SlideShare une entreprise Scribd logo
1  sur  30
ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ
(DecisionSupportSystem)
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ
คืออะไร?
Decision Support System หรือ DSS เป็นซอฟแวร์ที่
ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับการจัดการ การรวบรวมข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างตัวแบบที่ซับซ้อน ภายใต้
ซอฟต์แวร์เดียวกัน นอกจากนั้น DSS ยังเป็นการประสาน
การทางานระหว่างบุคลากรกับเทคโนโลยีทางด้านซอฟต์แวร์
โดยเป็นการกระทาโต้ตอบกันเพื่อแก้ปัญหาแบบไม่มี
โครงสร้างและอยู่ภายใต้การควบคุมของผู้ใช้ตั้งแต่เริ่มต้นถึง
สิ้นสุดขั้นตอน
การจัดการกับการตัดสินใจ
(Management)
ประกอบด้วย
1.การวางแผน(Planning)
2.การจัดองค์การ(Organizing)
3.การสั่งการ(Leading/Directing)
4.การควบคุม(Controlling)
ระดับการจัดการ
แบ่งออกเป็น3ระดับ
1.การจัดการระดับสูง(Upper levermanagement)
ผู้บริหารระดับสูงเป็นผู้กาหนดวิสัยทัศน์ นโยบาย
เป้าหมาย วัตถุประสงค์รวมถึงวางแผนกลยุทธ์และแผน
ระยะยาวขององค์การ จึงมีความต้องการสารสนเทศที่มี
ขอบเขตกว้างและสารสนเทศเกี่ยวกับแนวโน้มต่าง ๆ
จากทั้งภายในองค์การและสิ่งแวดล้อมภายนอก
2. การจัดการระดับกลาง (Middle-level Management)
ผู้บริหารระดับกลางมีหน้าที่วางแผนยุทธวิธี (Tactical
Planning) และประสานงานระหว่างผู้บริหารระดับสูงและผู้
บริหารงานระดับต้นหรือหัวหน้างานเพื่อให้การดาเนินงาน
เป็นไปอย่างราบรื่นและสามารถปฏิบัติงานตามนโยบายหรือ
แผนงานที่กาหนดโดยผู้บริหารระดับสูง
3.การจัดการระดับต้น(Lower-levelManagement)
ผู้บริหารงานระดับต้นมีหน้าที่ควบคุม ดูแลการ
ปฏิบัติงานประจาวัน (Operational Control) ซึ่งขั้นตอนการ
ทางานมีรูปแบบที่แน่นอนและทางานใกล้ชิดกับผู้ปฏิบัติงาน
เพื่อให้การทางานเป็นไปตามแผนที่กาหนดโดยผู้บริหาร
ระดับกลาง การจัดการในระดับนี้ต้องอาศัยข้อมูลจากการ
ดาเนินงานที่เกี่ยวข้องอย่างละเอียดนามาวิเคราะห์เพื่อสามารถ
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานและควบคุมให้
สามารถดาเนินงานตามแผนระยะสั้นที่วางไว้
การตัดสินใจ (Decision Making)
4 ขั้นตอน
1.การใช้ความคิดประกอบเหตุผล
(Intelligence) เป็นขั้นตอนที่รับรู้และตระหนักถึงปัญหา
หรือโอกาสที่เกิดขึ้น ทาการรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหา นาข้อมูลมาวิเคราะห์และตรวจสอบเพื่อแยกแยะและ
กาหนดรายละเอียดของปัญหาหรือโอกาส
2.การออกแบบ(Design) เป็นขั้นตอนของการพัฒนา
และวิเคราะห์ทางเลือกในการปฏิบัติที่เป็นไปได้รวมถึงการ
ตรวจสอบและประเมินทางเลือกในการแก้ปัญหาซึ่งอาจใช้
ตัวแบบเพื่อสร้างทางเลือกต่างๆในการแก้ปัญหาหรือ
ออกแบบหนทางแก้ปัญหาที่ดีที่สุด
3.การคัดเลือก(Choice) ผู้ตัดสินใจจะเลือกแนว
ทางเลือกที่เมาะสมกับปัญหาและสถานการณ์มากที่สุดโดย
อาจใช้เครื่องมือมาช่วยวิเคราะห์คานวณค่าใช้จ่ายและ
