SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  8
Télécharger pour lire hors ligne
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 1
3. สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ
จุดประจุ หมายถึง ประจุไฟฟ้าที่มีขนาดความกว้าง ความยาวน้อยมาก ( เช่นอิเล็กตรอน 1 ตัว )
และปกตินั้นประจุไฟฟ้าใดๆ จะมีแรงทางไฟฟ้าแผ่ ออกมารอบๆ ตัวประจุขนาดหนึ่งเสมอ เราเรียกบริเวณรอบ
ประจุซึ่งมีแรงทางไฟฟ้าแผ่ ออกมานี้ว่าสนามไฟฟ้า ( E ) หากเรานาประจุขนาดเล็กอีกตัวหนึ่งมาวางใน
บริเวณสนามไฟฟ้า ประจุที่นามาวางนั้นจะ ถูกแรงที่แผ่ ออกมา
กระทา ทาให้ประจุนั้นเกิดการเคลื่อนที่ ประจุที่ถูกแรงทาง
ไฟฟ้าทา ให้เคลื่อนที่ นี้เรียกเป็น ประจุทดสอบ (q ) ส่วน
ประจุที่เป็นตัวสร้างสนามไฟฟ้าจะเรียก ประจุต้นเหตุ( Q )
สนามไฟฟ้าเป็นปริมาณเวกเตอร์ เพราะเป็นปริมาณ
ที่มีทิศทาง ทิศของสนามไฟฟ้า กาหนดว่า สาหรับประจุบวก
สนามไฟฟ้ามีทิศออกตัวประจุ สาหรับตัวประจุลบ
สนามไฟฟ้ามีทิศเข้าตัวประจุ ดังแสดงในรูป เส้นของแรงที่
เขียนแทนแรงทางไฟฟ้าที่แผ่ออกมาเรียก เส้นแรงไฟฟ้า
สาหรับขนาดความเข้มสนามไฟฟ้าหาค่าได้จาก
E =
𝑲𝑸
𝑹 𝟐 หรือ E = q F
E คือ ความเข้มสนามไฟฟ้า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
K คือ ค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 )
Q คือ ขนาดของประจุต้นเหตุ ( คูลอมบ์ )
R คือ ระยะห่างจากประจุต้นเหตุ ( เมตร )
q คือ ขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
เตรียมใจกันก่อน
1. บริเวณที่มีแรงกระทำต่อประจุไฟฟ้ำ เรียกว่ำ ………………….…………………………………………….
2. สนำมไฟฟ้ำเป็นปริมำณ……………………………………………………………………………..…………………
3. สนำมไฟฟ้ำมีหน่วยเป็น………………………………………………………………………………………..………
4. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนสนำมไฟฟ้ำคือ………………………..……………………………………………………….
5. เมื่อนำประจุไปวำงไว้ในบริเวณที่มีสนำมไฟฟ้ำผลที่เกิดขึ้น คือ………………………………………….
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ตอนที่ 3
ประจุต้นเหตุ ประจุทดสอบ
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 2
แบบฝึกทักษะ
1. จำกรูป แรง F กระทำต่อประจุทดสอบ +q จะมีค่ำเป็นกี่เท่ำของค่ำแรงที่กระทำต่อประจุทดสอบที่มีค่ำ
เป็น 4 เท่ำของค่ำเดิม
วิธีทำ จำก F = qE
ดังนั้น ณ ตำแหน่งเดิม สนำมไฟฟ้ำ E จะมีค่ำเท่ำเดิม จะได้ขนำดของแรงที่กระทำต่อประจุทดสอบ มีควำมสัมพันธ์ดังนี้
F  q
จะได้
1
2
1
2
q
q
F
F

