SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
เชื้อเพลิงซากดึกดํา
บรรพ (Fossil Fuels)
  โดย นายณัฐวุฒิ โคตรพัฒน
        548144117
      คอมฯศึกษาหมู 1
เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (Fossil Fuels) หมายถึง ?
   เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (Fossil Fuels) หมายถึง เชื้อเพลิงซึ่งเปลี่ยนสภาพมาจาก
    ซากของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตวในยุคตาง ๆ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาและธรณี
    เคมี หมายรวมถึง
                 • ถานหิน (Coal)
                 • กาซธรรมชาติ (Gases)
                 • น้ํามัน (Natural Oil)
                 • หินน้ํามันและทรายน้ํามัน (Oil Shale and Tar Sand)
           ดวยกระบวนการเกิดซึ่งตองอาศัยระยะเวลายาวนาน และไมสามารถเกิดทดแทน
    ไดในชวงอายุขัยของมนุษย จึงจัดเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ไมสามารถทดแทนได
    เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเปนเชื้อเพลิงที่มนุษยเรานําขึ้นมาใชอยางกวางขวางและ
    มากมาย
 รูปที่ 1 เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ   (Fossil Fuels) เปนแหลงพลังงานสําคัญของโลก
ถานหิน (Coal)
    ถานหิน (Coal)
           โดยธรรมชาติและกระบวนการเกิดแลว ถานหินจัดไดวาเปนหินตะกอน
    และหินแปรชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากพืชที่อาศัยและเจริญเติบโตอยูในที่ลุมชื้นแฉะใน
    อดีตกาล ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เราจะพบวา ถานหินมักเกิดรวมกับหิน
    ทรายและหินดินดาน ทั้งนี้ เพราะเมื่อซากพืชโบราณเหลานี้ลมตายลง ก็จะถูกฝง
    หรือกดทับโดยตะกอนอื่น ๆ ซึ่งโดยปกติก็จะไดแก ทรายและโคลนดังกลาว และ
    เปลี่ยนสภาพไปเปนถานหินในที่สุด (รูปที่ 2) การสะสมตัวของถานหินจะเริ่ม
    จากอินทรียวัตถุ ซึ่งประกอบดวยคารบอน ออกซิเจน และไฮโดรเจนเปนสวน
    ใหญ
 รูปที่ 2 กระบวนการเกิดถานหิน
      นอกเหนือจากคารบอน ออกซิเจน และไฮโดรเจนแลว ถานหินยัง
    ประกอบดวยธาตุอื่น ๆ อีกหลายตัว ในอัตราสวนที่มากนอยแตกตางกัน ธาตุที่
    สําคัญไดแก ซัลเฟอร ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดสภาพมลภาวะที่คอนขางรายแรง
    ตอบรรยากาศและน้ํา ซัลเฟอรสามารถที่จะปะปนเขาไปในบรรยากาศ ในรูป
                                   
    ของกาซซัลเฟอรไดออกไซด (รูปที่ 3) ซึ่งอาจจะมีอันตรายตอมวลชีวิต ถาอยูใน
                     
    ปริมาณที่สูงพอ ทางน้ําที่ไหลผานเหมืองที่ทําการขุดเจาะถานหิน อาจจะเกิด
    สภาพของมลภาวะไดจากซัลเฟอรที่อยูในรูปของกรดซัลฟูริค นอกจากนี้ ถานหิน
                                      
    ยังมีปญหาเรื่องปริมาณของมีเธน (Methane) และคารบอนไดออกไซดที่ปลอย
    ออกมาเมื่อเผาไหม และเปนปญหาตอสภาพแวดลอมได




