SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  21
Télécharger pour lire hors ligne
การขับถ่าย(Excretion)

            ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
    โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
การก้าจัดของเสีย

ของเสีย (waste) หมายถึง สารที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม
  (Metabolism) ที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ของเสียที่เกิดขึ้น
  ได้แก่ น้้า คาร์บอนไดออกไซด์ และยูเรีย นอกจากนี้สารที่มี
  ประโยชน์แต่มีปริมาณมากเกินไปร่างกายก็จะก้าจัดออก
เมแทบอลิซึม (Metabolism) หมายถึง กระบวนการหมุนเวียน
   เปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตการก้าจัด
  ของเสียในคนเกิดขึ้นได้หลายทาง เช่น ทางไต ทางผิวหนัง ทางปอด
  และทางล้าไส้ใหญ่

                                                 ฉวีวรรณ นาคบุตร    #
คอนแทรกไทล์แวคิวโอล (Contractile Vacuole) ของโปรโตซัว
คอนแทรกไทล์แวคิวโอล ท้าหน้าที่ก้าจัดของเสียที่เป็นของเหลวจาก
เซลล์ โดยดูดของเหลวที่เป็นของเสียมาสะสมเอาไว้ และเมื่อมี
ปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยไปจนถึงขีดหนึ่ง จะบีบตัวขับของเหลวใน
แวคิวโอลออกสู่ภายนอกเซลล์ ดังนั้น คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล จึง
ท้าหน้าที่ก้าจัดน้้าที่มีมากเกินต้องการออกนอกร่างกาย และบางส่วน
ของของเสียทีเ่ กิดจากเมแทบอลิซึมของโปรตีนก็อาจขับออกทางนี้ได้
ด้วย
                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร   #
เฟลมเซลล์(Flame cell)
หนอนตัวแบน (Platyhelminthis) ประกอบด้วยท่อปลายตัน
สานกันเป็นตาข่าย แตกแขนงอยู่ทั่วร่างกาย ปลายท่อตันหุ้ม
ด้วยเซลล์ เรียกว่า flame bulb ซึ่งมี cilia คอยท้าหน้าที่โบก
พัดของเหลวไปตามท่อรับของเหลว แล้วออกนอกร่างกายทาง
ช่องเปิดที่ผนังล้าตัว(nephridiopore) ในรูปของปัสสาวะ
ปัสสาวะของหนอนตัวแบนที่อาศัยในน้้าจืดจะเจือจางมาก


                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร    #
ภาพแสดง
 ระบบขับถ่ายของพลานาเรีย




ฉวีวรรณ นาคบุตร            #
เนฟริเดียม (Nephridium)
ในพวกไส้เดือนดิน และพวก annelids
ไส้เดือนดิน ล้าตัวเป็นปล้อง มีอวัยวะขับถ่ายที่เรียกว่า เนฟริเดียม
(Nephridium) อยู่ทุกปล้อง ประกอบด้วยท่อปลายเปิด ท้าหน้าที่รับ
ของเหลวในร่างกาย เรียกว่า เนโฟรสโตม (nephrostome) มี cilia คอย
โบกพัดเอาของเหลวภายในช่องล้าตัวเข้าสู่ภายในท่อ ไปยังกระเพาะปัสสาวะ
(bladder) แล้วออกจากร่างกายทางช่อง nephridiopore
เนฟริเดียม ท้าหน้าที่ขับถ่ายของเสียพวกแอมโมเนียและยูเรีย
น้้าและแร่ธาตุที่มีประโยชน์จะถูกดูดกลับโดยผนังท่อเนฟริเดียม
เข้าสู่ระบบเลือด
                                                                      #
                                                              ฉวีวรรณ นาคบุตร
ระบบเนฟริเดียมของไส้เดือนดิน




การขับของเหลวออกสู่
ภายนอกร่างกายส่วนใหญ่
ขึ้นอยู่กับการบีบตัวของ
กล้ามเนื้อรอบผนังล้าตัว
ในขณะที่ไส้เดือนเคลื่อนที่
                                           ฉวีวรรณ นาคบุตร   #
มัลพิเกียน ทิวบูล (Malpighian tubules)

แมลงและสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโปดา (Artropoda) ส่วนมากมีวิวัฒนาการ
ระบบขับถ่ายขึ้นมาใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับระบบเส้นเลือดที่เป็นวงจรเปิดโดยมี
อวัยวะขับถ่ายที่เรียกว่า "มัลพิเกียน ทิวบูล" (malpighian tubule) เป็น
หลอดเล็กยาวยื่นออกมาจากบริเวณระหว่างล้าไส้ส่วนกลางและล้าไส้
ส่วนท้าย หลอดเหล่านี้มีจ้านวนแตกต่างกันในสัตว์แต่ละชนิดแต่ละหลอดเปิด
มีปลายซึ่งอยู่ในช่องว่างของล้าตัวท้าหน้าที่เป็นทางผ่านของเลือด