แทนค่ำ
.................
.................
.....................
F2 
ตอบ F2 = ……………….
2. จงหำสนำมไฟฟ้ำ ณ จุด A ซึ่งอยู่ห่ำงจำกจุดประจุ 0.4 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 10 เซนติเมตร
วิธีทำ จำก 2
r
KQ
E 
แทนค่ำ
 22-
9
0........x1
...................x.........9x10
E 
ตอบ E = ……………….. N/C
3. จุด A และจุด B อยู่ห่ำงจำกจุดประจุ q เป็นระยะ 20 เซนติเมตร และ 50 เซนติเมตร ตำมลำดับ ถ้ำที่จุด A สนำม
ไฟฟ้ำมีค่ำเท่ำกับ 8 โวลต์ต่อเมตร และมีทิศชี้เข้ำหำประจุแล้วสนำมไฟฟ้ำที่จุด B มีค่ำเท่ำไร และมีประจุ q เป็นประจุ
ชนิดใด
วิธีทำ จำก 2
r
KQ
E 
ที่จุด A ……… =
 20.2
KQ
……… ( 1 )
ที่จุด B EB =
 2...................
KQ
……… ( 2 )
+
+Q
+q
+
0.4C A
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 3
( 2 ) / ( 1 ) ,
.....................
EB =
 2...................
KQ
x
 
KQ
0.2 2
ตอบ EB = ……………………. N/C
และ สนำมไฟฟ้ำที่จุด A มีทิศชี้เข้ำ แสดงว่ำ ประจุ q เป็น…………………….
4. สนำมไฟฟ้ำสม่ำเสมอ (E) มีขนำด 104 N/C มีทิศลงตำมแนวดิ่ง มีลูกพิธมวล 0.04 g เคลื่อนที่ขึ้นด้วย
ควำมเร่ง 2 m/s2 ลูกพิธมีประจุชนิดใด และมีขนำดประจุกี่คูลอมบ์
วิธีทำ จำก F

= ma
จะได้ mg - qE = ma
แทนค่ำ (…….x10- 3)(10) – q(…….) = (…….x10- 3)(……..)
q = …………… C
ตอบ ลูกพิธมีประจุ…………. และมีขนำดประจุ…………………….คูลอมบ์
ทดสอบความเข้าใจ
31. จากรูปจงหาว่าสนามไฟฟ้าของประจุ +2 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A ในรูปจะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์
และ มีทิศไปทางซ้ายหรือขวา
1. 1 x 106 N/C ไปทางขวา
2. 2 x 106 N/C ไปทางขวา
3. 1 x 106 N/C ไปทางซ้าย
4. 2 x 106 N/C ไปทางซ้าย
32. จากรูป จงหาว่าสนามไฟฟ้าของประจุ –4 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์ และ
มีทิศขึ้นหรือลง
1. 18 x 106 N/C ทิศขึ้น
2. 36 x 106 N/C ทิศขึ้น v
3. 18 x 106 N/C ทิศลง
4. 36 x 106 N/C ทิศลง
E

