SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  10
เรื่อง สูตรและฟังก์ชั่นในโปรแกรม  excel
การคำนวณสูตรด้วยโปรแกรม  Microsoft Excel   โปรแกรม  Microsoft Excel   มีความสะดวกในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะการคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร จัดว่าเป็นพื้นฐานของการคำนวณอย่างยิ่ง การคำนวณผลลัพธ์ที่มีจำนวนหลายเซลล์นั้น โปรแกรม  Microsoft Excel  สามารถคำนวณได้ด้วยสูตร ซึ่งมีความถูกต้องและชัดเจน
1.  การคำนวณตามหลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์     1.1  การใช้เครื่องหมายคณิตศาสตร์ในโปรแกรม  Microsoft Excel  +   แทน  การคำนวณหาผลบวก   -    แทน  การคำนวณหาผลลบ  *   แทน  การคำนวณหาผลคูณ    /   แทน  การคำนวณหาผลหาร   =    แทน  การคำนวณหาผลลัพธ์
1.2  กฎเกณฑ์การคำนวณ               -  ทุกครั้งที่ต้องการคำนวณจะต้องพิมพ์เครื่องเท่ากับ  (=)  ก่อนทุกครั้ง              -  เมื่อกำหนดสูตรการคำนวณเรียบร้อยแล้วให้กดแป้น  Enter             ตัวอย่าง เช่น คำนวณหาผลลัพธ์ที่เซลล์  A4  หาผลบวก  A2+B3=A2+B3      หมายถึง  พิมพ์เท่ากับที่เซลล์  A4  แล้วให้คลิกที่เซลล์  A2  พิมพ์เครื่องหมายบวก แล้วคลิกที่เซลล์  B3  กดแป้น  Enter กรณีคำนวณจำนวนมากกว่า  2  เซลล์ สามารถทำได้เช่นกัน                  เช่น  = A2+B3+C4+D5  หมายถึง การคำนวณหาผลบวกเซลล์  A2 , B3 , C4 , D5
1.3  สูตรพื้นฐานการทำงาน   sum   การคำนวณหาค่าผลรวม   average   -   การคำนวณหาค่าเฉลี่ย   max    -   การหาค่าสูงสุด    min   -  การหาค่าต่ำสุด   1.4  รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ            = สูตร ( เซลล์ต้นทาง : เซลล์ปลายทาง )              เช่น  = sum(B2:B5)
1.5  รูปแบบการใช้ฟังก์ชั่นในการคำนวณ         1.5.1  การใช้  IF  =IF( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ 1,“ ผลลัพธ์” , IF ( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ 2,“ ผลลัพธ์” , IF( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ 3,“ ผลลัพธ์” ,....., IF( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ n,“ ผลลัพธ์” , “ ผลลัพธ์ที่ไม่อยู่ในขอบเขต” )))...) n   กดแป้น  Enter  หมายเห ตุ          n  แทน ขอบเขตสุดท้ายที่ต้องการค้นหา                 เช่น  =IF(G5>=80,"4",IF(G5>=75,"3.5",IF(G5>=70,"3",IF(G5>=65,"2.5", IF(G5>=60,"2",IF(G5>=55,"1.5",IF(G5>=50,"1","0")))))))     
ฟังก์ชั่นในโปรแกรม  Excel
ฟังก์ชั่น  ( Function)  คือ สูตรสำเร็จรูปที่สามารถนำไปใช้งานให้เกิดผลลัพธ์ได้ทันที โดยฟังก์ชั่นสามารถลดขั้นตอนการคำนวณ หรือการปฏิบัติการที่ยุ่งยากและซับซ้อนของการใช้สูตรในการคำนวณ ตัวอย่างเช่น  =  A1+B1+C1+D1  เราสามารถใช้ฟังก์ชั่นในการรวมได้คือ  = SUM(A1:D1)  คำตอบเป็นคำตอบเดียวกันเป็นต้น
ตัวอย่างฟังก์ชั่นที่ใช้งานบ่อย ๆ ฟังก์ชั่น รูปแบบ หน้าที่ SUM =SUM (A1:D1) การรวมตัวเลขที่อยู่ระหว่าง  A1  ถึง  D1 MAX =MAX (A1:A10) ค่าหาสูงสุดที่อยู่ระหว่าง  A1  ถึง  A10 MIN =MIN (A1:A10) ค่าหาต่ำสุดที่อยู่ระหว่าง  A1  ถึง  A10 AVERAGE =AVERAGE (A1:A10) ค่าหาเฉลี่ยข้อมูลที่อยู่ระหว่าง  A1  ถึง  A10 STDEV =STDEV (A1:A10) หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในช่วงพื้นที่ระหว่าง  A1  ถึง  A10
จบการนำเสนอแล้ว นะคะ