รูปที่ 3 เปรียบเทียบปริมาณซลเฟอรไดออกไซด มีเธน และคารบอนไดออกไซดที่ปลอยออกมาจากเชื้อเพลง
                           ั                                                                ิ
ซากดึกดําบรรพ
ปโตรเลียม (Petroleum)
   ปโตรเลียม (Petroleum)
          ปโตรเลียม มาจากคําในภาษาละติน 2 คํา คือ เพตรา แปลวา หิน และ โอ
    เลียม ซึ่งแปลวา น้ํามัน รวมความแลว หมายถึง น้ํามันที่ไดจากหิน
          ตามนิยาม ปโตรเลียม หมายถึง สารไฮโดรคารบอน (CH) ที่เกิดขึ้นเองตาม
    ธรรมชาติ มีธาตุที่เปนองคประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คารบอน (C) และ ไฮโดรเจน
    (H) โดยอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่น เชน กํามะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยูดวย
    ปโตรเลียมเปนไดทั้ง ของแข็ง ของเหลว หรือ กาซ ขึ้นอยูกับองคประกอบของ
    ปโตรเลียมเองเปนสําคัญ นอกจากนี้ความรอน และความกดดันของสภาพแวดลอมที่
    ปโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บ ก็มีสวนในการกําหนดสถานะของปโตรเลียม
       ปโตรเลียม แบงตามสถานะที่สําคัญได 2 ชนิด คือ น้ํามันดิบ (Oil) และ กาซ
    ธรรมชาติ ( Natural Gases) สถานะตามธรรมชาติ น้ํามันดิบ
    เปน ของเหลว ประกอบดวยสารไฮโดรคารบอนชนิดระเหยงายเปนสวนใหญ ที่เหลือ
    เปนสารกํามะถัน ไนโตรเจน และสารประกอบออกไซดอื่น
    น้ํามันดิบแบงออกเปน 3 ประเภท ตามคุณสมบัติและชนิดของไฮโดรคารบอนที่เปน
    องคประกอบ คือ น้ํามันดิบฐานพาราฟน น้ํามันดิบฐานแอสฟลท และ น้ํามันดิบ
    ฐานผสม น้ํามันดิบทั้ง 3 ประเภท เมื่อนําไปกลั่น จะใหผลิตภัณฑน้ํามันในสัดสวนที่
    แตกตางกัน
            สวนกาซธรรมชาติเปนปโตรเลียมที่อยูในรูปของ กาซ ณ อุณหภูมิ และความ
    กดดันที่ผิวโลก กาซธรรมชาติประกอบดวยสารไฮโดรคารบอนเปนหลัก อาจมีสัดสวน
    สูงถึงรอยละ 95 สวนที่เหลือ ไดแก ไนโตรเจน และคารบอนไดออกไซด บางครั้งจะ
    พบไฮโดรเจนซัลไฟดปะปนอยดวย   ู
การเกิด
        น้ํามันดิบและกาซธรรมชาติ จะพบเกิดรวมกับหินตะกอนที่เกิดในทะเล
    เสมอ สวนประกอบที่สําคัญไดแก สารประกอบไฮโดรคารบอนเปนสวนใหญ
    และมีซัลเฟอร ไนโตรเจน และออกซิเจนเปนสวนนอย ปจจุบันนักธรณีวิทยามี
    ความเชื่อวา น้ํามันและกาซธรรมชาติมีตนกําเนิดมาจากอินทรียวัตถุที่เปนพืช
    และสัตว
รูปที่ 4 กระบวนการเกิดปโตรเลียม
รูปที่ 5 โครงสรางกักเก็บน้ํามันและกาซธรรมชาติ
การสํารวจหาแหล่งปิ โตรเลียม
     ในการสํารวจหาแหลงปโตรเลียมดังกลาว นักธรณีวิทยาจะใชวิธีการสํารวจอยู
    หลาย ๆ วิธี ดังนี้
          1. การขุดเจาะหลุมเพื่อเก็บตัวอยางหิน (Core Drilling)
          2. การสํารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน (Seismic Prospecting)
          3. การสํารวจโดยความโนมถวง (Gravity Prospecting)
          วิธีการดังกลาวขางตน สามารถชวยเปนเครื่องชี้ใหเราทราบวา ขางลาง
    เปลือกโลกจะมีโครงสรางที่เหมาะสมเปนแหลงกักเก็บน้ํามันมากนอยเพียงใด แต
    ไมสามารถบงชี้ใหเดนชัดวาจะมีชั้นหินกักเก็บน้ํามันหรือไม
หินน้ํามันและทรายน้ํามัน (Oil Shale and Tar Sand)
       หินน้ํามัน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งที่ประกอบดวยอินทรียวัตถุในรูปของสารที่
    เรียกวา คีโรเจน (Kerogen) และคโรเจนนี้เอง เมื่อถูกทําใหรอนดวยวิธีใดวิธี
                                        ี
    หนึ่ง ประมาณ 500 องศาเซลเซียส จะใหน้ํามันและกาซไฮโดรคารบอนออกมา
    สําหรับการเกิดของหินน้ํามันนั้น เกิดจากพวกพืชและสัตวที่ตายแลว ซึ่งไดสะสม