mg
qE
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 4
33. จากรูปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนาม ไฟฟ้าลัพธ์ที่จุด X มีขนาดเท่าใด
1. 5 N/C
2. 7 N/C
3. 10 N/C
4. 14 N/C
34. (แนว มช) ประจุบวก q1= +2 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ์ เป็น
ระยะห่าง 6 เมตร สนามไฟฟ้าที่ตาแหน่งกึ่งกลางระหว่าง 2 ประจุนี้ ในหน่วยของนิวตัน/คูลอมบ์ มีค่า
เป็นเท่าใด
1. –2 x103
2. 0
3. 2 x 103
4. 4 x103
35. จากรูปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนามไฟฟ้าลัพธ์ ที่จุด X มีขนาดเท่าใด
1. 5 N/C
2. 7 N/C
3. 10 N/C
4. 14 N/C
36. ที่ตาแหน่ง ก. ข. และ ค. มีประจุเป็น 1.0 x 10–7 –1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ
จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าตาแหน่ง ค. เนื่องจาก ประจุที่ตาแหน่ง ก. และ ข. ( ให้ cos 120o = - 0.5 )
1. 300 N/C
2. 300√2 N/C
3. 900 N/C
4. 900√2 N/C 2
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 5
จุดสะเทิน คือจุดที่มีค่าสนามไฟฟ้าลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์
โดยทั่วไปแล้ว
1. จุดสะเทินจะ เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
2. หากเป็นจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิด ในแนวเส้นตรงที่ลาก
ผ่านประจุทั้งสอง
หากประจุทั้งสองเป็นประจุชนิดเดียวกัน จุดสะเทินจะอยู่
ระหว่างประจุทั้งสอง
หากประจุทั้งสองเป็นประจุต่างชนิดกัน จุดสะเทินจะอยู่
รอบนอกประจุทั้งสอง
3. จุดสะเทินจะเกิดอยู่ใกล้ประจุที่มีขนาดเล็กกว่า
ทดสอบความเข้าใจ
37. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ และ –9 x 10–8 คูลอมบ์ วางห่างกัน 0.5 เมตร ดังรูป จุด P เป็นจุดที่
สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ ระยะ A มีค่ากี่เมตร
1. 0.2
2. 0.4
3. 0.8
4. 1.0
38. จุดประจุ 2 จุด อยู่ห่างกัน 0.5 เมตร จุดประจุหนึ่งมีค่า +4 x 10–8 คูลอมบ์ หากสนาม ไฟฟ้าเป็นศูนย์อยู่
ระหว่างประจุทั้งสอง และห่างจากจุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ เท่ากับ 0.2 เมตร ค่าของอีกจุดประจุหนึ่ง
มีกี่คูลอมบ์
1. 0.9 x 10–8
2. 3 x 10–8
3. 9 x 10–8
4. 30 x 10–8
39. ประจุไฟฟ้าขนาด +9 C ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 0 m และประจุไฟฟ้าที่สอง +4 C ถูกวางไว้ที่
ตาแหน่ง X = 1 m จุดสะเทินจะอยู่ห่างจากประจุ +9 C กี่เมตร
1. 0.2
2. 0.4
3. 0.6
4. 1.0
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 6
40. (แนว มช) วางประจุ +9Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่งจุดกาเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง
X = 1 เมตร Y = 0 เมตร จงหาระยะบนแกน X ที่สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์
1. X = 0.4
2. X = 0.6
3. X = 2
4. X = 3
41. ตำแหน่งที่สนามไฟฟ้ารวมเป็นศูนย์ซึ่งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ
ก. เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น
ข. เกิดอยู่ใกล้ประจุที่มีค่าน้อย
ค. เกิดในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุทั้งสอง
1. ข้อ ก , ข , ค
2. ข้อ ก , ข
3. ข้อ ก , ค
4. ข้อ ข , ค
สาหรับแรงที่สนามไฟฟ้ากระทาต่อประจุทดสอบ จะหาค่าได้จาก
F = q E
เมื่อ F คือ ขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน )
q คือ ขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ )
E คือ ความเข้มสนามไฟฟ้า ( นิวตัน/คูลอมบ์ )
42. กาหนดให้จุด A อยู่ห่างจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ์ เป็นระยะ 3 เมตร
ก. สนามไฟฟ้า ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์
ข. หากนาอิเล็กตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทาต่ออิเล็กตรอนนี้
( กาหนด ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว เท่ากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ )
1. ก. 5 N/C , ข. 4 x10–19 N
2. ก. 5 N/C , ข. 8 x10–19 N
3. ก. 10 N/C , ข. 4 x10–19 N
4. ก. 10 N/C , ข. 8 x10–19 N
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 7
43. วางอิเล็กตรอน 1 ตัว ที่จุด A ซึ่งอยู่ห่างจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ์ เป็นระยะ 1 เมตร จงหาความเร่ง
ในการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้ (ให้ ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน
1 ตัว = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม )
1. 5.80 x 107 m/s2
2. 6.33 x 107 m/s2
3. 5.80 x 1012 m/s2
4. 6.33 x 1012 m/s2
44. สนามไฟฟ้าที่ทาให้โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ เกิดความเร่ง 2 x
102 เมตรต่อวินาที2 มีค่าเท่าไร
1. 2x10–6 N/C
2. 2x10–5 N/C
3. 2x10–4 N/C
4. 2x10–3 N/C
45. ที่จุดห่างจากประจุต้นเหตุ 1.2 เมตร ประจุขนาด 6 x 10–12 คูลอมบ์ ถูกแรงกระทา 6 x 10–10 นิวตัน
จงหาค่าประจุต้นเหตุนี้ในหน่วยคูลอมบ์
1. 1.6 x 10–19
2. 1.6 x 10–8
3. 3.2 x 10–19
4. 3.2 x 10–8
46. ที่จุด ๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้า ปรากฏว่าเกิดแรงกระทาต่ออิเล็กตรอนที่จุดนั้นมีค่า 4.8 x 10–14 นิวตัน
จงหาแรงในหน่วยนิวตันที่กระทาต่อประจุ 9.0 x 10–7 คูลอมบ์ ที่จุดเดียวกันนั้น
1. 2.4 x 10–14
2. 2.7 x 10–14
3. 0.27
4. 2.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 8
ตรวจสอบความเข้าใจ
 ประจุไฟฟ้าขนาด +15 และ –30 หน่วย ประจุวางอยู่ดังรูป ตาแหน่งใดควรเป็นจุดสะเทิน
 ถ้า +Q และ –Q เป็นประจุต้นกาเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เป็นประจุทดสอบ รูปใดแสดงทิศของ
F และ E ไม่ถูกต้อง