Contenu connexe

Tendances

ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098jeabchat
 
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560Marr Ps
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excelการคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม ExcelKaen Kaew
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007Th3popeye
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นชญานิษฐ์ ทบวัน
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007Orasa Deethung
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 

Tendances (17)

ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
53011213098
5301121309853011213098
53011213098
 
Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11
 
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
สูตร Excel ล่าสุดปี 2560
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excelการคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
การคำนวณโดยใช้ฟังก์ชันของ โปรแกรม Excel
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
Intro to Excel
Intro to ExcelIntro to Excel
Intro to Excel
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
53011213095
5301121309553011213095
53011213095
 
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจรนางสาวธนพร เฟื่องขจร
นางสาวธนพร เฟื่องขจร
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้นการคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
การคำนวณอย่างง่าย และฟังก์ชันเบื้องต้น
 
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
การใช้โปรแกรม Microsoft Excel 2007
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 

En vedette

การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%Tipthida Piakard
 
วิธีการคำนวณโบนัสพนักงาน
วิธีการคำนวณโบนัสพนักงานวิธีการคำนวณโบนัสพนักงาน
วิธีการคำนวณโบนัสพนักงานLuhanEXO
 
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิตการเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิตSathida Suyati
 
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์Thailife Insurance Co.,Ltd.(PLC)
 
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%Tipthida Piakard
 
การคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัสการคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัสMos Uthairat
 
การคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัสการคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัสMos Uthairat
 
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน KASETSART UNIVERSITY
 
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผลเป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผลmasteriii
 
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชีการประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชีพัน พัน
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการpop Jaturong
 
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานกรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานDenpong Soodphakdee
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนNaphaphat Niyomjan
 

En vedette (20)

การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
การคำนวณ ผลตอบแทนจากการทำประกันชีวิต ด้วยวิธี IRR (INTERNAL RATE OF RETURN)
 
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
 
วิธีการคำนวณโบนัสพนักงาน
วิธีการคำนวณโบนัสพนักงานวิธีการคำนวณโบนัสพนักงาน
วิธีการคำนวณโบนัสพนักงาน
 
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิตการเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
การเปรียบเทียบผลตอบแทนการฝากประจำกับประกันชีวิต
 
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน  V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
การสร้างปัญหา ด้วยแบบสำรวจความพร้อมทางการเงิน V 1.0.5 ฑิฆัมพร วีรวิทยาเศรษฐ์
 
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
การคำนวณเงินเดือนสุทธิหลังหักภาษีเงินเดือน 5%
 
การคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัสการคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัส
 
โบนัส
โบนัสโบนัส
โบนัส
 
คำอธิบายโปรแกรมโบนัส
คำอธิบายโปรแกรมโบนัสคำอธิบายโปรแกรมโบนัส
คำอธิบายโปรแกรมโบนัส
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
การคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัสการคำนวณเกรดและโบนัส
การคำนวณเกรดและโบนัส
 
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
เปลี่ยนชีวิตทั้งวิธีคิดและทำงาน
 
C
CC
C
 
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผลเป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
เป็นตัวแทนประกัน เอไอเอ(AIA) ดีอย่างไร 10เหตุผล
 
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชีการประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
การประยุกต์ใช้ Excel กับงานบัญชี
 
บทที่ 9 b c
บทที่ 9 b cบทที่ 9 b c
บทที่ 9 b c
 
บทที่ 7 aw
บทที่ 7 awบทที่ 7 aw
บทที่ 7 aw
 
1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ1โครงการและการบริหารโครงการ
1โครงการและการบริหารโครงการ
 
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงานกรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
กรณีศึกษาที่ดี การจัดการและการอนุรักษ์พลังงาน
 
การประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุนการประเมินโครงการลงทุน
การประเมินโครงการลงทุน
 

Similaire à สูตรคำนวน (20)

53011213094
5301121309453011213094
53011213094
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
53011213080
5301121308053011213080
53011213080
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
Static excel
Static excelStatic excel
Static excel
 
53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
การคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงานการคำนวณในตารางทำงาน
การคำนวณในตารางทำงาน
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
53011213016
5301121301653011213016
53011213016
 
Lesson 13
Lesson 13Lesson 13
Lesson 13
 
Microsoft office-excel-2010-บทที่-5
Microsoft office-excel-2010-บทที่-5Microsoft office-excel-2010-บทที่-5
Microsoft office-excel-2010-บทที่-5
 
งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4งานทำBlog บทที่ 4
งานทำBlog บทที่ 4
 
Db4
Db4Db4
Db4
 
ครูนัท
ครูนัทครูนัท
ครูนัท
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
 

Plus de วิมลรัตน์ ชื่นอารมณ์ (7)