                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร    #
ปลายหลอด มัลพิเกียนนีสามารถดูดของเสียจากเลือดซึมผ่านเข้าไป
                                ้
ได้ ขณะที่ของเสียดูดผ่านเข้ามา เกลือแร่ต่างๆและน้้าบางส่วนอาจถูกดูด
กลับออกมาสู่ชองว่างของล้าตัวได้อีก แต่กรดยูริกซึ่งเป็นของเสียจาก
                 ่
เมแทบอลิซึมของโปรตีน และละลายน้้าได้ยาก จะตกตะกอนผ่านลงสู่
ล้าไส้ส่วนท้ายและไส้ตรง ที่บริเวณไส้ตรงนี้มีกลุมเซลล์ที่มี
                                                  ่
ประสิทธิภาพในการดูดน้้ากลับคืนสูร่างกายได้อย่างดียิ่ง กลุ่มเซลล์นี้
                                      ่
จะดูดน้้าที่เหลือเข้าสู่ร่างกายเกือบหมดสิ้น ท้าให้ทั้งปัสสาวะและอุจจาระ
ของแมลงที่ขับออกมามีลักษณะเป็นก้อนแข็ง


                                                  ฉวีวรรณ นาคบุตร         #
อวัยวะขับถ่ายของแมลง
                                         #
ฉวีวรรณ นาคบุตร
การควบคุมระดับน้าและเกลือแร่ ( Osmoregulation )
                 ้

 สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล มีความเข้มข้นของของเหลวใน
ร่างกาย หรือ osmolarity เท่ากับน้้าทะเล (isoosmotic) จึงไม่มี
ปัญหาในการสูญเสียน้้าหรือเกลือแร่ให้กับสิ่งแวดล้อม

 สัตว์ที่ไม่มี isoosmotic กับสิ่งแวดล้อม เช่นปลาทะเล และปลา
น้้าจืด จึงต้องมี osmoregulation คือ การควบคุมระดับน้้า และ
เกลือแร่ ของร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุล(Homeostasis)

                                          ฉวีวรรณ นาคบุตร     #
ปลาทะเล ของเหลวในร่างกายเป็น hypoosmotic ต่อน้้าทะเล
   ดังนั้นโอกาสที่จะเสียน้้าออก และเกลือแร่เข้าร่างกายได้ จึงมีวิธีการควบคุม
   ระดับน้้าและเกลือแร่ ดังนี้ คือ ดื่มน้้าทะเล ซึ่งมีทั้งน้้าและเกลือ
   ขับเกลือออกทางเหงือก โดยมีเซลล์พิเศษดึงเอา Cl- ออก และ Na+ ก็จะ
                                   2+        2+
   ออกตาม ขณะที่ไตขับพวก Ca , Mg และ SO4 และขับน้้าออก
   เล็กน้อย เกลือแร่ที่เข้าไปในร่างกาย จะไม่มการดูดซึม ไตจะขับปัสสาวะที่มี
                                                ี
   ความเข้มข้นสูง




                                                                           #
ฉวีวรรณ นาคบุตร
ปลาน้้าจืด ของเหลวในร่างกายเป็น hyperosmotic กับน้้าจืด
ดังนั้นโอกาสที่น้าจะเข้าไป และเกลือแร่เออกจากร่างกายได้ จึงมีวิธีการควบคุม
ระดับน้้าและเกลือแร่ ดังนี้ คือ ดื่มน้้าซึ่งมีทั้งน้้าและเกลือเข้าไป
                                               -                +
ใช้เซลล์ที่เหงือก โดยมีเซลล์พิเศษดึงเอา Cl เข้า และ Na ก็จะเข้าตามไป
ไตจะขับปัสสาวะที่เจือจาง
                                                                       #
                                                   ฉวีวรรณ นาคบุตร
สัตว์ปก นกหลายชนิดจะมีขนปกคลุม เพื่อ
                                           ี
                                     ป้องกันการสูญเสียน้้าเนื่องจากความร้อน
                                     และยังมีระบบการรักษาดุลยภาพของน้้า
                                     ด้วยการขับออกในรูปปัสสาวะ

