้จักคิดใช้ปัญญา คุณธรรมของครูอาจารย์ ๑๐ ประการคือ ๑.เป็นผู้มีจรรยา ๒.มีเมตตาต่อศิษย์ ๓.ไม่สอนผิดหลักวิชา ๔.มุ่งค้นคว้าอยู่เสมอ ๕.ไม่พลั้งเผลอประพฤติผิด ๖.รักศิษย์ไม่ลำเอียง ๗.ไม่คิดเกี่ยงการงาน ๘.คิดบริการสังคม ๙.นิยมความเป็นบัณฑิต ๑๐.พูดทำคิดแต่ทางดี พระมหาดอนไชย สิริวฑฺฒโน (ประทุมวงศ์) ในฐานะศิษย์เก่า วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 5
  • 6. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน6 ผศ.สุระ อุณวงศ์ ๑. จงประพฤติศีล ๕ ให้สมบูรณ์ ด้วยการไม่ฆ่าสัตว์ทุกชนิด, ไม่ขโมยสิ่งของ ของใคร, ไม่ประพฤติผิดในกาม, ไม่โกหกหลอกลวงใคร และไม่ดื่มหรือเสพสิ่งเสพติดมึนเมา ๒. แบ่งเวลาในแต่ละวันให้พอเหมาะพอดีแก่สภาพชีวิตของตัวเอง มีเวลาทำงาน เพียงพอ มีเวลาพักผ่อนเพลิดเพลินในครอบครัวตามสมควรสำหรับผู้ที่เป็นฆราวาส และ มีเวลาฝึกเป็นสมาธิทำให้จิตให้สงบ ๓. ในการฝึกสมาธินั้น ให้นั่งอยู่อย่างสงบสำรวม อย่าเคลื่อนไหวอวัยวะมือเท้า จะนั่งกับพื้น เอาขาทับขาข้างใด ข้างหนึ่งก็ได้ หรือจะนั่งพับเพียบก็ได้ หรือจะนั่งบนเก้าอี้ตามสบายก็ได้ ไม่มีปัญหา ๔. วิธีการฝึกสมาธินั้น ขอให้เข้าใจว่าท่านจะทำจิตให้สงบ ปราศจากความคิดนึกปรุงแต่งในเรื่องภายนอก ทุกอย่างชั่ว ระยะเวลาที่ทำสมาธินั้น ท่านจะไม่ปรารถนาที่จะพบเห็น รูป สี แสง เสียง สวรรค์ นรก หรือเทวดา อินทร์พรหมที่ไหน เพราะสมาธิที่แท้จริงย่อมจะไม่มีสิ่งเหล่านั้นอยู่ในจิต สมาธิที่แท้จริงจะมีแต่จิตที่สะอาดบริสุทธิ์ และสงบเย็นเท่านั้น ๕. พอเริ่มทำสมาธิ โดยปกติแล้วให้หลับตาพอสบาย สำรวมจิตเข้านับที่ลมหายใจ ทั้งหายใจเข้าและหายใจออก โดยอาจจะนับอย่างนี้ว่า หายใจเข้านับ ๑ หายใจออกนับ ๒ เรื่อยไป ทีแรกนับช้าๆ เพื่อให้สติต่อเนื่องอยู่กับการนับนั้น แต่ต่อไป พอจิตสงบเข้าที่แล้วมันก็จะหยุดนับของมันเอง ๖. หรือบางทีอาจจะกำหนด พุท โธ ก็ได้หายใจเข้ากำหนด พุท หายใจออกกำหนด โธ อย่างนี้ก็ได้ ไม่ขัดแย้งกันเลย เพราะการนับอย่างนี้ มันเป็นเพียงอุบายที่ทำให้จิตหยุดคิดนึกปรุงแต่งเท่านั้น ๗. แต่ในการฝึกแรกๆ นั้น ท่านจะยังนับหรือกำหนดไม่ได้อย่างสม่ำเสมอ หรืออย่างตลอดรอดฝั่ง เพราะมันมักจะมี ความคิดต่างๆ แทรกเข้ามาในจิต ถ้าเป็นอย่างนั้นก็ช่างมัน ให้เข้าใจว่าฝึกแรกๆ มันก็เป็นอย่างนี้เอง แต่ให้ท่านตั้งนาฬิกาเอาไว้ ตามเวลาที่พอใจว่าจะทำสมาธินานเท่าไร เริ่มแรกอาจจะทำสัก ๑๕ นาที อย่างนี้ก็ได้และให้เฝ้านับหรือกำหนดอยู่จนครบเวลาที่ ตั้งไว้จิตมันจะมีความคิดมากหรือน้อยก็ช่างมัน ให้พยายามกำหนดนับตามวิธีการที่กล่าวมาแล้วจนครบเวลาไม่นานนัก จิตมันก็ จะหยุดคิดและสงบได้เองของมัน ๘. การฝึกสมาธินี้ให้พยายามทำทุกวันๆ ละ ๒ – ๓ ครั้ง แรกๆ ให้ทำครั้งละ ๑๕ นาที แล้วจึงค่อยเพิ่มมากขึ้นๆ จนถึง ครั้งละ ๑ ชั่วโมง หรือกว่านั้น ตามที่ปรารถนา ๙. ครั้นกำหนดจิตด้วยการนับอย่างนั้นจนมีประสบการณ์พอสมควรแล้ว ท่านก็จะรู้สึกว่า จิตนั้นสะอาด สงบเย็น ผ่องใส ไม่หงุดหงิด ไม่หลับใหล ไม่วิตกกังวลกับสิ่งใด นั้นแหละคือ สัญลักษณ์ที่แสดงว่า สมาธิกำลังเกิดขึ้นในจิต ๑๐. เมื่อจิตสงบเย็น ไม่หงุดหงิดเช่นนั้นแล้วอย่าหยุดนิ่งเฉยเสีย ให้ท่านเริ่มน้อมจิตเพื่อจะพิจารณาเรื่องราวต่างๆ ต่อไป ถ้ามีปัญหาชีวิต หรือปัญหาใดๆ ที่กำลังทำให้ท่านเป็นทุกข์กลัดกลุ้มอยู่ก็จงน้อมจิตเข้าไปคิดนึกพิจารณาปัญหา ด้วยความสุขุมรอบคอบ ด้วยความมีสติ ๑๑. จงยกเอาปัญหานั้นขึ้นมาพิจารณาว่าปัญหานี้มันมาจากไหน? มันเกิดขึ้นเพราะอะไร? เพราะอะไรท่านจึงหนักใจ กับมัน? ทำอย่างไรที่ท่านจะสามารถแก้ไขมันได้? ทำอย่างไรท่านจึงจะเบาใจและไม่เป็นทุกข์กับมัน? ๑๒. การพิจารณาอยู่ด้วยจิตอันสงบอย่างนี้การถามหาเหตุผลกับตัวเองอย่างนี้ จิตของท่าน มันจะค่อยๆ รู้เห็น และเกิดความคิดนึกรู้สึกอันฉลาดขึ้นมาโดยธรรมชาติของมัน จิตจะสามารถ เข้าใจต้นสายปลายเหตุของปัญหาต่างๆ ได้อย่างชัดเจนและถูกต้อง นักปฏิบัติจึงต้องพยายาม พิจารณาปัญหาต่างๆ อย่างนี้เรื่อยไปหลังจากที่จิตสงบแล้ว ๑๓. จงเข้าใจเป้าหมายที่ถูกต้องของการฝึกสมาธินั้น คือ ท่านจะฝึกสมาธิเพื่อให้จิตสงบ จากอารมณ์ภายนอกชั่วระยะเวลาหนึ่ง เมื่อจิตสงบเป็นสมาธิแล้ว จิตนั้นจะมีกำลัง และมั่นคง สภาพ จิตเช่นนั้นเองที่มันจะมีความพร้อมในการที่จะรู้ จะเข้าใจปัญหาต่างๆ หรือสิ่งต่างๆ ที่แวดล้อมตัว ท่านเอง ได้อย่างถูกต้องตามความจริง ๑๔. สรุปว่า ท่านจะฝึกสมาธิเพื่อจะเรียกกำลังจิตจากสมาธินั้นไปพัฒนาความคิดนึก หรือ ความรู้สึกของท่านให้ถูกต้อง ซึ่งความรู้สึกคิดนึกที่ถูกต้องนั้น แท้จริงแล้วก็คือ “ปัญญา” นั่นเอง ชมรมผู้สูงอายุวัดหนองปลาปาก ¤Ù‹Á×ʹѺ·Ø¡¢ วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน6
  • 7. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 7 ชื่อผลงาน การศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 ผู้ศึกษา นายธัชชัย นาจำปา ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านตระกวน บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้บริหาร ครูผู้สอน คณะกรรมการสถาน ศึกษาขั้นพื้นฐาน และผู้ปกครองนักเรียนของโรงเรียนบ้านตระกวน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 ปีการศึกษา 2554 จำนวน 151 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับประสิทธิผลการบริหาร งานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน มีลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (rating scale) 5 ระดับ ตามแบบของลิเคอร์ท (Likert) จำนวน 64 ข้อ ที่มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.91 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) ผลการวิจัยพบว่า : ประสิทธิผลการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนบ้านตระกวน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ศรีสะเกษ เขต 4 ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า มีค่าเฉลี่ย ของระดับประสิทธิผลอยู่ในระดับมากทุกด้าน โดยเรียงค่าเฉลี่ยจากมากไปน้อย คือ ด้านการแก้ปัญหาการบริหารงานวิชาการ ด้านการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวก ด้านการปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารงานวิชาการ และด้านการพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ตามลำดับ โดยมีผลสรุปแต่ละด้าน ดังนี้ 1. ด้านการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผล อยู่ในระดับมาก และ เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ จำนวนนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เข้าศึกษาต่อ เป็นที่น่าพอใจ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก รองลงมา ได้แก่ ครูนำผลการทดสอบของนักเรียนมาเป็น ข้อมูลในการวางแผน จัดกิจกรรม จัดทำโครงการ หรือจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักเรียน และโรงเรียนมีการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลายอย่างสม่ำเสมอ ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับ มากทั้งสองรายการ ส่วนรายการที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำ เป็นอันดับสุดท้าย คือครูมีการพัฒนานวัตกรรมหรือสื่อ การเรียนรู้ ที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้อย่างสม่ำเสมอ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลาง 2. ด้านการพัฒนานักเรียนให้มีทัศนคติทางบวก พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก และเมื่อ พิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อโรงเรียนและ การศึกษาเล่าเรียน โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ นักเรียนให้ความสนใจและร่วมมือในการทำกิจกรรม ต่าง ๆ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด และนักเรียนมีความประพฤติต่อเพื่อน ต่อครู ต่อผู้ปกครองและต่อผู้อื่นอย่าง เหมาะสม ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก ส่วนรายการที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำเป็นอันดับสุดท้าย คือ นักเรียนได้รับการยกย่องชมเชยจากสังคมหรือหน่วยงานอื่นในการเป็นแบบอย่าง ที่ดี โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลาง 3. ด้านการปรับเปลี่ยนและพัฒนาการบริหารงานวิชาการ พบว่า ในภาพรวม มีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ โรงเรียนได้รับความร่วมมือใน การจัดการศึกษาจากชุมชนเป็นอย่างดี โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ โรงเรียนส่งครู เข้ารับการอบรม ทางวิชาการ เพื่อนำมาปรับปรุง พัฒนางานวิชาการและกระบวนการจัดการเรียนการสอน และผู้บริหารเป็นผู้นำการ เปลี่ยนแปลง มีความคิดสร้างสรรค์ในการพัฒนาโรงเรียนร่วมกับครูและชุมชน ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก ทั้งสองรายการ ส่วนรายการที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำเป็นอันดับสุดท้าย คือ ครูมีการทำวิจัยในชั้นเรียนเพื่อปรับปรุง พัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับปานกลาง 4. ด้านการแก้ปัญหาการบริหารงานวิชาการ พบว่า ในภาพรวมมีประสิทธิผล อยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณา เป็นรายข้อ พบว่า เรื่องที่มีค่าเฉลี่ยของระดับประสิทธิผลสูงเป็นอันดับแรก คือ ผู้บริหารและครูร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาจากผล การดำเนินงานที่ผ่านมาโดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา ได้แก่ ผู้บริหารและครูรับรู้ปัญหาการบริหารงานวิชา การและการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เกิดขึ้นร่วมกัน และครูสามารถแก้ปัญหานักเรียนได้ทั้งปัญหาด้านพฤติกรรมและ ปัญหาที่เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ตามลำดับ โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมากที่สุดทั้งสองรายการ ส่วนรายการที่มีค่า เฉลี่ยของระดับประสิทธิผลต่ำเป็นอันดับสุดท้าย คือ ผู้บริหาร ครู คณะกรรมการสถานศึกษา นักเรียน ร่วมกันรับรู้ปัญหาของ โรงเรียนและมีส่วนร่วมในการวางแผนแก้ปัญหาและพัฒนา โดยมีประสิทธิผลอยู่ในระดับมาก