ผลตอบแทนของแต่ละแนวทางเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าได้
เลือกแนวทางที่ดีที่สุด
4.การนาไปใช้(Implementation) เป็นขั้นตอนที่นาผล
การตัดสินใจไปปฏิบัติและคิดตามผลของการปฏิบัติเพื่อ
ตรวจสอบว่าการดาเนินงานมีประสิทธิภาพหรือมีข้อขัดข้อง
ประการใดจะต้องแก้ไข้หรือปรับปรุงให้สอดคล้องและ
เหมาะสมกับสถานการณ์อย่างไร
ระดับของการตัดสินใจภายในองค์กร
3 ระดับ
1.การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์(StrategicDecision
Making)การตัดสินใจเชิงกลยุทธ์เป็นการตัดสินใจของ
ผู้บริหารระดับสูงที่ให้ความสนใจในอนาคต
2.การตัดสินใจเชิงยุทธวิธี (TacticalDecision
Making)การตัดสินใจเชิงยุทธวิธีเป็นการตัดสินใจของผู้บริหาร
ระดับกลางซึ่งจะเกี่ยวกับการจัดการเพื่อให้การดาเนินงาน
บรรลุตามเป้าหมายและวัตถุประสงค์ตามที่ผู้บริหารระดับสูง
กาหนดไว้การตัดสินในระดับนี้จะเกี่ยวข้องกับปัญหาใน
ลักษณะแบบกึ่งโครงสร้าง
3.การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการ(OperationalDecision
Making) การตัดสินใจเชิงปฏิบัติการเป็นการตัดสินใจของ
ผู้บริหารระดับปฏิบัติการหรือหัวหน้างานซึ่งเกี่ยวข้องกับงาน
ประจาหรือการปฏิบัติงานเฉพาะด้านต่างๆที่เกิดขึ้นเป็น
กิจวัตรเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าสามารถปฏิบัติงานเหล่านั้นได้
ตามแผนที่วางไว้อย่างสาเร็จและมีประสิทธิภาพ
ประเภทของการตัดสินใจ
3 ประเภท
1. การตัดสินใจแบบโครงสร้าง ( Structure
Decision) บางครั้งเรียกว่าแบบกาหนดไว้ล่วงหน้า
แล้ว (programmed) เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาที่
เกิดขึ้นเป็นประจา จึงมีมาตรฐานในการตัดสินใจเพื่อ
แก้ปัญหาอยู่แล้ว โดยวิธีการในการแก้ปัญหาที่ดีที่สุดจะถูก
กาหนดไว้อย่างชัดเจน ตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้
2.การตัดสินใจแบบไม่เป็นโครงสร้าง(Unstructured
Decision)บางครั้งเรียกว่าแบบไม่เคยกาหนดล่วงหน้ามาก่อน
(Nonprogrammed)เป็นการตัดสินใจเกี่ยวกับปัญหาซึ่งมี
รูปแบบไม่ชัดเจนหรือมีความซับซ้อนจึงไม่มีแนวทางในการ
แก้ปัญหาแน่นอนเป็นปัญหาที่ไม่มีการระบุวิธีแก้ไว้อย่าง
ชัดเจนว่าต้องทาอะไรบ้างการตัดสินใจกับปัญหาลักษณะนี้จะ
ไม่มีเครื่องมืออะไรมาช่วย
3.การตัดสินใจแบบกึ่งโครงสร้าง(Semi-Structure
Decision)เป็นการตัดสินใจแบผสมระหว่างแบบโครงสร้างและ
แบบไม่เป็นโครงสร้างคือบางส่วนสามารถตัดสินใจแบบ
โครงสร้างได้แต่บางส่วนไม่สามารถทาได้โดยปัญหาแบบกึ่ง
โครงสร้างนี้จะใช้วิธีแก้ปัญหาแบบมาตรฐานและการพิจารณา
โดยมนุษย์รวมเข้าไว้ด้วยกัน
ส่วนประกอบของระบบ DSS
ส่วนจัดการข้อมูล (Data Management
Subsystem)
ประกอบด้วยฐานข้อมูล ระบบจัดการฐานข้อมูล
ส่วนสอบถามข้อมูล สารบัญข้อมูล ส่วนการดึงข้อมูล และ
ข้อมูลที่ได้รับจากแหล่งต่างๆ ทั้งจากภายในและภายนอก
องค์การ ระบบ DSS
ส่วนจัดการโมเดลหรือส่วนจัดการแบบ(Model