    รวมกันกับเศษหินดินทรายตาง ๆ อยูในที่ที่เคยเปนแหลงน้ําขนาดใหญทั่วไปมา
    กอน เมื่อเวลาไดผานไปนานนับลานป พวกอินทรียวัตถุอันไดแก ซากพืชและ
    สัตวตาง ๆ ดังกลาวนั้น ก็จะแปรสภาพเปนสารคลายยางเหนียว ๆ หรือที่
    เรียกวา คีโรเจน สวนเศษหินดินทรายตาง ๆ ซึ่งมีสารคโรเจนอยูดวยนี้ ก็แปร
                                                       ี
    สภาพเปนหินตะกอนออกสีเขม เรียกวา หินน้ํามัน
ทรายน้ํามัน
         ทรายน้ํามัน หมายถึง ทรายที่ประกอบไปดวยไฮโดรคารบอนและอินทรีย
    สารอื่น ๆ รวมตัวกันอยูในลักษณะของน้ํามันหนัก (Heavy Crude Oil) แทรก
    อยูตามชองวาง และทําหนาที่คลายสารเชื่อมประสานเม็ดทรายเขาดวยกัน
    นอกจากนี้ ยังมีสวนประกอบเจือปนของอนินทรียสารอื่น เชน วานาเดียม เหล็ก
    ทองแดง และอื่น ๆ บางเล็กนอย และยังมีน้ําซึ่งมักจะเปนสวนประกอบอยูดวย
    เสมอ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับแองตนกําเนิดของทรายน้ํามันในที่ที่มีสภาวะแวดลอม
    แตกตางกันไป ทรายน้ํามันมีชื่อเรียกกันหลายอยาง เชน Tar Sand,
    Bituminous Sand, Oil Sand และน้ํามันที่สะกัดออกมาได จะเรียกวา Tar
    Oil, Sand Oil, Bituminous Oil หรือ Asphaltic Oil เปนตน
การใชพลังงานปโตรเลียมอยางประหยัดและถูกวิธี
 ประโยชนของพลังงานปโตรเลียมมีทั้งทางตรงและทางออม         ทางตรงคือ การนํา
  พลังงานปโตรเลียมมาใชกับยวดยานพาหนะและเครื่องมือเครื่องใชชนิดตาง ๆ
  ทางออมคือ การนําพลังงานปโตรเลียมมาผลิตกระแสไฟฟาเพื่อใชในอาคาร
  บานเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม
 การใชพลังงานปโตรเลียมจึงควรใชอยางประหยัดและถูกวิธี เพราะพลังงาน
  ปโตรเลียมเปนพลังงานที่เมื่อใชแลวจะหมดสิ้นไปจากโลก และพลังงาน
  ปโตรเลียมเปนพลังงานที่ติดไฟงาย จึงมักเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดเพลิงไหมเนือง ๆ
การใชพลังงานปโตรเลียมทางตรงอยางประหยัดและถูกวิธี
มีหลักการที่สําคัญ ๆ ดังนี้คือ
  1. การบํารุงรักษาเครื่องจักรกล เครื่องยนต ใหสม่ําเสมอ ใชผลิตภัณฑหลอลื่นให
    เหมาะสม ทําความสะอาดเครื่องยนตใหถูกวิธี ใชงานตามความสามารถและใช
    อยางถนอม ปรับแตงเครื่องยนต เชน ตั้งศูนยปรับแตงรอบเผาไหม เปนตน
           2. เลือกใชน้ํามันใหเหมาะสมกับกําลังเครื่องยนต หลีกเลี่ยงเชื้อเพลิงที่
    อาจกอใหเกิดอันตรายได เชน การใชแกสกับเครื่องยนตอาจเกิดอันตรายงาย
    เพราะไวไฟกวาน้ํามันเบนซิน เปนตน
           3. หลีกเลี่ยงวัสดุติดไฟหรือการกระทําใด ๆ ที่ประมาทอาจกอใหเกิด
    เพลิงไหมได กําหนดสถานที่เก็บเชื้อเพลิงใหปลอดภัยที่สุด
           4. การใชแกสหุงตมควรเลือกถัง หัวเตาที่ไดมาตรฐาน หมั่นตรวจสอบ
    รอยรั่วและปดใหเรียบรอยหลังจากใชงานเสร็จแลว
การใชพลังงานปโตรเลียมทางออมอยางประหยัดและถูกวิธี
    มีหลักการที่สําคัญ ๆ ดังนี้คือ
              1. สํารวจดูเครื่องใชไฟฟาภายในบานวามีอะไรบาง เพื่อทราบจํานวน
    เครื่องใชไฟฟาที่เหมาะสมกับความจําเปน
             2. สํารวจดูเครื่องใชไฟฟาแตละตัว เพื่อใหทราบวาแตละตัวมีขนาดกําลังไฟฟากี่
    วัตต ถาเครื่องใชไฟฟาชนิดใดมีวัตตสูงจะกินไฟมาก ถามีวัตตต่ําจะกินไฟนอยควรสนใจ
    เครื่องใชที่วัตตสูง ๆ เปนกรณีพิเศษ เพื่อหาทางประหยัด รูไดอยางไรวาเครื่องใชไฟฟามี
    กําลังไฟฟากี่วัตต
             3. เลือกใชอุปกรณหรือเครื่องใชไฟฟาที่มีประสิทธิภาพและขนาดที่เหมาะสมกับ
    การใชงานในบาน เชน ควรใชหลอดฟลูออเรสเซนตแทนการใชหลอดไสเพราะประหยัด
                                                         