นกทะเลที่กินพืชหรือสัตว์ทะเลเป็นอาหาร จะมีอวัยวะที่ท้าหน้าที่ก้าจัดแร่ธาตุ
หรือเกลือส่วนเกินออกไปจากร่างกาย เรียกว่า ต่อมเกลือ (salt gland)
ซึ่งอยู่บริเวณหัวและจมูก โดยแร่ธาตุและเกลือจะถูกก้าจัดออกในรูปของน้้าเกลือ
วิธีการรักษาสมดุลเช่นนี้ จึงท้าให้นกทะเลต่าง ๆ สามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้
แม้จะบริโภคอาหารที่มีแร่ธาตุและเกลือสูงเป็นประจ้า
                                                                        #
                                                     ฉวีวรรณ นาคบุตร
สรุป.......

              ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
สิ่งมีชวิต
         ี      อวัยวะขับถ่าย                       กระบวนการขับถ่าย
ฟองน้้า/ไฮดรา       ไม่มี                             การแพร่ออกจากเซลล์
                                ใช้ซิเลียในเฟลมเซลล์โบกพัด ท้าให้เกิดแรงดึงน้้าพร้อมของเสีย
 พลานาเรีย       เฟลมเซลล์      ที่ละลายอยู่ในน้้าเข้าสู่เฟลมเซลล์ แล้วล้าเลียงเข้าสู่ท่อรับ
                                ของเหลว เพื่อไปก้าจัดออกที่ช่องเปิดที่ผนังล้าตัว
                                ใช้เนโฟรสโตมที่เป็นปลายเปิดของเนฟริเดียมรับของเสียที่
                                ละลายอยู่ในน้้าแล้วล้าเลียงออกสู่ช่องเปิดที่ผนังล้าตัว น้าและ
                                                                                           ้
 ไส้เดือนดิน     เนฟริเดียม
                                แร่ธาตุบางชนิดทีมประโยชน์จะถูกดูดกลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียน
                                                  ่ี
                                เลือด
                                 ที่ปลายท่อของมัลพิเกียนทิวบูลจะรับของเสียจากของเหลว
                                 ภายในช่องของล้าตัว และล้าเลียงไปยังทางเดินอาหารซึ่งจะมี
                 มัลพิเกียน
    แมลง                         การดูดน้้าและสารที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่หลอดเลือดจะเหลือ
                 ทิวบูล
                                 ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนที่มีลักษณะเป็นผลึกคือ
                                 กรดยูริกจะถูกขับออกพร้อมกากอาหาร
                                                                                      #
ตอบค้าถามกันหน่อย
        - เพราะเหตุใด ฟองน้้าและไฮดราจึงด้ารงชีวิตอยู่ได้โดยไม่มี
        โครงสร้างพิเศษที่ใช้ในการขับถ่าย

            เพราะเซลล์ทุกเซลล์ของฟองน้้าและไฮดราสามารถสัมผัสกับน้้า
  ตอบ
            จึงมีการขับถ่ายของเสียพวกแอมโมเนียออกสู่น้าได้โดยตรง
      สูตรโมเลกุลของแอมโมเนีย ยูเรีย และกรดยูริกเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
         สารทั้ง 3 ชนิด ประกอบด้วยธาตุ N และ H เหมือนกัน แต่
ตอบ     แอมโมเนียจะมีเฉพาะ N และ H มีสูตรโมเลกุล NH3 ส่วนยูเรียและ
        กรดยูริกจะมีธาตุ C และ O เป็นองค์ประกอบด้วย ยูเรียมีสูตร
        โมเลกุลเป็น NH2CONH2 กรดยูริกมีสูตรโมเลกุลเป็น C5O3N4H4
                                                                      #
นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใดสัตว์ที่กินสัตว์เป็นอาหารจึง
      มีปริมาณของเสียที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบในน้้าปัสสาวะสูง
      กว่าสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร

        เมื่อสัตว์กินสัตว์เป็นอาหาร โปรตีนในเนื้อสัตว์จะถูกย่อยจนได้
ตอบ
        สารทีมีโมเลกุลขนาดเล็กคือกรดอะมิโน เมื่อสัตว์น้ากรดอะมิโน
               ่
        เหล่านี้ไปใช้ในการสลายเพื่อให้ได้พลังงานจะได้ยูเรียซึ่งแตกต่าง
        ไปจากสัตว์ที่กนพืชเป็นอาหาร เพราะอาหารของสัตว์กินพืช
                        ิ
        ส่วนใหญ่เป้นพวกคาร์โบไฮเดรตและมีโปรตีนน้อยกว่าอาหาร
        ของสัตว์กินสัตว์ ซึ่งสลายแล้วได้ยูเรียเพียงเล็กน้อย
                                                                   #
- การที่สตว์จ้าพวกแมลงและสัตว์เลื้อยคลานขับถ่ายของเสีย
                     ั
        ออกมาในรูปกรดยูริก มีความ สัมพันธ์กับการด้ารงชีวิตอย่างไร