Contenu connexe

Tendances

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานjirupi
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงTom Vipguest
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรงwiriya kosit
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์orasa1971
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะJariya Jaiyot
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น Wijitta DevilTeacher
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกลPhanuwat Somvongs
 

Tendances (20)

ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงานใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
ใบงานเรื่องงาน และพลังงาน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
เสียง
เสียงเสียง
เสียง
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียงเอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
เอกสารประกอบการเรียนวิชาคลื่นเสียงแสง เรื่อง เสียง
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
o net-2552
o net-2552o net-2552
o net-2552
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะแบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
แบบทดสอบ บทที่ 1 ปฏิสัมพันธ์ในระบบสุริยะ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 

En vedette

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]Chanunya Chompoowong
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46ติ๊บ' นะ
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 

En vedette (16)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
Physics2 1
Physics2 1Physics2 1
Physics2 1
 
Lesson15
Lesson15Lesson15
Lesson15
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
สรุปเนื้อหาฟิสิกส์ 1 [ครูแดง Physics Plus Astronomy]
 
Key2 1
Key2 1Key2 1
Key2 1
 
Key2 3
Key2 3Key2 3
Key2 3
 
Key2 4
Key2 4Key2 4
Key2 4
 
Key2 2
Key2 2Key2 2
Key2 2
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
เฉลยข้อสอบชีววิทยา โควตา ม.ช. ปี 37 46
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 

Similaire à ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2Wijitta DevilTeacher
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตkapom7
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1thanakit553
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1Chakkrawut Mueangkhon
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์Chakkrawut Mueangkhon
 

Similaire à ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3 (20)

Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Electrostatic
ElectrostaticElectrostatic
Electrostatic
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 2
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
P15
P15P15
P15
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
P16
P16P16
P16
 
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1เรื่องที่ 16  แม่เหล็กไฟฟ้า 1
เรื่องที่ 16 แม่เหล็กไฟฟ้า 1
 
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิตแรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
แรงไฟฟ้าและสนามไฟฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์กฎของคูลอมป์
กฎของคูลอมป์
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 

Plus de Wijitta DevilTeacher

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่Wijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด AWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด CWijitta DevilTeacher
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่Wijitta DevilTeacher
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่นWijitta DevilTeacher
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกลWijitta DevilTeacher
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุWijitta DevilTeacher
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุนWijitta DevilTeacher
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุนWijitta DevilTeacher
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุมWijitta DevilTeacher
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชนWijitta DevilTeacher
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดลWijitta DevilTeacher
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัมWijitta DevilTeacher
 

Plus de Wijitta DevilTeacher (20)

ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่ตารางธาตุใหม่
ตารางธาตุใหม่
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Aการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด A
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Cการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด C
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
Physics atom part 5
Physics atom part 5Physics atom part 5
Physics atom part 5
 
Physics atom part 4
Physics atom part 4Physics atom part 4
Physics atom part 4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Physics atom part 2
Physics atom part 2Physics atom part 2
Physics atom part 2
 