    ไฟฟากวา
             4. เมื่อเลิกใชไฟฟาควรปดสวิตชหรือถอดปลั๊กทันที
             5. ไมควรใชเครื่องไฟฟาพรอม ๆ กันหลายตัว ทําใหเสียคาไฟฟาเพิ่มขึ้น และอาจ
    ทําใหสายไฟฟาในบานรอนจนเกิดเพลิงไหมได
             6. บํารุงรักษาและหมั่นทําความสะอาดอุปกรณเครื่องใชไฟฟาอยางสม่ําเสมอ

More Related Content

What's hot

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศTa Lattapol
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนSukanya Nak-on
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกTa Lattapol
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีพัน พัน
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารPinutchaya Nakchumroon
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชพัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
หิน
หินหิน
หิน
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน06.ถ่านหิน
06.ถ่านหิน
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)โลกของเรา (The Earth)
โลกของเรา (The Earth)
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสีธาตุกัมมันตรังสี
ธาตุกัมมันตรังสี
 
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
การลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืชการลำเลียงในพืช
การลำเลียงในพืช
 

Similar to เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels

กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมBoom Rattamanee Boom
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมkritsadaporn
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมSutisa Tantikulwijit
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมpatcharapun boonyuen
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงานKobwit Piriyawat
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมWichai Likitponrak
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุJiraporn
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศGreen Greenz
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqneakaratkk
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxEakarat Sumpavaman
 

Similar to เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels (20)

กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
การสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียมการสำรวจปิโตรเลียม
การสำรวจปิโตรเลียม
 
กำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียมกำเนิดปิโตรเลียม
กำเนิดปิโตรเลียม
 
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
7.องค์ความรู้ด้านพลังงาน
 
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียมเคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
เคมีพื้นบท4ปิโตรเลียม
 