ตอบ การขับถ่ายของเสียในรูปกรดยูริกเป็นการช่วยสงวนน้้าไว้ในร่างกาย
    เพราะสัตว์เหล่านี้ได้รับน้้าส่วนใหญ่จากอาหารเท่านั้น ไม่ค่อยได้
    ดื่มน้้าและมีโอกาสสูญเสียน้้าได้ง่าย



                                                                #
นักเรียนคิดว่า อะไรเป็นสาเหตุส้าคัญที่ท้าให้สัตว์มีกระดูกสันหลังที่
      อาศัยอยู่ในน้้าและบนบก มีการขับถ่ายของเสียในรูปที่แตกต่างกัน

        สภาพแวดล้อมที่สัตว์อาศัยอยู่ เช่น ในน้้า หรือบนบก มีผลต่อ
        การได้รับน้้าและการสูญเสียน้้าของร่างกาย ท้าให้สัตว์ต้องขับถ่ายของ
ตอบ     เสียในรูปที่ต่างกัน เช่น ปลาจะขับถ่ายของเสียในรูปของแอมโมเนีย
        ซึ่งเป็นสารพิษส้าหรับร่างกายแต่ละลายน้้าได้ดี ส่วนนก แมลง
        และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดจ้าเป็นต้องสงวนน้าไว้ใช้ในร่างกายจึงต้อง
                                                    ้
        มีการดูดน้้าจากสารละลายที่มีของเสียกลับไปใช้ในร่างกาย ของเสียที่
        เป็นสารประกอบไนโตรเจนจึงอยู่ในรูปผลึกของกรดยูริก

                                                                         #
สวัสดี.......


ขอบคุณ แม่แบบ powerpoint จาก www.presentationmagazine.com
                          ครูฉวีวรรณ นาคบุตร

Contenu connexe

Tendances

การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5Wichai Likitponrak
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายAomiko Wipaporn
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากkanyamadcharoen
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร Pinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจWan Ngamwongwan
 

Tendances (20)

ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
สอบกลางภาคชีวะ51 2m-5
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของรากเล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
เล่มที่ 2 โครงสร้างของราก
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร   บทที่ 4  ระบบย่อยอาหาร
บทที่ 4 ระบบย่อยอาหาร
 
Kingdom Animalia
Kingdom AnimaliaKingdom Animalia
Kingdom Animalia
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 

En vedette

การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนWan Ngamwongwan
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1Wan Ngamwongwan
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน Wan Ngamwongwan
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลWan Ngamwongwan
 
สไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่ายสไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่ายThanyamon Chat.
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)konfunglum
 
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือjoongka3332
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2Sukanya Nak-on
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนThepsatri Rajabhat University
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดjoongka3332
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊สWan Ngamwongwan
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3krupornpana55
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซมWan Ngamwongwan
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 

En vedette (20)

การขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคนการขับถ่ายของคน
การขับถ่ายของคน
 
หัวใจคน
หัวใจคนหัวใจคน
หัวใจคน
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1ระบบหายใจ1
ระบบหายใจ1
 
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการแลกเปลี่ยนแก๊สของคน
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีลปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
ปัจจัยที่ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแอลลีล
 
สไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่ายสไลด์ระบบขับถ่าย
สไลด์ระบบขับถ่าย
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือบทความการเรียนแบบร่วมมือ
บทความการเรียนแบบร่วมมือ
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชนบทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
บทที่ 6 โมเมนตัมและการชน
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
3การแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
ใบเก็บคะแนนปรับระหว่างเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ ว 23102_ชั้นมัธยมศึกษาปีที่_3
 
โครโมโซม
โครโมโซมโครโมโซม
โครโมโซม
 
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการแนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
แนวคิดเกี่ยวกับวิวัฒนาการ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 

Similaire à ระบบขับถ่าย

ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6arkhom260103
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายkrubua
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasissupreechafkk
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชAnana Anana
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจkrunidhswk
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์kanitnun
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์Peangjit Chamnan
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายWichai Likitponrak
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration Tanchanok Pps
 

Similaire à ระบบขับถ่าย (20)

ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6ระบบต่างๆในร่างกายป.6
ระบบต่างๆในร่างกายป.6
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่ายระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
Protista5555
Protista5555Protista5555
Protista5555
 