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชนแนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
แนวข้อสอบโมเมนตัมและการชน
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
14แผน เรื่อง สภาพยืดหยุ่น
 
13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล13แผน เรื่อง สมดุลกล
13แผน เรื่อง สมดุลกล
 
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
12แผน เรื่อง การแกว่งของวัตถุ
 
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน11แผน เรื่อง งานของการหมุน
11แผน เรื่อง งานของการหมุน
 
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
10แผน เรื่อง พลังงานจลน์ของการหมุน
 
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
09แผน เรื่อง ทอร์กกับการเคลื่อนที่แบบหมุน
 
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
08แผน เรื่อง การหมุน ความเร็วเชิงมุม และความเร่งเชิงมุม
 
07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน07แผน เรื่อง การชน
07แผน เรื่อง การชน
 
06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล06แผน เรื่อง การดล
06แผน เรื่อง การดล
 
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม05แผน เรื่อง โมเมนตัม
05แผน เรื่อง โมเมนตัม
 

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 1 3. สนามไฟฟ้ารอบจุดประจุ จุดประจุ หมายถึง ประจุไฟฟ้าที่มีขนาดความกว้าง ความยาวน้อยมาก ( เช่นอิเล็กตรอน 1 ตัว ) และปกตินั้นประจุไฟฟ้าใดๆ จะมีแรงทางไฟฟ้าแผ่ ออกมารอบๆ ตัวประจุขนาดหนึ่งเสมอ เราเรียกบริเวณรอบ ประจุซึ่งมีแรงทางไฟฟ้าแผ่ ออกมานี้ว่าสนามไฟฟ้า ( E ) หากเรานาประจุขนาดเล็กอีกตัวหนึ่งมาวางใน บริเวณสนามไฟฟ้า ประจุที่นามาวางนั้นจะ ถูกแรงที่แผ่ ออกมา กระทา ทาให้ประจุนั้นเกิดการเคลื่อนที่ ประจุที่ถูกแรงทาง ไฟฟ้าทา ให้เคลื่อนที่ นี้เรียกเป็น ประจุทดสอบ (q ) ส่วน ประจุที่เป็นตัวสร้างสนามไฟฟ้าจะเรียก ประจุต้นเหตุ( Q ) สนามไฟฟ้าเป็นปริมาณเวกเตอร์ เพราะเป็นปริมาณ ที่มีทิศทาง ทิศของสนามไฟฟ้า กาหนดว่า สาหรับประจุบวก สนามไฟฟ้ามีทิศออกตัวประจุ สาหรับตัวประจุลบ สนามไฟฟ้ามีทิศเข้าตัวประจุ ดังแสดงในรูป เส้นของแรงที่ เขียนแทนแรงทางไฟฟ้าที่แผ่ออกมาเรียก เส้นแรงไฟฟ้า สาหรับขนาดความเข้มสนามไฟฟ้าหาค่าได้จาก E = 𝑲𝑸 𝑹 𝟐 หรือ E = q F E คือ ความเข้มสนามไฟฟ้า ( นิวตัน/คูลอมบ์ ) K คือ ค่าคงที่ของคูลอมบ์ มีค่าเท่ากับ 9x109 ( นิวตัน . เมตร2 / คูลอมบ์2 ) Q คือ ขนาดของประจุต้นเหตุ ( คูลอมบ์ ) R คือ ระยะห่างจากประจุต้นเหตุ ( เมตร ) q คือ ขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ ) เตรียมใจกันก่อน 1. บริเวณที่มีแรงกระทำต่อประจุไฟฟ้ำ เรียกว่ำ ………………….