  • 8. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน8 วิสัยทัศน์ วัตถุประสงค์ การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ วิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนาครูสู่การเป็นวิชาชีพชั้นสูงหรือครูมืออาชีพ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาบุคลากรของ สพป.ศก.4 ให้มีความรู้ความสามารถ และมีประสบการณ์ วิชาชีพ ตามมาตรา 22 และมาตรา 24 แห่ง พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ที่ถือว่า ผู้เรียนมีความสำคัญที่สุด ความเป็นมาของการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ สพป.ศก.4 โดยนายมานิต สิทธิศร ศึกษานิเทศก์ได้แสวงหานวัตกรรมใหม่ๆ ในการพัฒนาบุคลากร เพื่อให้เป็นไปตาม พ.ร.บ.การศึกษาแห่งชาติ หลักสูตรสถานศึกษา ทันสมัย เหมาะสม เป็นไปได้ ทำได้จริง ทำให้ครูศรัทธาในวิชาชีพ และทำงานอย่างมีความสุข ซึ่งก็พบว่า โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา จ.บุรีรัมย์ เป็นแบบอย่างที่ดีของการพัฒนาบุคลากรให้มีคุณลักษณะดังกล่าว โดยจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ถือว่าผู้เรียนมี ความสำคัญที่สุด (เน้นการบูรณาการด้วยโครงงาน และการใช้ปัญหาเป็นฐาน) จึงได้เลือกแนวคิดของโรงเรียน ลำปลายมาศพัฒนา มาใช้ในการพัฒนาบุคลากรของสพป.ศก.4 ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2551 เป็นต้นมาถึงปัจจุบัน รวมเวลาประมาณ 4 ปีเศษ โดยส่งบุคลากรเข้ารับการพัฒนาที่โรงเรียนลำปลายมาศ-พัฒนา มากกว่า 600 คน ประมาณ 100 โรงเรียน ผลการพัฒนาที่ชัดเจน คือ ครูศรัทธาในอาชีพ มีการใช้จิต-ศึกษาในการพัฒนาผู้เรียน รักเอาใจใส่ผู้เรียนมากขึ้น  ร.ร.บ้านนาขนวน ได้พัฒนาบุคลากรอย่างจริงจังและต่อเนื่อง ครูทุกคนนำนวัตกรรมใหม่มาทดลองใช้ อย่างได้ผล ทำให้นักเรียนได้รับการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ มีทักษะกระบวนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง เรียนรู้อย่างต่อเนื่อง มีทักษะในการคิดอย่างเป็นระบบ มีความสามารถในการแก้ปัญหามากขึ้น มีเจตคติที่ดีต่อ การเรียนรู้ มีสมาธิ ความประพฤติ ความคิดสร้างสรรค์ดีขึ้น เรียนรู้อย่างมีความสุข จึงได้รับการประกาศให้เป็น “โรงเรียนต้นแบบการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ระดับประถมศึกษา สพป.ศรีสะเกษ เขต 4” ขณะนี้โรงเรียนบ้านนาขนวนได้ขยายเครือข่ายไปหลายโรงเรียน เช่น บ้านปะทาย บ้านสดำ บ้านเดียง (พลีศึกษา) บ้านจำนันสายเจริญ บ้านทุ่งยาวคำโปรย บ้านขะยูง และบ้านทุ่งโพธิ์ ซึ่งทั้งหมด เป็นโรงเรียน นำร่องพัฒนาทักษะสำหรับผู้เรียนสู่ศตวรรษที่ 21 เน้นการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักหรือเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) ด้วยการสนับสนุนอย่างดียิ่งจากโรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา และ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม เมื่อวันที่ 26 มีนาคม 2556 สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และคุณภาพเยาวชน (สสค.) ได้เชิญ โรงเรียนบ้านนาขนวนและโรงเรียนบ้านปะทาย เข้าร่วมประชุมเสวนาวิชาการ “เวทีเสวนาเครือข่ายผู้นำ การเรียนรู้ ครั้งที่ 1 : ผู้นำการเรียนรู้สู่สังคมนักอ่าน” ที่สถาบันวิจัยจุฬาภรณ์ กรุงเทพฯ เป็นกรณีศึกษาที่ 1 ทำให้เป็นที่รู้จักในวงการศึกษามากขึ้น แต่ต้องพัฒนาต่อไป ปัจจุบันโรงเรียนบ้านนาขนวน และโรงเรียนบ้านปะทาย ดำเนินการได้ดี สามารถศึกษาดูงานได้แล้ว การจัดการเรียนรู้แบบ PBL เครื่องมือที่สำคัญที่สุดของการเรียนรู้และการสอนในศตวรรษที่ 21 คือ คำถามกับปัญหา ซึ่งรูปแบบ การเรียนรู้เพื่อให้เกิดทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 ที่ครูควรนำมาใช้ คือ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ ปัญหาเป็นหลักหรือเป็นฐาน (Problem Based Learning : PBL) สพป.ศรีสะเกษ เขต 4 กับการพัฒนาทักษะสำหรับผู้เรียน สู่ศตวรรษที่ 21