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasisการรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต - Homeostasis
 
เซลล์
เซลล์เซลล์
เซลล์
 
การลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืชการลำเลียงอาหารของพืช
การลำเลียงอาหารของพืช
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจอาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
อาณาจักรมอเนอรา โปรติสตา ฟังไจ
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์
 
การดำรงชีพ
การดำรงชีพการดำรงชีพ
การดำรงชีพ
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
404766008
404766008404766008
404766008
 
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์การลำเลียงสารผ่านเซลล์
การลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่ายติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
ติวสอบเตรียมระบบหายใจและขับถ่าย
 
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
sci access 14th : presentation digestive system & cellular respiration
 

Plus de Wan Ngamwongwan

หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดWan Ngamwongwan
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดWan Ngamwongwan
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5Wan Ngamwongwan
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----Wan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1Wan Ngamwongwan
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นWan Ngamwongwan
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจWan Ngamwongwan
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่Wan Ngamwongwan
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3Wan Ngamwongwan
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)Wan Ngamwongwan
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกWan Ngamwongwan
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)Wan Ngamwongwan
 

Plus de Wan Ngamwongwan (20)

2 genetic material
2 genetic material2 genetic material
2 genetic material
 
1chrmosome
1chrmosome1chrmosome
1chrmosome
 
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาดหน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
หน่วยที่2สิ่งมีชีวิตและการดำรงชีวิตบริเวณชายหาด
 
หน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาดหน่วยที่1ชายหาด
หน่วยที่1ชายหาด
 
1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร3พันธุศาสตร์ประชากร
3พันธุศาสตร์ประชากร
 
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5 dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
dnaกับลักษณะทางพันธุกรรมม.5
 
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
สราวุฒิ-รณรงค์เลิกบุหรี่
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
----งานหลัก-----
 ----งานหลัก----- ----งานหลัก-----
----งานหลัก-----
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1รณรงค์งดสูบบุหรี่1
รณรงค์งดสูบบุหรี่1
 
หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่หยุดสูบบุหรี่
หยุดสูบบุหรี่
 
งดบุหรี่
งดบุหรี่งดบุหรี่
งดบุหรี่
 
หยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่นหยุดทำร้ายผู้อื่น
หยุดทำร้ายผู้อื่น
 
โรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจโรคหลอดเลือดหัวใจ
โรคหลอดเลือดหัวใจ
 
รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่รณรงค์งดสูบบุหรี่
รณรงค์งดสูบบุหรี่
 
กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3กระดูกพรุน 4 3
กระดูกพรุน 4 3
 
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
โรคมะเร็งกล่องเสียง (1)
 
มะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูกมะเร็งหลังโพรงจมูก
มะเร็งหลังโพรงจมูก
 
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)แผลในกระเพาะอาหาร (1)
แผลในกระเพาะอาหาร (1)
 