……………………………………………. 2. สนำมไฟฟ้ำเป็นปริมำณ……………………………………………………………………………..………………… 3. สนำมไฟฟ้ำมีหน่วยเป็น………………………………………………………………………………………..……… 4. สัญลักษณ์ที่ใช้แทนสนำมไฟฟ้ำคือ………………………..………………………………………………………. 5. เมื่อนำประจุไปวำงไว้ในบริเวณที่มีสนำมไฟฟ้ำผลที่เกิดขึ้น คือ…………………………………………. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต ตอนที่ 3 ประจุต้นเหตุ ประจุทดสอบ
  • 2. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 2 แบบฝึกทักษะ 1. จำกรูป แรง F กระทำต่อประจุทดสอบ +q จะมีค่ำเป็นกี่เท่ำของค่ำแรงที่กระทำต่อประจุทดสอบที่มีค่ำ เป็น 4 เท่ำของค่ำเดิม วิธีทำ จำก F = qE ดังนั้น ณ ตำแหน่งเดิม สนำมไฟฟ้ำ E จะมีค่ำเท่ำเดิม จะได้ขนำดของแรงที่กระทำต่อประจุทดสอบ มีควำมสัมพันธ์ดังนี้ F  q จะได้ 1 2 1 2 q q F F  แทนค่ำ ................. ................. ..................... F2  ตอบ F2 = ………………. 2. จงหำสนำมไฟฟ้ำ ณ จุด A ซึ่งอยู่ห่ำงจำกจุดประจุ 0.4 ไมโครคูลอมบ์ เป็นระยะ 10 เซนติเมตร วิธีทำ จำก 2 r KQ E  แทนค่ำ  22- 9 0........x1 ...................x.........9x10 E  ตอบ E = ……………….. N/C 3. จุด A และจุด B อยู่ห่ำงจำกจุดประจุ q เป็นระยะ 20 เซนติเมตร และ 50 เซนติเมตร ตำมลำดับ ถ้ำที่จุด A สนำม ไฟฟ้ำมีค่ำเท่ำกับ 8 โวลต์ต่อเมตร และมีทิศชี้เข้ำหำประจุแล้วสนำมไฟฟ้ำที่จุด B มีค่ำเท่ำไร และมีประจุ q เป็นประจุ ชนิดใด วิธีทำ จำก 2 r KQ E  ที่จุด A ……… =  20.2 KQ ……… ( 1 ) ที่จุด B EB =  2................... KQ ……… ( 2 ) + +Q +q + 0.4C A
  • 3. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 3 ( 2 ) / ( 1 ) , ..................... EB =  2................... KQ x   KQ 0.2 2 ตอบ EB = ……………………. N/C และ สนำมไฟฟ้ำที่จุด A มีทิศชี้เข้ำ แสดงว่ำ ประจุ q เป็น……………………. 4. สนำมไฟฟ้ำสม่ำเสมอ (E) มีขนำด 104 N/C มีทิศลงตำมแนวดิ่ง มีลูกพิธมวล 0.04 g เคลื่อนที่ขึ้นด้วย ควำมเร่ง 2 m/s2 ลูกพิธมีประจุชนิดใด และมีขนำดประจุกี่คูลอมบ์ วิธีทำ จำก F  = ma จะได้ mg - qE = ma แทนค่ำ (…….x10- 3)(10) – q(…….) = (…….x10- 3)(……..) q = …………… C ตอบ ลูกพิธมีประจุ…………. และมีขนำดประจุ…………………….คูลอมบ์ ทดสอบความเข้าใจ 31. จากรูปจงหาว่าสนามไฟฟ้าของประจุ +2 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A ในรูปจะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์ และ มีทิศไปทางซ้ายหรือขวา 1. 1 x 106 N/C ไปทางขวา 2. 2 x 106 N/C ไปทางขวา 3. 1 x 106 N/C ไปทางซ้าย 4. 2 x 106 N/C ไปทางซ้าย 32. จากรูป จงหาว่าสนามไฟฟ้าของประจุ –4 x 10–3 คูลอมบ์ ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์ และ มีทิศขึ้นหรือลง 1. 18 x 106 N/C ทิศขึ้น 2. 36 x 106 N/C ทิศขึ้น v 3. 18 x 106 N/C ทิศลง 4. 36 x 106 N/C ทิศลง E  mg qE