  • 9. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 9 หลักการ ปัญหาสามารถกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดภาวะงุนงงสงสัยและความต้องการที่จะแสวงหาความรู้ เพื่อขจัดความสงสัยดังกล่าว การให้ผู้เรียนได้เผชิญปัญหาจริงหรือสถานการณ์ปัญหาต่างๆ และร่วมกันคิดหา ทางแก้ปัญหานั้นๆ จะช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย และสามารถพัฒนาทักษะกระบวนการ ต่างๆ อันเป็นทักษะที่จำเป็นต่อการดำรงชีวิต และการเรียนรู้ตลอดชีวิต นิยาม การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก เป็นการจัดสภาพการณ์ของการเรียนการสอนที่ใช้ ปัญหาเป็นเครื่องมือในการช่วยให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมาย โดยผู้สอนอาจนำผู้เรียนไปเผชิญ สถานการณ์ปัญหาจริง หรือผู้สอนอาจจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียนเผชิญปัญหา และฝึกกระบวนการวิเคราะห์ ปัญหาและแก้ปัญหาร่วมกันเป็นกลุ่ม ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดความเข้าใจในปัญหานั้นอย่างชัดเจน ได้เห็นทาง เลือกและวิธีการที่หลากหลายในการแก้ปัญหานั้น รวมทั้งช่วยให้ผู้เรียนเกิดความใฝ่รู้ เกิดทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการแก้ปัญหาต่างๆ ตัวบ่งชี้ 1. ผู้สอนและผู้เรียนมีการร่วมกันเลือกปัญหาที่ตรงกับความสนใจหรือความต้องการของผู้เรียน 2. ผู้สอนและผู้เรียนมีการออกไปเผชิญสถานการณ์ปัญหาจริงหรือผู้สอนมีการจัดสภาพการณ์ให้ผู้เรียน เผชิญปัญหา 3. ผู้สอนและผู้เรียนมีการร่วมกันวิเคราะห์ปัญหา และหาสาเหตุของปัญหา 4. ผู้เรียนมีการวางแผนแก้ปัญหาร่วมกัน 5. ผู้สอนมีการให้คำปรึกษาแนะนำ และช่วยอำนวยความสะดวกแก่ผู้เรียนในการแสวงหาแหล่งข้อมูล การศึกษาข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล 6. ผู้เรียนมีการศึกษาค้นคว้าและแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 7. ผู้สอนมีการกระตุ้นให้ผู้เรียนแสวงหาทาง เลือกในการแก้ปัญหาที่หลากหลายและพิจารณาเลือก วิธีที่เหมาะสม 8. ผู้เรียนมีการลงมือแก้ปัญหา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล สรุป และประเมินผล 9. ผู้สอนมีการติดตามการปฏิบัติงานของผู้ เรียน และให้คำปรึกษา 10. ผู้สอนมีการประเมินผลการเรียนรู้ ทั้งทาง ด้านผลงาน และกระบวนการ คำสำคัญที่น่าสนใจ IBL (Inquiry Based Learning) : การเรียนรู้แบบการใช้การตั้งคำถามเป็นหลัก เป็นการเรียนโดยให้ผู้ เรียนตั้งคำถาม ทำความชัดเจนของคำถาม แล้วดำเนินการหาคำตอบเอาเอง ไม่มีคำถามและคำตอบตายตัว ผู้เรียนได้ฝึกฝนความริเริ่มสร้างสรรค์และจินตนาการ PBL (Project Based Learning) : การจัดการเรียนรู้แบบโครงการเป็นหลักหรือเป็นฐาน เป็นการใช้ หลายๆ ปัญหาประกอบกันอย่างซับซ้อนเพื่อทำงานใดงานหนึ่งให้สำเร็จ (ใช้ชิ้นงานเป็นตัวตั้ง) PBL (Problem Based Learning) : การจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลักหรือเป็นฐาน (ใช้ปัญหา เป็นตัวตั้ง) PLC (Professional Learning Community) : ชุมชนนักปฏิบัติ หรือชุมชนวิชาชีพเรียนรู้ร่วมกัน ซึ่งก็คือการรวมตัวกันแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำหน้าที่ครูเพื่อศิษย์นั่นเอง เป็นเครื่องมือของการเปลี่ยนชีวิตครู จากผู้สอน (teacher) เป็นนักเรียน (learner) AAR : (After Action Review) : การทบทวนหลังปฏิบัติงาน การถอดบทเรียน หรือการทบทวน ไตร่ตรอง (reflection) ทั้งด้านความสำเร็จและปัญหาที่เกิดขึ้น ไม่ใช่เพื่อค้นหาคนที่ผิดพลาด ไม่ใช่การกล่าวโทษ ใคร แต่เป็นการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทำงานเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นไม่ให้เกิดปัญหานี้ขึ้นอีก