ManagementSubsystem)
1.แบบจาลอง(Model Base)
ระบบจัดการฐานแบบจาลอง (Model Base Management Systerm
: MBMS)
2.ภาษาแบบจาลอง (Model Language)
3.สารบัญแบบจาลอง(Model Directory)
4.ส่วนดาเนินการแบบจาลอง(Model Execution)
5.ฐานแบบจาลอง(ModelBase)จัดเก็บแบบจาลองต่างๆที่มี
ความสามารถในการวิเคราะห์
–สร้างแบบจาลองของระบบสนับสนุนการตัดสินใจได้อย่างง่าย
และรวดเร็ว
–ให้ผู้ตัดสินใจสามารถจัดการหรือใช้แบบจาลองสาหรับการ
ทดลองหรือวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงตัวแปรด้านปัจจัยนาเข้าว่า
จะส่งผลต่อตัวแปรด้านผลผลิตอย่างไร(SensitivityAalysis)
–สามารถจัดเก็บและจัดการแบบจาลองต่างชนิดกัน
–สามารถเข้าถึงและทางานร่วมกับแบบจาลองสาเร็จรูปอื่นได้
–สามารถจัดกลุ่มและแสดงสารบัญของแบบจาลอง
–สามารถติดตามการใช้แบบจาลองและข้อมูล
ตัวอย่างของแบบจาลองมีดังนี้
– แบบจาลองทางสถิติStatistic Model) ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลรูปแบบ
ต่างๆ เช่น การวิเคราะห์ความถดถอย หรือการหาความสัมพันธ์ระหว่าง
ตัวแปรต่างๆ
– แบบจาลองทางการเงิน (Financial Model) ใช้แสดงรายได้รายจ่าย
และกระแสการไหลของเงินสด ฯลฯ เพื่อนามาใช้เป็นข้อมูลในการ
วางแผนทางการเงิน
–แบบจาลองเพื่อหาจุดเหมาะสมที่สุด(Optimization
Model)เป็นการหาค่าเหมาะสมที่สุดของตัวแปรตามเงื่อนไข
ที่กาหนดเช่นการหาผลตอบแทนที่สูงที่สุดโดยคานึงถึง
ค่าใช้จ่ายต่าสุด
–แบบจาลองสถานการณ์(SimulationModel)เป็นตัวแบบ
คณิตศาสตร์ที่ใช้การสร้างชุดของสมการเพื่อแทนสภาพของ
ระบบที่จะทาการศึกษาแล้วทาการทดลองจากตัวแบบเพื่อ
ศึกษาสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับระบบ
ส่วนการจัดการโต้ตอบ(Dialogue
ManagementSubsystem)
ส่วนจัดการโต้ตอบหรืออาจเรียกว่าส่วนจัดการ
ประสานผู้ใช้(User Interface Management) ทาหน้าที่เป็น
ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับระบบ เพื่อให้การติดต่อสื่อสาร
ระหว่างผู้ใช้กับระบบเป็นไปด้วยความสะดวกและง่ายต่อ
การใช้งาน ผู้ใช้สามารถควบคุมข้อมูล
ประเภทของระบบDSS
1. DSS แบบให้ความสาคัญกับข้อมูล (Data-
Oriented DSS)เป็น DSS ที่ให้ความสาคัญกับเครื่องมือ
ในการจัดการและการวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบทาง
สถิติ ตลอดจนการจัดข้อมูลในลักษณะต่างๆ เพื่อให้ผู้ใช้
ทาความเข้าใจสารสนเทศ และสามารถตัดสินใจอย่างมี
ประสิทธิภาพ
2.DSSแบบให้ความสาคัญกับแบบจาลอง(Model-
BasedDSS)เป็นDSSที่ให้ความสาคัญกับแบบจาลองการ
ประมวลปัญหาโดยเฉพาะแบบจาลองพื้นฐานทาง
คณิตศาสตร์ (MathematicalModel)และแบบจาลองการวิจัยขั้น
ดาเนินงาน(OperationResearchModel)ซึ่งช่วยให้ผู้ใช้สามารถ
วิเคราะห์ปัญหาและปรับตัวแปรที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณาเลือก
ทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
ตัวอย่างการใช้โปรแกรม DSS
แบบจาลองการพยากรณ์อากาศ