  • 4. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 4 33. จากรูปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนาม ไฟฟ้าลัพธ์ที่จุด X มีขนาดเท่าใด 1. 5 N/C 2. 7 N/C 3. 10 N/C 4. 14 N/C 34. (แนว มช) ประจุบวก q1= +2 ไมโครคูลอมบ์ วางห่างจาก ประจุลบ q2 = –2 ไมโครคูลอมบ์ เป็น ระยะห่าง 6 เมตร สนามไฟฟ้าที่ตาแหน่งกึ่งกลางระหว่าง 2 ประจุนี้ ในหน่วยของนิวตัน/คูลอมบ์ มีค่า เป็นเท่าใด 1. –2 x103 2. 0 3. 2 x 103 4. 4 x103 35. จากรูปที่กาหนดให้ จงหาว่าสนามไฟฟ้าลัพธ์ ที่จุด X มีขนาดเท่าใด 1. 5 N/C 2. 7 N/C 3. 10 N/C 4. 14 N/C 36. ที่ตาแหน่ง ก. ข. และ ค. มีประจุเป็น 1.0 x 10–7 –1.0 x 10–7 และ –10 x 10–7 คูลอมบ์ ตามลาดับ จงหาขนาดของสนามไฟฟ้าตาแหน่ง ค. เนื่องจาก ประจุที่ตาแหน่ง ก. และ ข. ( ให้ cos 120o = - 0.5 ) 1. 300 N/C 2. 300√2 N/C 3. 900 N/C 4. 900√2 N/C 2
  • 5. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 5 จุดสะเทิน คือจุดที่มีค่าสนามไฟฟ้าลัพธ์มีค่าเป็นศูนย์ โดยทั่วไปแล้ว 1. จุดสะเทินจะ เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น 2. หากเป็นจุดสะเทินของประจุ 2 ตัว จะเกิด ในแนวเส้นตรงที่ลาก ผ่านประจุทั้งสอง หากประจุทั้งสองเป็นประจุชนิดเดียวกัน จุดสะเทินจะอยู่ ระหว่างประจุทั้งสอง หากประจุทั้งสองเป็นประจุต่างชนิดกัน จุดสะเทินจะอยู่ รอบนอกประจุทั้งสอง 3. จุดสะเทินจะเกิดอยู่ใกล้ประจุที่มีขนาดเล็กกว่า ทดสอบความเข้าใจ 37. จุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ และ –9 x 10–8 คูลอมบ์ วางห่างกัน 0.5 เมตร ดังรูป จุด P เป็นจุดที่ สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ ระยะ A มีค่ากี่เมตร 1. 0.2 2. 0.4 3. 0.8 4. 1.0 38. จุดประจุ 2 จุด อยู่ห่างกัน 0.5 เมตร จุดประจุหนึ่งมีค่า +4 x 10–8 คูลอมบ์ หากสนาม ไฟฟ้าเป็นศูนย์อยู่ ระหว่างประจุทั้งสอง และห่างจากจุดประจุ +4 x 10–8 คูลอมบ์ เท่ากับ 0.2 เมตร ค่าของอีกจุดประจุหนึ่ง มีกี่คูลอมบ์ 1. 0.9 x 10–8 2. 3 x 10–8 3. 9 x 10–8 4. 30 x 10–8 39. ประจุไฟฟ้าขนาด +9 C ถูกวางไว้ที่ตาแหน่ง X = 0 m และประจุไฟฟ้าที่สอง +4 C ถูกวางไว้ที่ ตาแหน่ง X = 1 m จุดสะเทินจะอยู่ห่างจากประจุ +9 C กี่เมตร 1. 0.2 2. 0.4 3. 0.6 4. 1.0