ระบบขับถ่าย

  • 1. การขับถ่าย(Excretion) ครูฉวีวรรณ นาคบุตร โรงเรียนบ้านสวน(จั่นอนุสรณ์) ชลบุรี
  • 2. การก้าจัดของเสีย ของเสีย (waste) หมายถึง สารที่เกิดจากกระบวนการเมแทบอลิซึม (Metabolism) ที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิต ของเสียที่เกิดขึ้น ได้แก่ น้้า คาร์บอนไดออกไซด์ และยูเรีย นอกจากนี้สารที่มี ประโยชน์แต่มีปริมาณมากเกินไปร่างกายก็จะก้าจัดออก เมแทบอลิซึม (Metabolism) หมายถึง กระบวนการหมุนเวียน เปลี่ยนแปลงทางชีวเคมีที่เกิดขึ้นภายในร่างกายของสิ่งมีชีวิตการก้าจัด ของเสียในคนเกิดขึ้นได้หลายทาง เช่น ทางไต ทางผิวหนัง ทางปอด และทางล้าไส้ใหญ่ ฉวีวรรณ นาคบุตร #
  • 3. คอนแทรกไทล์แวคิวโอล (Contractile Vacuole) ของโปรโตซัว คอนแทรกไทล์แวคิวโอล ท้าหน้าที่ก้าจัดของเสียที่เป็นของเหลวจาก เซลล์ โดยดูดของเหลวที่เป็นของเสียมาสะสมเอาไว้ และเมื่อมี ปริมาณเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยไปจนถึงขีดหนึ่ง จะบีบตัวขับของเหลวใน แวคิวโอลออกสู่ภายนอกเซลล์ ดังนั้น คอนแทร็กไทล์แวคิวโอล จึง ท้าหน้าที่ก้าจัดน้้าที่มีมากเกินต้องการออกนอกร่างกาย และบางส่วน ของของเสียทีเ่ กิดจากเมแทบอลิซึมของโปรตีนก็อาจขับออกทางนี้ได้ ด้วย ฉวีวรรณ นาคบุตร #
  • 4. เฟลมเซลล์(Flame cell) หนอนตัวแบน (Platyhelminthis) ประกอบด้วยท่อปลายตัน สานกันเป็นตาข่าย แตกแขนงอยู่ทั่วร่างกาย ปลายท่อตันหุ้ม ด้วยเซลล์ เรียกว่า flame bulb ซึ่งมี cilia คอยท้าหน้าที่โบก พัดของเหลวไปตามท่อรับของเหลว แล้วออกนอกร่างกายทาง ช่องเปิดที่ผนังล้าตัว(nephridiopore) ในรูปของปัสสาวะ ปัสสาวะของหนอนตัวแบนที่อาศัยในน้้าจืดจะเจือจางมาก ฉวีวรรณ นาคบุตร #
  • 6. เนฟริเดียม (Nephridium) ในพวกไส้เดือนดิน และพวก annelids ไส้เดือนดิน ล้าตัวเป็นปล้อง มีอวัยวะขับถ่ายที่เรียกว่า เนฟริเดียม (Nephridium) อยู่ทุกปล้อง ประกอบด้วยท่อปลายเปิด ท้าหน้าที่รับ ของเหลวในร่างกาย เรียกว่า เนโฟรสโตม (nephrostome) มี cilia คอย โบกพัดเอาของเหลวภายในช่องล้าตัวเข้าสู่ภายในท่อ ไปยังกระเพาะปัสสาวะ (bladder) แล้วออกจากร่างกายทางช่อง nephridiopore เนฟริเดียม ท้าหน้าที่ขับถ่ายของเสียพวกแอมโมเนียและยูเรีย น้้าและแร่ธาตุที่มีประโยชน์จะถูกดูดกลับโดยผนังท่อเนฟริเดียม เข้าสู่ระบบเลือด # ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 8. มัลพิเกียน ทิวบูล (Malpighian tubules) แมลงและสัตว์ในไฟลัมอาร์โทรโปดา (Artropoda) ส่วนมากมีวิวัฒนาการ ระบบขับถ่ายขึ้นมาใหม่เพื่อให้เหมาะสมกับระบบเส้นเลือดที่เป็นวงจรเปิดโดยมี อวัยวะขับถ่ายที่เรียกว่า "มัลพิเกียน ทิวบูล" (malpighian tubule) เป็น หลอดเล็กยาวยื่นออกมาจากบริเวณระหว่างล้าไส้ส่วนกลางและล้าไส้ ส่วนท้าย หลอดเหล่านี้มีจ้านวนแตกต่างกันในสัตว์แต่ละชนิดแต่ละหลอดเปิด มีปลายซึ่งอยู่ในช่องว่างของล้าตัวท้าหน้าที่เป็นทางผ่านของเลือด ฉวีวรรณ นาคบุตร #