07.น้ำมัน
07.น้ำมัน07.น้ำมัน
07.น้ำมัน
 
แร่ธาตุ
แร่ธาตุแร่ธาตุ
แร่ธาตุ
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2Sc103 fanal#2
Sc103 fanal#2
 
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqnB4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
B4 caic31zuv qyq3etrk8pz9h7s8ir0nbrmgnbu9lhbkzspcvtdqbimdqgbmjieqn
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvxQ i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
Q i oy8tk7b44g42yqc3fc1bgzwymwa0cvk9y6ayygrgk7ldrc8ytffsc8ewmknlvx
 

More from ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์

การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
การสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบ
การสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบการสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบ
การสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 
การคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASH
การคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASHการคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASH
การคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASHณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์
 

More from ณัฐวุฒิ โคตรพัฒน์ (6)

การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
การสร้างสื่อการสอนโดยการประยุกต์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์(แก้ไขแล้ว)
 
การสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบ
การสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบการสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบ
การสร้างสื่อโดยการประยุกต์รูปแบบ
 
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
รูปแบบของรอบไบลเออร์และฮอลล์
 
My map OS
My map OSMy map OS
My map OS
 
การคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASH
การคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASHการคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASH
การคัดลอกเส้นจากภาพตันฉบับด้วยFLASH
 

เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels

  • 1. เชื้อเพลิงซากดึกดํา บรรพ (Fossil Fuels) โดย นายณัฐวุฒิ โคตรพัฒน 548144117 คอมฯศึกษาหมู 1
  • 2. เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (Fossil Fuels) หมายถึง ?  เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (Fossil Fuels) หมายถึง เชื้อเพลิงซึ่งเปลี่ยนสภาพมาจาก ซากของสิ่งมีชีวิต ทั้งพืชและสัตวในยุคตาง ๆ โดยกระบวนการทางธรณีวิทยาและธรณี เคมี หมายรวมถึง • ถานหิน (Coal) • กาซธรรมชาติ (Gases) • น้ํามัน (Natural Oil) • หินน้ํามันและทรายน้ํามัน (Oil Shale and Tar Sand) ดวยกระบวนการเกิดซึ่งตองอาศัยระยะเวลายาวนาน และไมสามารถเกิดทดแทน ไดในชวงอายุขัยของมนุษย จึงจัดเปนทรัพยากรธรรมชาติที่ไมสามารถทดแทนได เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพเปนเชื้อเพลิงที่มนุษยเรานําขึ้นมาใชอยางกวางขวางและ มากมาย
  • 3.  รูปที่ 1 เชื้อเพลิงซากดึกดําบรรพ (Fossil Fuels) เปนแหลงพลังงานสําคัญของโลก
  • 4. ถานหิน (Coal)  ถานหิน (Coal) โดยธรรมชาติและกระบวนการเกิดแลว ถานหินจัดไดวาเปนหินตะกอน และหินแปรชนิดหนึ่ง ซึ่งเกิดจากพืชที่อาศัยและเจริญเติบโตอยูในที่ลุมชื้นแฉะใน อดีตกาล ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม เราจะพบวา ถานหินมักเกิดรวมกับหิน ทรายและหินดินดาน ทั้งนี้ เพราะเมื่อซากพืชโบราณเหลานี้ลมตายลง ก็จะถูกฝง หรือกดทับโดยตะกอนอื่น ๆ ซึ่งโดยปกติก็จะไดแก ทรายและโคลนดังกลาว และ เปลี่ยนสภาพไปเปนถานหินในที่สุด (รูปที่ 2) การสะสมตัวของถานหินจะเริ่ม จากอินทรียวัตถุ ซึ่งประกอบดวยคารบอน ออกซิเจน และไฮโดรเจนเปนสวน ใหญ
  • 5.  รูปที่ 2 กระบวนการเกิดถานหิน
  • 6. นอกเหนือจากคารบอน ออกซิเจน และไฮโดรเจนแลว ถานหินยัง ประกอบดวยธาตุอื่น ๆ อีกหลายตัว ในอัตราสวนที่มากนอยแตกตางกัน ธาตุที่ สําคัญไดแก ซัลเฟอร ซึ่งเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดสภาพมลภาวะที่คอนขางรายแรง ตอบรรยากาศและน้ํา ซัลเฟอรสามารถที่จะปะปนเขาไปในบรรยากาศ ในรูป  ของกาซซัลเฟอรไดออกไซด (รูปที่ 3) ซึ่งอาจจะมีอันตรายตอมวลชีวิต ถาอยูใน  ปริมาณที่สูงพอ ทางน้ําที่ไหลผานเหมืองที่ทําการขุดเจาะถานหิน อาจจะเกิด สภาพของมลภาวะไดจากซัลเฟอรที่อยูในรูปของกรดซัลฟูริค นอกจากนี้ ถานหิน  ยังมีปญหาเรื่องปริมาณของมีเธน (Methane) และคารบอนไดออกไซดที่ปลอย ออกมาเมื่อเผาไหม และเปนปญหาตอสภาพแวดลอมได รูปที่ 3 เปรียบเทียบปริมาณซลเฟอรไดออกไซด มีเธน และคารบอนไดออกไซดที่ปลอยออกมาจากเชื้อเพลง ั ิ ซากดึกดําบรรพ
  • 7. ปโตรเลียม (Petroleum)  ปโตรเลียม (Petroleum) ปโตรเลียม มาจากคําในภาษาละติน 2 คํา คือ เพตรา แปลวา หิน และ โอ เลียม ซึ่งแปลวา น้ํามัน รวมความแลว หมายถึง น้ํามันที่ไดจากหิน ตามนิยาม ปโตรเลียม หมายถึง สารไฮโดรคารบอน (CH) ที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติ มีธาตุที่เปนองคประกอบหลัก 2 ชนิด คือ คารบอน (C) และ ไฮโดรเจน (H) โดยอาจมีธาตุอโลหะชนิดอื่น เชน กํามะถัน ออกซิเจน ไนโตรเจน ฯลฯ ปนอยูดวย ปโตรเลียมเปนไดทั้ง ของแข็ง ของเหลว หรือ กาซ ขึ้นอยูกับองคประกอบของ ปโตรเลียมเองเปนสําคัญ นอกจากนี้ความรอน และความกดดันของสภาพแวดลอมที่ ปโตรเลียมนั้นถูกกักเก็บ ก็มีสวนในการกําหนดสถานะของปโตรเลียม