  • 6. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 6 40. (แนว มช) วางประจุ +9Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่งจุดกาเนิด (0 , 0) และจุดประจุ –4Q คูลอมบ์ ที่ตาแหน่ง X = 1 เมตร Y = 0 เมตร จงหาระยะบนแกน X ที่สนามไฟฟ้าเป็นศูนย์ 1. X = 0.4 2. X = 0.6 3. X = 2 4. X = 3 41. ตำแหน่งที่สนามไฟฟ้ารวมเป็นศูนย์ซึ่งสนามนั้นเกิดจากประจุ 2 ประจุ ก. เกิดขึ้นได้เพียงจุดเดียวเท่านั้น ข. เกิดอยู่ใกล้ประจุที่มีค่าน้อย ค. เกิดในแนวเส้นตรงที่ลากผ่านประจุทั้งสอง 1. ข้อ ก , ข , ค 2. ข้อ ก , ข 3. ข้อ ก , ค 4. ข้อ ข , ค สาหรับแรงที่สนามไฟฟ้ากระทาต่อประจุทดสอบ จะหาค่าได้จาก F = q E เมื่อ F คือ ขนาดแรงที่กระทาต่อประจุทดสอบ ( นิวตัน ) q คือ ขนาดของประจุทดสอบ ( คูลอมบ์ ) E คือ ความเข้มสนามไฟฟ้า ( นิวตัน/คูลอมบ์ ) 42. กาหนดให้จุด A อยู่ห่างจากประจุ 5 x 10–9 คูลอมบ์ เป็นระยะ 3 เมตร ก. สนามไฟฟ้า ณ จุด A จะมีความเข้มกี่นิวตัน/คูลอมบ์ ข. หากนาอิเล็กตรอน 1 ตัว ไปวางตรงจุด A จงหาแรงกระทาต่ออิเล็กตรอนนี้ ( กาหนด ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว เท่ากับ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ ) 1. ก. 5 N/C , ข. 4 x10–19 N 2. ก. 5 N/C , ข. 8 x10–19 N 3. ก. 10 N/C , ข. 4 x10–19 N 4. ก. 10 N/C , ข. 8 x10–19 N
  • 7. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 7 43. วางอิเล็กตรอน 1 ตัว ที่จุด A ซึ่งอยู่ห่างจากประจุ 4 x 10–9 คูลอมบ์ เป็นระยะ 1 เมตร จงหาความเร่ง ในการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้ (ให้ ประจุอิเล็กตรอน 1 ตัว = 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ , มวลอิเล็กตรอน 1 ตัว = 9.1 x 10–31 กิโลกรัม ) 1. 5.80 x 107 m/s2 2. 6.33 x 107 m/s2 3. 5.80 x 1012 m/s2 4. 6.33 x 1012 m/s2 44. สนามไฟฟ้าที่ทาให้โปรตอนมวล 1.67 x 10–27 กิโลกรัม มีประจุ 1.6 x 10–19 คูลอมบ์ เกิดความเร่ง 2 x 102 เมตรต่อวินาที2 มีค่าเท่าไร 1. 2x10–6 N/C 2. 2x10–5 N/C 3. 2x10–4 N/C 4. 2x10–3 N/C 45. ที่จุดห่างจากประจุต้นเหตุ 1.2 เมตร ประจุขนาด 6 x 10–12 คูลอมบ์ ถูกแรงกระทา 6 x 10–10 นิวตัน จงหาค่าประจุต้นเหตุนี้ในหน่วยคูลอมบ์ 1. 1.6 x 10–19 2. 1.6 x 10–8 3. 3.2 x 10–19 4. 3.2 x 10–8 46. ที่จุด ๆ หนึ่งในสนามไฟฟ้า ปรากฏว่าเกิดแรงกระทาต่ออิเล็กตรอนที่จุดนั้นมีค่า 4.8 x 10–14 นิวตัน จงหาแรงในหน่วยนิวตันที่กระทาต่อประจุ 9.0 x 10–7 คูลอมบ์ ที่จุดเดียวกันนั้น 1. 2.4 x 10–14 2. 2.7 x 10–14 3. 0.27 4. 2.4
  • 8. เอกสารประกอบการเรียน วิชาฟิสิกส์ 5 เรื่อง ไฟฟ้าสถิต หน้า 8 ตรวจสอบความเข้าใจ  ประจุไฟฟ้าขนาด +15 และ –30 หน่วย ประจุวางอยู่ดังรูป ตาแหน่งใดควรเป็นจุดสะเทิน  ถ้า +Q และ –Q เป็นประจุต้นกาเนิดสนามโดยที่ +q และ –q เป็นประจุทดสอบ รูปใดแสดงทิศของ F และ E ไม่ถูกต้อง