  • 9. ปลายหลอด มัลพิเกียนนีสามารถดูดของเสียจากเลือดซึมผ่านเข้าไป ้ ได้ ขณะที่ของเสียดูดผ่านเข้ามา เกลือแร่ต่างๆและน้้าบางส่วนอาจถูกดูด กลับออกมาสู่ชองว่างของล้าตัวได้อีก แต่กรดยูริกซึ่งเป็นของเสียจาก ่ เมแทบอลิซึมของโปรตีน และละลายน้้าได้ยาก จะตกตะกอนผ่านลงสู่ ล้าไส้ส่วนท้ายและไส้ตรง ที่บริเวณไส้ตรงนี้มีกลุมเซลล์ที่มี ่ ประสิทธิภาพในการดูดน้้ากลับคืนสูร่างกายได้อย่างดียิ่ง กลุ่มเซลล์นี้ ่ จะดูดน้้าที่เหลือเข้าสู่ร่างกายเกือบหมดสิ้น ท้าให้ทั้งปัสสาวะและอุจจาระ ของแมลงที่ขับออกมามีลักษณะเป็นก้อนแข็ง ฉวีวรรณ นาคบุตร #
  • 10. อวัยวะขับถ่ายของแมลง # ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 11. การควบคุมระดับน้าและเกลือแร่ ( Osmoregulation ) ้ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังในทะเล มีความเข้มข้นของของเหลวใน ร่างกาย หรือ osmolarity เท่ากับน้้าทะเล (isoosmotic) จึงไม่มี ปัญหาในการสูญเสียน้้าหรือเกลือแร่ให้กับสิ่งแวดล้อม สัตว์ที่ไม่มี isoosmotic กับสิ่งแวดล้อม เช่นปลาทะเล และปลา น้้าจืด จึงต้องมี osmoregulation คือ การควบคุมระดับน้้า และ เกลือแร่ ของร่างกายให้อยู่ในภาวะสมดุล(Homeostasis) ฉวีวรรณ นาคบุตร #
  • 12. ปลาทะเล ของเหลวในร่างกายเป็น hypoosmotic ต่อน้้าทะเล ดังนั้นโอกาสที่จะเสียน้้าออก และเกลือแร่เข้าร่างกายได้ จึงมีวิธีการควบคุม ระดับน้้าและเกลือแร่ ดังนี้ คือ ดื่มน้้าทะเล ซึ่งมีทั้งน้้าและเกลือ ขับเกลือออกทางเหงือก โดยมีเซลล์พิเศษดึงเอา Cl- ออก และ Na+ ก็จะ 2+ 2+ ออกตาม ขณะที่ไตขับพวก Ca , Mg และ SO4 และขับน้้าออก เล็กน้อย เกลือแร่ที่เข้าไปในร่างกาย จะไม่มการดูดซึม ไตจะขับปัสสาวะที่มี ี ความเข้มข้นสูง # ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 13. ปลาน้้าจืด ของเหลวในร่างกายเป็น hyperosmotic กับน้้าจืด ดังนั้นโอกาสที่น้าจะเข้าไป และเกลือแร่เออกจากร่างกายได้ จึงมีวิธีการควบคุม ระดับน้้าและเกลือแร่ ดังนี้ คือ ดื่มน้้าซึ่งมีทั้งน้้าและเกลือเข้าไป - + ใช้เซลล์ที่เหงือก โดยมีเซลล์พิเศษดึงเอา Cl เข้า และ Na ก็จะเข้าตามไป ไตจะขับปัสสาวะที่เจือจาง # ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 14. สัตว์ปก นกหลายชนิดจะมีขนปกคลุม เพื่อ ี ป้องกันการสูญเสียน้้าเนื่องจากความร้อน และยังมีระบบการรักษาดุลยภาพของน้้า ด้วยการขับออกในรูปปัสสาวะ นกทะเลที่กินพืชหรือสัตว์ทะเลเป็นอาหาร จะมีอวัยวะที่ท้าหน้าที่ก้าจัดแร่ธาตุ หรือเกลือส่วนเกินออกไปจากร่างกาย เรียกว่า ต่อมเกลือ (salt gland) ซึ่งอยู่บริเวณหัวและจมูก โดยแร่ธาตุและเกลือจะถูกก้าจัดออกในรูปของน้้าเกลือ วิธีการรักษาสมดุลเช่นนี้ จึงท้าให้นกทะเลต่าง ๆ สามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้ แม้จะบริโภคอาหารที่มีแร่ธาตุและเกลือสูงเป็นประจ้า # ฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 15. สรุป....... ครูฉวีวรรณ นาคบุตร