  • 10. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน10 ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซึ่งวิธีการที่ดีอยู่แล้ว บทบาทของครู ควรเปลี่ยนจากครูสอน (teacher) ฝึกฝนตนเองให้เป็นโค้ช (coach) หรือผู้อำนวยการ เรียนรู้ (learning facilitator) เลิกการเป็นผู้สอน โดยสอนน้อย เรียนมาก ส่งเสริมแรงบันดาลใจและให้กำลังใจใน การเรียนรู้ ให้เรียนรู้จากการลงมือทำใน PBL ชวนนักเรียนทบทวนไตร่ตรอง หรือ AAR หลังบทเรียนว่า ได้เรียนรู้อะไรบ้าง ยังไม่ได้เรียนรู้อะไรบ้าง และอยากเรียนรู้อะไรบ้าง หนังสือที่ควรอ่านเพิ่มเติม (1) ศาสตร์การสอน โดย รศ.ดร.ทิศนา แขมมณี 512 หน้า (2) วิถีสร้างการ เรียนรู้เพื่อศิษย์ ในศตวรรษที่ 21 โดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช 416 หน้า หนทาง และปัจจัยสู่ความสำเร็จ 1. บุคคลสำคัญที่ทำให้งานประสบความสำเร็จ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูผู้สอน โดยชุมชนเข้าใจ ให้การสนับสนุน มีศึกษานิเทศก์ ร่วมคิด และผู้อำนวยการเรียนรู้ 2. ครูทุกคนและผู้บริหาร ต้องได้รับการพัฒนา เรียนรู้การจัดทำหน่วยการเรียนรู้ที่มาจากความสนใจ ของเด็ก ปรับตารางเรียน ลองนำหน่วยการเรียนรู้ที่ทำแล้วไปทดลองใช้ ปรับปรุงแก้ไขให้ดีขึ้น มีการทำ PLC สม่ำเสมอ 3. ศึกษานิเทศก์ ต้องสร้างความมั่นใจให้ครูและผู้บริหารในการนำนวัตกรรมใหม่ไปทดลองใช้ มีการ นิเทศ ปรับปรุง พัฒนาที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง ช่วยประสานการเรียนรู้ แสวงหาความร่วมมือ ประชาสัมพันธ์ และร่วมชื่นชมผลงาน
  • 11. วารสารโรงเรียนบ้านตระกวน 11 พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนด มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 ว่า คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยคนไทยต้องเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ตัวบ่งชี้ คือ กำลังกาย กำลังใจที่สมบูรณ์ ความรู้และ ทักษะที่จำเป็นและเพียงพอในการดำรงชีวิต และการพัฒนาสังคม ทักษะ การเรียนรู้และการปรับตัว ทักษะทางสังคม คุณธรรมจิตสาธารณะและ จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดยมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูก ต้องด้านต่าง ๆให้กับผู้เรียน รวมถึงการรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและ ของประเทศชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความสำคัญกับการมีจิต สาธารณะที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การรู้จักดูแลของส่วนรวม รวมถึง รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ โดยให้หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด “จิตสาธารณะ” เป็น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 1 ใน 8 ข้อ ที่สถานศึกษาต้องเน้น จิตสาธารณะ (Public Mind) หมายถึง จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม “จิตสาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะเป็นความรู้สึก ถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องดูแล และ บำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลง แม่น้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่น หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนน ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ ตลอดจนร่วมมือกระทำเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดกับ กฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม การกระทำด้วยจิตสาธารณะ เป็นการกระทำด้วยจิตวิญญาณ ที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอื้ออาทรต่อคนอื่นและ สังคมโดยส่วนรวม การมีคุณธรรมจริยธรรม และการไม่กระทำที่เสื่อมเสียหรือเป็นปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติ การมีจิตที่คิด สร้างสรรค์ เป็นกุศล และมุ่งทำความดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คิดในทางที่ดี ไม่ทำลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม ประเทศชาติและสิ่งแวดล้อม การกระทำและคำพูดที่ดีมาจากความคิดที่ดี จิตสาธารณะจะเกิดขึ้นได้ต้องสร้างจิตสำนึก สร้างโอกาสให้มีขึ้นในโรงเรียนด้วยโครงการต่าง ๆ ผ่านกระบวน การเรียนการสอน การทำกิจกรรม เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสังคมไทยที่เป็นสังคมแห่งความเมตตา โรงเรียนกับการพัฒนา จิตสาธารณะ ดร.ประพิณ จินตวรรณ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนด มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 ว่า คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยคนไทยต้องเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ตัวบ่งชี้ คือ กำลังกาย กำลังใจที่สมบูรณ์ ความรู้และ ทักษะที่จำเป็นและเพียงพอในการดำรงชีวิต และการพัฒนาสังคม ทักษะ การเรียนรู้และการปรับตัว ทักษะทางสังคม คุณธรรมจิตสาธารณะและ จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดยมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูก ต้องด้านต่าง ๆให้กับผู้เรียน รวมถึงการรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและ ของประเทศชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความสำคัญกับการมีจิต สาธารณะที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การรู้จักดูแลของส่วนรวม รวมถึง รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ โดยให้หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด “จิตสาธารณะ” เป็น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 1 ใน 8 ข้อ ที่สถานศึกษาต้องเน้น จิตสาธารณะ (Public Mind) หมายถึง จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม “จิตสาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะเป็นความรู้สึก ถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องดูแล และ บำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลง แม่น้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่น หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนน ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ ตลอดจนร่วมมือกระทำเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดกับ กฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม การกระทำด้วยจิตสาธารณะ เป็นการกระทำด้วยจิตวิญญาณ ที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอื้ออาทรต่อคนอื่นและ สังคมโดยส่วนรวม การมีคุณธรรมจริยธรรม และการไม่กระทำที่เสื่อมเสียหรือเป็นปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติ การมีจิตที่คิด สร้างสรรค์ เป็นกุศล และมุ่งทำความดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คิดในทางที่ดี ไม่ทำลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม ประเทศชาติและสิ่งแวดล้อม การกระทำและคำพูดที่ดีมาจากความคิดที่ดี จิตสาธารณะจะเกิดขึ้นได้ต้องสร้างจิตสำนึก สร้างโอกาสให้มีขึ้นในโรงเรียนด้วยโครงการต่าง ๆ ผ่านกระบวน การเรียนการสอน การทำกิจกรรม เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสังคมไทยที่เป็นสังคมแห่งความเมตตา โรงเรียนกับการพัฒนา จิตสาธารณะ ดร.ประพิณ จินตวรรณ พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 ได้กำหนด มาตรฐานการศึกษาของชาติ มาตรฐานที่ 1 ว่า คุณลักษณะของคนไทย ที่พึงประสงค์ ทั้งในฐานะพลเมืองและพลโลก โดยคนไทยต้องเป็นคนเก่ง คนดี และมีความสุข ตัวบ่งชี้ คือ กำลังกาย กำลังใจที่สมบูรณ์ ความรู้และ ทักษะที่จำเป็นและเพียงพอในการดำรงชีวิต และการพัฒนาสังคม ทักษะ การเรียนรู้และการปรับตัว ทักษะทางสังคม คุณธรรมจิตสาธารณะและ จิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก โดยมุ่งปลูกฝังจิตสำนึกที่ถูก ต้องด้านต่าง ๆให้กับผู้เรียน รวมถึงการรู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและ ของประเทศชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ได้ให้ความสำคัญกับการมีจิต สาธารณะที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม การรู้จักดูแลของส่วนรวม รวมถึง รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของประเทศชาติ โดยให้หลักสูตรแกน กลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด “จิตสาธารณะ” เป็น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน 1 ใน 8 ข้อ ที่สถานศึกษาต้องเน้น จิตสาธารณะ (Public Mind) หมายถึง จิตสำนึกเพื่อส่วนรวม “จิตสาธารณะ” คือ สิ่งที่มิได้เป็นของผู้หนึ่งผู้ใด จิตสาธารณะเป็นความรู้สึก ถึงการเป็นเจ้าของในสิ่งที่เป็นสาธารณะในสิทธิและหน้าที่ที่จะต้องดูแล และ บำรุงรักษาร่วมกัน เช่น การดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม โดยการไม่ทิ้งขยะลง แม่น้ำ การดูแลรักษาสาธารณะสมบัติ เช่น หลอดไฟที่ให้แสงสว่างตามถนน ตลอดจนช่วยกันดูแลรักษาให้ความช่วยเหลือผู้ตกทุกข์ได้ยาก หรือผู้ที่ ร้องขอความช่วยเหลือเท่าที่จะทำได้ ตลอดจนร่วมมือกระทำเพื่อไม่ให้เกิดปัญหา หรือช่วยกันแก้ปัญหา แต่ต้องไม่ขัดกับ กฎหมาย เพื่อรักษาประโยชน์ส่วนรวม การกระทำด้วยจิตสาธารณะ เป็นการกระทำด้วยจิตวิญญาณ ที่มีความรัก ความห่วงใย ความเอื้ออาทรต่อคนอื่นและ สังคมโดยส่วนรวม การมีคุณธรรมจริยธรรม และการไม่กระทำที่เสื่อมเสียหรือเป็นปัญหาต่อสังคม ประเทศชาติ การมีจิตที่คิด สร้างสรรค์ เป็นกุศล และมุ่งทำความดีที่เป็นประโยชน์ต่อส่วนรวม คิดในทางที่ดี ไม่ทำลายเบียดเบียนบุคคล สังคม วัฒนธรรม ประเทศชาติและสิ่งแวดล้อม การกระทำและคำพูดที่ดีมาจากความคิดที่ดี จิตสาธารณะจะเกิดขึ้นได้ต้องสร้างจิตสำนึก สร้างโอกาสให้มีขึ้นในโรงเรียนด้วยโครงการต่าง ๆ ผ่านกระบวน การเรียนการสอน การทำกิจกรรม เป็นประสบการณ์อันมีคุณค่า ซึ่งอยู่บนพื้นฐานของสังคมไทยที่เป็นสังคมแห่งความเมตตา โรงเรียนกับการพัฒนา จิตสาธารณะ ดร.ประพิณ จินตวรรณ