แพรว
แพรวแพรว
แพรว
 
การย้าย
การย้ายการย้าย
การย้าย
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
เรื่องการคัดลอกและย้ายข้อมูลคะ
เรื่องการคัดลอกและย้ายข้อมูลคะเรื่องการคัดลอกและย้ายข้อมูลคะ
เรื่องการคัดลอกและย้ายข้อมูลคะ
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 

สูตรคำนวน

  • 2. การคำนวณสูตรด้วยโปรแกรม Microsoft Excel โปรแกรม Microsoft Excel มีความสะดวกในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ โดยเฉพาะการคำนวณ บวก ลบ คูณ หาร จัดว่าเป็นพื้นฐานของการคำนวณอย่างยิ่ง การคำนวณผลลัพธ์ที่มีจำนวนหลายเซลล์นั้น โปรแกรม Microsoft Excel สามารถคำนวณได้ด้วยสูตร ซึ่งมีความถูกต้องและชัดเจน
  • 3. 1. การคำนวณตามหลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์   1.1 การใช้เครื่องหมายคณิตศาสตร์ในโปรแกรม Microsoft Excel +   แทน  การคำนวณหาผลบวก   -    แทน  การคำนวณหาผลลบ *   แทน  การคำนวณหาผลคูณ /   แทน  การคำนวณหาผลหาร   =    แทน  การคำนวณหาผลลัพธ์
  • 4. 1.2 กฎเกณฑ์การคำนวณ             - ทุกครั้งที่ต้องการคำนวณจะต้องพิมพ์เครื่องเท่ากับ (=) ก่อนทุกครั้ง             - เมื่อกำหนดสูตรการคำนวณเรียบร้อยแล้วให้กดแป้น Enter            ตัวอย่าง เช่น คำนวณหาผลลัพธ์ที่เซลล์ A4 หาผลบวก A2+B3=A2+B3      หมายถึง  พิมพ์เท่ากับที่เซลล์ A4 แล้วให้คลิกที่เซลล์ A2 พิมพ์เครื่องหมายบวก แล้วคลิกที่เซลล์ B3 กดแป้น Enter กรณีคำนวณจำนวนมากกว่า 2 เซลล์ สามารถทำได้เช่นกัน                  เช่น = A2+B3+C4+D5  หมายถึง การคำนวณหาผลบวกเซลล์ A2 , B3 , C4 , D5
  • 5. 1.3 สูตรพื้นฐานการทำงาน   sum   การคำนวณหาค่าผลรวม   average  -   การคำนวณหาค่าเฉลี่ย   max   -   การหาค่าสูงสุด    min  - การหาค่าต่ำสุด 1.4 รูปแบบการใช้สูตรในการคำนวณ            = สูตร ( เซลล์ต้นทาง : เซลล์ปลายทาง )             เช่น = sum(B2:B5)
  • 6. 1.5 รูปแบบการใช้ฟังก์ชั่นในการคำนวณ         1.5.1 การใช้ IF =IF( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ 1,“ ผลลัพธ์” , IF ( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ 2,“ ผลลัพธ์” , IF( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ 3,“ ผลลัพธ์” ,....., IF( อ้างอิงเซลล์ / เครื่องหมายอ้างอิง / ขอบเขตที่ n,“ ผลลัพธ์” , “ ผลลัพธ์ที่ไม่อยู่ในขอบเขต” )))...) n กดแป้น Enter หมายเห ตุ         n แทน ขอบเขตสุดท้ายที่ต้องการค้นหา                 เช่น =IF(G5>=80,"4",IF(G5>=75,"3.5",IF(G5>=70,"3",IF(G5>=65,"2.5", IF(G5>=60,"2",IF(G5>=55,"1.5",IF(G5>=50,"1","0")))))))     
  • 8. ฟังก์ชั่น ( Function) คือ สูตรสำเร็จรูปที่สามารถนำไปใช้งานให้เกิดผลลัพธ์ได้ทันที โดยฟังก์ชั่นสามารถลดขั้นตอนการคำนวณ หรือการปฏิบัติการที่ยุ่งยากและซับซ้อนของการใช้สูตรในการคำนวณ ตัวอย่างเช่น = A1+B1+C1+D1 เราสามารถใช้ฟังก์ชั่นในการรวมได้คือ = SUM(A1:D1) คำตอบเป็นคำตอบเดียวกันเป็นต้น
  • 9. ตัวอย่างฟังก์ชั่นที่ใช้งานบ่อย ๆ ฟังก์ชั่น รูปแบบ หน้าที่ SUM =SUM (A1:D1) การรวมตัวเลขที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง D1 MAX =MAX (A1:A10) ค่าหาสูงสุดที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง A10 MIN =MIN (A1:A10) ค่าหาต่ำสุดที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง A10 AVERAGE =AVERAGE (A1:A10) ค่าหาเฉลี่ยข้อมูลที่อยู่ระหว่าง A1 ถึง A10 STDEV =STDEV (A1:A10) หาค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในช่วงพื้นที่ระหว่าง A1 ถึง A10