Contenu connexe

Tendances

โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นkvcthidarat
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสChu Ching
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลChainarong Maharak
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยKero On Sweet
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้Thunyalak Thumphila
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมYaovaree Nornakhum
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอBiobiome
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกNoppadon Khongchana
 
เอกสารLOGBOOK เขียนมือ
เอกสารLOGBOOK เขียนมือเอกสารLOGBOOK เขียนมือ
เอกสารLOGBOOK เขียนมือAun Wny
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์Rapheephan Phola
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชัญญานุช เนริกูล
 

Tendances (20)

โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่นโครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
โครงงาน ระดับ ปวช. วิทยาลัยอาชีวศึกษาขอนแก่น
 
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาสชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
ชื่อโครงการจัดทำโครงการคอมพิวเตอร์เพื่อการศึกษาสร้างเสริมปัญญาให้เด็กด้อยโอกาส
 
บริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังเล่มที่  3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เล่มที่ 3 การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
ระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัยระเบียบวิธีวิจัย
ระเบียบวิธีวิจัย
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1pageใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
ใบความรู้+วงจรไฟฟ้าอย่างง่าย+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f22-1page
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรมบทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
บทที่ 4 โครโมโซมและสารพันธุกรรม
 
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอเอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีดีเอ็นเอ
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
คู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือกคู่มือการใช้เชือก
คู่มือการใช้เชือก
 
เอกสารLOGBOOK เขียนมือ
เอกสารLOGBOOK เขียนมือเอกสารLOGBOOK เขียนมือ
เอกสารLOGBOOK เขียนมือ
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์ขอความอนุเคราะห์
ขอความอนุเคราะห์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการชุดกิจกรรมการเรียนรู้  ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามแนวคิดแบบโยนิโสมนสิการ
 

Similaire à ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)

ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจPisit Khamkaew
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจkhwankamonn
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจAchiraya Chomckam
 
ความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support systemความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support systemI'Tay Tanawin
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ Tang Pruedsapol
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจKrit Krit
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12Supanan Fom
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจjames jameson
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจSupanan Fom
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงานnutty_npk
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจLook-wa Airin
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจLook-wa Airin
 
ใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศPert Nattanon Krailop
 
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์Otorito
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจchanon555za
 

Similaire à ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System) (20)

กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
กฤษฏิ์ แก้ววิมล 7-5-6
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support systemความหมายและความสำคัญของ Decision support system
ความหมายและความสำคัญของ Decision support system
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ (12
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
ความหมายและความสำคัญของระบบสารสนเทศเพื่อการสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
Word 1
Word 1Word 1
Word 1
 
เมลิสา
เมลิสาเมลิสา
เมลิสา
 
เมลิสา
เมลิสาเมลิสา
เมลิสา
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
 
ใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศใบงานสารสนเทศ
ใบงานสารสนเทศ
 
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
ใบงาน วิชา คอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
ตัวอย่างโปรแกรมที่ใช้ในระบบสารสนเทศเพื่อใช้ในการตัดสินใจ
 

ระบบสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ (Decision Support System)