  • 8. ปโตรเลียม แบงตามสถานะที่สําคัญได 2 ชนิด คือ น้ํามันดิบ (Oil) และ กาซ ธรรมชาติ ( Natural Gases) สถานะตามธรรมชาติ น้ํามันดิบ เปน ของเหลว ประกอบดวยสารไฮโดรคารบอนชนิดระเหยงายเปนสวนใหญ ที่เหลือ เปนสารกํามะถัน ไนโตรเจน และสารประกอบออกไซดอื่น น้ํามันดิบแบงออกเปน 3 ประเภท ตามคุณสมบัติและชนิดของไฮโดรคารบอนที่เปน องคประกอบ คือ น้ํามันดิบฐานพาราฟน น้ํามันดิบฐานแอสฟลท และ น้ํามันดิบ ฐานผสม น้ํามันดิบทั้ง 3 ประเภท เมื่อนําไปกลั่น จะใหผลิตภัณฑน้ํามันในสัดสวนที่ แตกตางกัน สวนกาซธรรมชาติเปนปโตรเลียมที่อยูในรูปของ กาซ ณ อุณหภูมิ และความ กดดันที่ผิวโลก กาซธรรมชาติประกอบดวยสารไฮโดรคารบอนเปนหลัก อาจมีสัดสวน สูงถึงรอยละ 95 สวนที่เหลือ ไดแก ไนโตรเจน และคารบอนไดออกไซด บางครั้งจะ พบไฮโดรเจนซัลไฟดปะปนอยดวย ู
  • 9. การเกิด  น้ํามันดิบและกาซธรรมชาติ จะพบเกิดรวมกับหินตะกอนที่เกิดในทะเล เสมอ สวนประกอบที่สําคัญไดแก สารประกอบไฮโดรคารบอนเปนสวนใหญ และมีซัลเฟอร ไนโตรเจน และออกซิเจนเปนสวนนอย ปจจุบันนักธรณีวิทยามี ความเชื่อวา น้ํามันและกาซธรรมชาติมีตนกําเนิดมาจากอินทรียวัตถุที่เปนพืช และสัตว
  • 12. การสํารวจหาแหล่งปิ โตรเลียม  ในการสํารวจหาแหลงปโตรเลียมดังกลาว นักธรณีวิทยาจะใชวิธีการสํารวจอยู หลาย ๆ วิธี ดังนี้ 1. การขุดเจาะหลุมเพื่อเก็บตัวอยางหิน (Core Drilling) 2. การสํารวจโดยคลื่นสั่นสะเทือน (Seismic Prospecting) 3. การสํารวจโดยความโนมถวง (Gravity Prospecting) วิธีการดังกลาวขางตน สามารถชวยเปนเครื่องชี้ใหเราทราบวา ขางลาง เปลือกโลกจะมีโครงสรางที่เหมาะสมเปนแหลงกักเก็บน้ํามันมากนอยเพียงใด แต ไมสามารถบงชี้ใหเดนชัดวาจะมีชั้นหินกักเก็บน้ํามันหรือไม
  • 13. หินน้ํามันและทรายน้ํามัน (Oil Shale and Tar Sand)  หินน้ํามัน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งที่ประกอบดวยอินทรียวัตถุในรูปของสารที่ เรียกวา คีโรเจน (Kerogen) และคโรเจนนี้เอง เมื่อถูกทําใหรอนดวยวิธีใดวิธี ี หนึ่ง ประมาณ 500 องศาเซลเซียส จะใหน้ํามันและกาซไฮโดรคารบอนออกมา สําหรับการเกิดของหินน้ํามันนั้น เกิดจากพวกพืชและสัตวที่ตายแลว ซึ่งไดสะสม รวมกันกับเศษหินดินทรายตาง ๆ อยูในที่ที่เคยเปนแหลงน้ําขนาดใหญทั่วไปมา กอน เมื่อเวลาไดผานไปนานนับลานป พวกอินทรียวัตถุอันไดแก ซากพืชและ สัตวตาง ๆ ดังกลาวนั้น ก็จะแปรสภาพเปนสารคลายยางเหนียว ๆ หรือที่ เรียกวา คีโรเจน สวนเศษหินดินทรายตาง ๆ ซึ่งมีสารคโรเจนอยูดวยนี้ ก็แปร ี สภาพเปนหินตะกอนออกสีเขม เรียกวา หินน้ํามัน