  • 16. สิ่งมีชวิต ี อวัยวะขับถ่าย กระบวนการขับถ่าย ฟองน้้า/ไฮดรา ไม่มี การแพร่ออกจากเซลล์ ใช้ซิเลียในเฟลมเซลล์โบกพัด ท้าให้เกิดแรงดึงน้้าพร้อมของเสีย พลานาเรีย เฟลมเซลล์ ที่ละลายอยู่ในน้้าเข้าสู่เฟลมเซลล์ แล้วล้าเลียงเข้าสู่ท่อรับ ของเหลว เพื่อไปก้าจัดออกที่ช่องเปิดที่ผนังล้าตัว ใช้เนโฟรสโตมที่เป็นปลายเปิดของเนฟริเดียมรับของเสียที่ ละลายอยู่ในน้้าแล้วล้าเลียงออกสู่ช่องเปิดที่ผนังล้าตัว น้าและ ้ ไส้เดือนดิน เนฟริเดียม แร่ธาตุบางชนิดทีมประโยชน์จะถูกดูดกลับเข้าสู่ระบบหมุนเวียน ่ี เลือด ที่ปลายท่อของมัลพิเกียนทิวบูลจะรับของเสียจากของเหลว ภายในช่องของล้าตัว และล้าเลียงไปยังทางเดินอาหารซึ่งจะมี มัลพิเกียน แมลง การดูดน้้าและสารที่มีประโยชน์กลับเข้าสู่หลอดเลือดจะเหลือ ทิวบูล ของเสียที่เป็นสารประกอบไนโตรเจนที่มีลักษณะเป็นผลึกคือ กรดยูริกจะถูกขับออกพร้อมกากอาหาร #
  • 17. ตอบค้าถามกันหน่อย - เพราะเหตุใด ฟองน้้าและไฮดราจึงด้ารงชีวิตอยู่ได้โดยไม่มี โครงสร้างพิเศษที่ใช้ในการขับถ่าย เพราะเซลล์ทุกเซลล์ของฟองน้้าและไฮดราสามารถสัมผัสกับน้้า ตอบ จึงมีการขับถ่ายของเสียพวกแอมโมเนียออกสู่น้าได้โดยตรง สูตรโมเลกุลของแอมโมเนีย ยูเรีย และกรดยูริกเหมือนหรือต่างกันอย่างไร สารทั้ง 3 ชนิด ประกอบด้วยธาตุ N และ H เหมือนกัน แต่ ตอบ แอมโมเนียจะมีเฉพาะ N และ H มีสูตรโมเลกุล NH3 ส่วนยูเรียและ กรดยูริกจะมีธาตุ C และ O เป็นองค์ประกอบด้วย ยูเรียมีสูตร โมเลกุลเป็น NH2CONH2 กรดยูริกมีสูตรโมเลกุลเป็น C5O3N4H4 #
  • 18. นักเรียนทราบหรือไม่ว่า เพราะเหตุใดสัตว์ที่กินสัตว์เป็นอาหารจึง มีปริมาณของเสียที่มีไนโตรเจนเป็นองค์ประกอบในน้้าปัสสาวะสูง กว่าสัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร เมื่อสัตว์กินสัตว์เป็นอาหาร โปรตีนในเนื้อสัตว์จะถูกย่อยจนได้ ตอบ สารทีมีโมเลกุลขนาดเล็กคือกรดอะมิโน เมื่อสัตว์น้ากรดอะมิโน ่ เหล่านี้ไปใช้ในการสลายเพื่อให้ได้พลังงานจะได้ยูเรียซึ่งแตกต่าง ไปจากสัตว์ที่กนพืชเป็นอาหาร เพราะอาหารของสัตว์กินพืช ิ ส่วนใหญ่เป้นพวกคาร์โบไฮเดรตและมีโปรตีนน้อยกว่าอาหาร ของสัตว์กินสัตว์ ซึ่งสลายแล้วได้ยูเรียเพียงเล็กน้อย #
  • 19. - การที่สตว์จ้าพวกแมลงและสัตว์เลื้อยคลานขับถ่ายของเสีย ั ออกมาในรูปกรดยูริก มีความ สัมพันธ์กับการด้ารงชีวิตอย่างไร ตอบ การขับถ่ายของเสียในรูปกรดยูริกเป็นการช่วยสงวนน้้าไว้ในร่างกาย เพราะสัตว์เหล่านี้ได้รับน้้าส่วนใหญ่จากอาหารเท่านั้น ไม่ค่อยได้ ดื่มน้้าและมีโอกาสสูญเสียน้้าได้ง่าย #
  • 20. นักเรียนคิดว่า อะไรเป็นสาเหตุส้าคัญที่ท้าให้สัตว์มีกระดูกสันหลังที่ อาศัยอยู่ในน้้าและบนบก มีการขับถ่ายของเสียในรูปที่แตกต่างกัน สภาพแวดล้อมที่สัตว์อาศัยอยู่ เช่น ในน้้า หรือบนบก มีผลต่อ การได้รับน้้าและการสูญเสียน้้าของร่างกาย ท้าให้สัตว์ต้องขับถ่ายของ ตอบ เสียในรูปที่ต่างกัน เช่น ปลาจะขับถ่ายของเสียในรูปของแอมโมเนีย ซึ่งเป็นสารพิษส้าหรับร่างกายแต่ละลายน้้าได้ดี ส่วนนก แมลง และสัตว์เลื้อยคลานบางชนิดจ้าเป็นต้องสงวนน้าไว้ใช้ในร่างกายจึงต้อง ้ มีการดูดน้้าจากสารละลายที่มีของเสียกลับไปใช้ในร่างกาย ของเสียที่ เป็นสารประกอบไนโตรเจนจึงอยู่ในรูปผลึกของกรดยูริก #
  • 21. สวัสดี....... ขอบคุณ แม่แบบ powerpoint จาก www.presentationmagazine.com ครูฉวีวรรณ นาคบุตร