  • 14. ทรายน้ํามัน  ทรายน้ํามัน หมายถึง ทรายที่ประกอบไปดวยไฮโดรคารบอนและอินทรีย สารอื่น ๆ รวมตัวกันอยูในลักษณะของน้ํามันหนัก (Heavy Crude Oil) แทรก อยูตามชองวาง และทําหนาที่คลายสารเชื่อมประสานเม็ดทรายเขาดวยกัน นอกจากนี้ ยังมีสวนประกอบเจือปนของอนินทรียสารอื่น เชน วานาเดียม เหล็ก ทองแดง และอื่น ๆ บางเล็กนอย และยังมีน้ําซึ่งมักจะเปนสวนประกอบอยูดวย เสมอ ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับแองตนกําเนิดของทรายน้ํามันในที่ที่มีสภาวะแวดลอม แตกตางกันไป ทรายน้ํามันมีชื่อเรียกกันหลายอยาง เชน Tar Sand, Bituminous Sand, Oil Sand และน้ํามันที่สะกัดออกมาได จะเรียกวา Tar Oil, Sand Oil, Bituminous Oil หรือ Asphaltic Oil เปนตน
  • 15. การใชพลังงานปโตรเลียมอยางประหยัดและถูกวิธี  ประโยชนของพลังงานปโตรเลียมมีทั้งทางตรงและทางออม ทางตรงคือ การนํา พลังงานปโตรเลียมมาใชกับยวดยานพาหนะและเครื่องมือเครื่องใชชนิดตาง ๆ ทางออมคือ การนําพลังงานปโตรเลียมมาผลิตกระแสไฟฟาเพื่อใชในอาคาร บานเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม  การใชพลังงานปโตรเลียมจึงควรใชอยางประหยัดและถูกวิธี เพราะพลังงาน ปโตรเลียมเปนพลังงานที่เมื่อใชแลวจะหมดสิ้นไปจากโลก และพลังงาน ปโตรเลียมเปนพลังงานที่ติดไฟงาย จึงมักเปนสาเหตุที่ทําใหเกิดเพลิงไหมเนือง ๆ
  • 16. การใชพลังงานปโตรเลียมทางตรงอยางประหยัดและถูกวิธี มีหลักการที่สําคัญ ๆ ดังนี้คือ  1. การบํารุงรักษาเครื่องจักรกล เครื่องยนต ใหสม่ําเสมอ ใชผลิตภัณฑหลอลื่นให เหมาะสม ทําความสะอาดเครื่องยนตใหถูกวิธี ใชงานตามความสามารถและใช อยางถนอม ปรับแตงเครื่องยนต เชน ตั้งศูนยปรับแตงรอบเผาไหม เปนตน 2. เลือกใชน้ํามันใหเหมาะสมกับกําลังเครื่องยนต หลีกเลี่ยงเชื้อเพลิงที่ อาจกอใหเกิดอันตรายได เชน การใชแกสกับเครื่องยนตอาจเกิดอันตรายงาย เพราะไวไฟกวาน้ํามันเบนซิน เปนตน 3. หลีกเลี่ยงวัสดุติดไฟหรือการกระทําใด ๆ ที่ประมาทอาจกอใหเกิด เพลิงไหมได กําหนดสถานที่เก็บเชื้อเพลิงใหปลอดภัยที่สุด 4. การใชแกสหุงตมควรเลือกถัง หัวเตาที่ไดมาตรฐาน หมั่นตรวจสอบ รอยรั่วและปดใหเรียบรอยหลังจากใชงานเสร็จแลว
  • 17. การใชพลังงานปโตรเลียมทางออมอยางประหยัดและถูกวิธี มีหลักการที่สําคัญ ๆ ดังนี้คือ  1. สํารวจดูเครื่องใชไฟฟาภายในบานวามีอะไรบาง เพื่อทราบจํานวน เครื่องใชไฟฟาที่เหมาะสมกับความจําเปน 2. สํารวจดูเครื่องใชไฟฟาแตละตัว เพื่อใหทราบวาแตละตัวมีขนาดกําลังไฟฟากี่ วัตต ถาเครื่องใชไฟฟาชนิดใดมีวัตตสูงจะกินไฟมาก ถามีวัตตต่ําจะกินไฟนอยควรสนใจ เครื่องใชที่วัตตสูง ๆ เปนกรณีพิเศษ เพื่อหาทางประหยัด รูไดอยางไรวาเครื่องใชไฟฟามี กําลังไฟฟากี่วัตต 3. เลือกใชอุปกรณหรือเครื่องใชไฟฟาที่มีประสิทธิภาพและขนาดที่เหมาะสมกับ การใชงานในบาน เชน ควรใชหลอดฟลูออเรสเซนตแทนการใชหลอดไสเพราะประหยัด  ไฟฟากวา 4. เมื่อเลิกใชไฟฟาควรปดสวิตชหรือถอดปลั๊กทันที 5. ไมควรใชเครื่องไฟฟาพรอม ๆ กันหลายตัว ทําใหเสียคาไฟฟาเพิ่มขึ้น และอาจ ทําใหสายไฟฟาในบานรอนจนเกิดเพลิงไหมได 6. บํารุงรักษาและหมั่นทําความสะอาดอุปกรณเครื่องใชไฟฟาอยางสม่ําเสมอ